Sky
|
|
« ตอบ #17 เมื่อ: 17-10-2006, 17:24 » |
|
พายุร้ายเริ่มพัดเข้าสู่ประเทศไทยแล้ว จาก ดิ อีโคโนมิสต์ ฉบับวันที่ 28 กันยายน 2549 คณะทหารกำลังคลำหามาตรการขั้นต่อไป รอยเตอร์ พายุฝนที่กระหน่ำประเทศไทยในสัปดาห์นี้ เปรียบสเหมือนลางร้ายในนิยายเชคสเปียร์ หนึ่งสัปดาห์หลังจากคณะนายทหารชั้นผู้ใหญ่ 6 คนใช้กำลังยึดอำนาจจากรัฐบาลทักษิณชินวัตร ตามท้องถนนยังอยู่ในความสงบ คณะนายทหารกำลังเร่งหาผู้นำรัฐบาลพลเรือนมาทำหน้าที่บริหารประเทศ ตามที่สัญญาไว้กับประชาชนว่าจะถ่ายอำนาจให้รัฐบาลใหม่ภายในวันที่ 4 ตุลาคม เพื่อสร้างภาพพจน์ของตนให้อ่อนลง คณะปฏิรูปเพื่อประชาธิปไตย ซึ่งเป็นชื่อที่กลุ่มนายทหารใช้เรียกตนเอง ได้แต่งตั้งที่ปรึกษามากมาย ซึ่งล้วนแต่เป็นคนดีคนเก่งทั้งนั้น แต่มีบุคคลที่ถูกแต่งตั้งหลายคนออกมาปฏิเสธ และกล่าวว่าคณะนายทหารได้ประกาศชื่อของตนโดยพละการ ไม่มีการถามความสมัครใจเจ้าของชื่อก่อนว่าต้องการจะร่วมงานด้วยหรือไม่ คณะนายทหารได้ถูกวิพากวิจารณ์การทำรัฐประหารอย่างหนัก ทั้งจากนานาประเทศ และจากองค์กรสิทธิมนุษยชน นายหลุยส์ อาร์เบอร์ หัวหน้าคณะสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ได้ประณามการจำกัดสิทธิเสรีภาพในการออกความเห็น และการชุมนุม ของประชาชน ในการพบปะกับคณะฑูตานุฑูตจากนานาประเทศ ในสัปดาห์นี้ มีรายงานว่าคณะนายทหารถึงกับขอร้องคณะฑูตานุฑูต มิให้มองการรัฐประหารในแง่ร้ายแต่เพียงอย่างเดียว แต่ขอโอกาสในการทำตามคำสัญญาที่ว่าจะคืนประชาธิปไตยกลับสู่ประเทศไทย แต่ดูเหมือนความตั้งใจในการคืนประชาธิปไตยของพวกทหารจะตั้งอยู่บนข้อจำกัด แม้ว่านายกมนตรีของรัฐบาลพลเรือนจะเป็นผู้เลือกคณะรัฐมนตรีเอง แต่พลเอกวินัย ภัทธิยะกุล หนึ่งในคณะทหารผู้ก่อการระบุว่า คณะทหารจะยังคงอยู่เพื่อ ช่วยเหลือ รัฐบาลในการบริหารประเทศ คณะนายทหารจะเลือกสมาชิกสภาแห่งชาติ ที่จะมาทำหน้าที่เป็นการชั่วคราวและจะผู้ทำหน้าที่หลักในการเลือกคณะร่างรัฐธรรมนูญอ ีกด้วย นอกจากนี้นายกรัฐมนตรีคนใหม่ ของรัฐบาลที่บอกว่าเป็นรัฐบาลพลเรือน ก็มีทีท่าว่าอาจจะเป็นทหาร ก่อนหน้านี้มีข่าวว่า นายศุภชัย พานิชภักดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งหัวหน้าองค์กรการค้าและพัฒนาแห่งสหประชา ชาติ จะมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่นายศุภชัยปฏิเสธคำขอร้องของคณะทหาร กลิ่นไม่ดีเกี่ยวกับตัวนายกรัฐมนตรีคนใหม่ เกิดขึ้นในช่วงกลางสัปดาห์ เมื่อพลเอกสนธิ บุณยรัตนกลิน เริ่มออกมาให้ข่าวว่า นายทหารที่ปลดเกษียณแล้วก็ถือว่าเป็นพลเรือนคนหนึ่ง คำพูดของพลเอกสนธิทำให้ข่าวลือแพร่สะพัดว่า อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด พลเอกสุรยุทธ จุลานนท์ จะมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พลเอกสุรยุทธ ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งองคมนตรี มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในการปราบปรามการทุจริตในวงการทหาร เขาจะได้รับความนับถือจากประชาชนอย่างกว้างขวาง หากมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจริงๆ แต่พลเอกสุรยุทธ อาจจะไม่ใช่คนที่เหมาะสมที่จะดำรงตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลชั่วคราว เนื่องจากเขาจะไม่คัดค้านหากกลุ่มนายทหารจะยังคงชักใยอยู่เบื้องหลังการบริหารประเทศ
คณะทหารได้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว กำหนดให้ยังคงอำนาจของคณะตัวเองไว้จนกว่าร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวรจะเสร็จ และมีการลงมติรับรัฐธรรมนูญเป็นที่เรียบร้อย พวกเขาจะทูลขอให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าให้ใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวดังกล่าว ในวันที่ 30 กันยายนนี้ แม้ว่านักวิชาการที่ได้เห็นร่างรัฐธรรมนูญจะกล่าวว่า เป็นที่น่าพอใจที่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวมีการรับรองสิทธิขั้นพื้นฐาน เช่นเสรีภาพของสื่อมวลชน แต่ก็ยังต้องจับตามองว่าคณะทหารที่ทำการยึดอำนาจจะยอมให้มีการชุมนุมทางการเมืองได้เ มื่อไหร่ และมีขอบเขตจำกัดแค่ไหน ขณะนี้มีการชุมนุมย่อยๆ เพื่อต่อต้านการยึดอำนาจเกิดขึ้นหลายครั้ง ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งคณะทหารไม่ได้ทำอะไรกับการชุมนุมเหล่านี้ หากมีการชุมนุมที่ใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ เป็นที่น่าจับตามองว่าคณะทหารจะทำเช่นไร นายธิตินันท์ พงษ์สุทธิรักษ์ นักวิชาการด้านการเมือง ให้ความเห็นว่า ภาพประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร ให้การต้อนรับทหารอย่างอบอุ่น เป็นภาพที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกับเมื่อเกิดการรัฐประหารครั้งสุดท้าย ในปี พ.ศ. 2534 ในช่วงแรกการรัฐประหารครั้งนั้นก็เป็นที่นิยมชมชอบของประชาชนเช่นเดียวกับในครั้งนี้ เนื่องจากประชาชนเห็นว่า ทหารเข้ามาช่วยกำจัดรัฐบาลที่ทุจริตออกไป แต่ความคิดของสาธารณชนอาจจะเปลียนแปลงจากหน้ามือเป็นหลังมือหากกองทัพยังคงยึดติดอยู ่กับอำนาจ อาจมีการประท้วงอย่างรุนแรง และมีการเสียเลือดเนื้อในที่สุด เช่นที่เคยเกิดขึ้นเมื่อครั้งที่แล้ว ขณะนี้มีกลุ่มผู้ต่อต้านรัฐบาลรัฐบาลทักษิณที่ต่อต้านการรัฐประหารเช่นกัน หากกลุ่มนายทหารเล่นหนักมือเกินไป พวกเขาจะต้องเผชิญกับการต่อต้าน ทั้งจากฝ่ายสนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรี นายธิตินันท์กล่าว อย่างไรก็ตามคณะทหารไม่มีทางให้เลือกมากนัก นอกจากจะต้องนำพาประเทศออกจากวิกฤตให้ได้ เพราะหากทำไม่ได้ก็จะต้องถูกตำหนิอย่างรุนแรง การที่จะสร้างความสมดุลนั้นเป็นการยากมากๆ นายธิตินันท์กล่าวในที่สุด คณะนายทหารได้แสดงความรอบจัดทางการเมืองให้เห็น เมื่อให้สัญญากับประชาชนว่าจะคงนโยบายประชานิยมของคุณทักษิณ เช่นนโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรค และเงินกองทุนหมู่บ้าน เอาไว้ มีการเตรียมทำงบประมาณการเงินแบบขยายตัว เพื่อหนุนให้เศรษฐกิจไทยฝ่าวิกฤตการณ์การเมืองให้ได้ นโยบายเหล่านี้น่าจะลดการต่อต้านจากผู้สนับสนุนคุณทักษิณในชนบทลงได้ การสอบสวนครั้งใหญ่ในกรณีทุจริตคอรัปชั่นของรัฐบาลชุดที่แล้ว อาจจะทำให้แรงสนับสนุนคุณทักษิณและพรรคไทยรักไทยอ่อนกำลังลง และอาจทำให้คุณทักษิณกลับมาสู่การเมืองไทยยากขึ้น แต่ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่าคุณทักษิณจะหมดโอกาสกลับมาอย่างสิ้นเชิง หากคณะทหารและพลเรือนที่แต่งตั้งโดยทหารคณะนี้ บริหารงานผิดพลาดอย่างหนัก วันหนึ่งคุณทักษิณจะกลับมา และข้อกล่าวหาทั้งหมดที่มีต่อเขาจะถูกลืมเลือน
The junta\'s stumbling first steps
Thailand A stormy start Sep 28th 2006 | BANGKOK From The Economist print edition The junta\'s stumbling first steps Reuters THE storms that lashed Thailand this week were a fitting Shakespearean metaphor for the kingdom\'s troubles. A week after a coup by six top military men overthrew the government of Thaksin Shinawatra, the streets remained calm. But the generals were still struggling to find a suitable statesman to head the civilian administration to which they have promised to hand power by October 4th. To soften its image, the Council for Democratic Reform, as the junta calls itself, has appointed various advisory bodies, stuffed with Thailand\'s great and good. However, several of them have complained that the generals announced their names without asking them if they wanted to take part. The generals were stung by criticism of the coup by foreign governments and human-rights bodies. The United Nations\' human-rights chief, Louise Arbour, condemned their restrictions on free speech and freedom of assembly. In a meeting with foreign ambassadors this week, the junta reportedly asked them not to see only the dark side of the coup, but to give them a chance to keep their promise to restore democracy. It seems they intend to restore it only up to a point. The civilian prime minister will choose his own cabinet. But the junta will continue to assist the new government in running the country, said one of its members, General Winai Phattiyakul. The generals will select an interim National Assembly and they will also have a strong hand in choosing a body to draft a new constitution. Indeed, the civilian prime minister may turn out to be a military man. An early, strong favourite for the job was Supachai Panitchpakdi, a former deputy prime minister who now runs the UN\'s trade and development agency. But he was said to be resisting the generals\' pleas to take the job. Fishily, in mid-week, General Sonthi Boonyaratglin, the army chief and junta leader, started mentioning that retired military officers were also civilians.
This prompted speculation that one of his predecessors, Surayud Chulanont, was in line for the job. Mr Surayud, now an adviser to King Bhumibol, had a reputation for cleaning up corruption in the armed forces. He would command widespread respect in Thailand if chosen. But he may not be the right man to stand up to his former comrades if the junta tries to meddle in the interim government\'s affairs. The generals have drafted a temporary constitution, to remain in force until a permanent one has been written and put to a referendum. They were planning to ask the king to approve it on September 30th. Academics shown the draft were pleased to see it affirmed basic rights, including press freedom. But it remains to be seen how soon and how fully the junta will lift its ban on political gatherings. Several small anti-coup protests, held in central Bangkok in defiance of the ban, were ignored. If they get bigger, the generals\' patience will be tested. The sight, in recent days, of Bangkok citizens welcoming the soldiers on their streets is reminiscent of Thailand\'s last coup, in 1991, says Thitinan Pongsudhirak, a political scientist. That coup was popular at first, for overthrowing a government widely seen as corrupt, like Mr Thaksin\'s. But public opinion changed drastically as the army clung to power. Rising protests and, eventually, bloodshed ensued. History could repeat itself, worries Mr Thitinan. Some opponents of Mr Thaksin, while welcoming his downfall, opposed the coup. If the generals are heavy-handed, they could find themselves ranged against an unholy alliance between the opponents and supporters of the deposed prime minister, says Mr Thitinan. However, the generals have little choice but to keep a hand in guiding the country through its crisis, since they stand to be blamed if it all goes wrong. Striking the right balance will be hard. The generals have shown some degree of political savvy: they promise that several of Mr Thaksin\'s most popular programmes, including cheap health-care and a micro-loans scheme to cut rural poverty, will continue. An expansionary budget is being prepared, to help the Thai economy ride out the political storm. These policies should reduce the chances of a backlash by Mr Thaksin\'s supporters in the countryside. The big investigations that have been started into corruption in the Thaksin government may sap support for the deposed leader and his Thai Rak Thai party, reducing their chances of a comeback. But they will not eliminate them: Mr Thaksin, exiled in London, will be hoping that the army forces, and their civilian appointees, make such a mess that one day he will be welcomed back, his sins forgiven.
เรือที่กำลังจะจม : เมื่อกติกาถูกฉีก ประชาธิปไตยก็เข้าสู่ภาวะคับขัน (จาก ดิ อีโคโนมิสต์ ฉบับวันที่ 4 พฤษภาคม)
ประเทศไทยอาจจะจมลึกสู่ใต้ทะเลมากกว่า 4,000 เมตร จมอย่างถาวร และเราไม่สามารถกู้ขึ้นมาได้อีกเลย ข้อความนี้เป็นพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 26 เมษายน ซึ่งแสดงถึงความกังวลของพระองค์ต่อสถานการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ในหลวงยังทรงมีรับสั่งให้ตุลาการสูงสุดของไทยเข้ามามีบทบาทในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวโ ดยเร่งด่วน หนึ่งสัปดาห์ผ่านไป คณะตุลาการยังแก้ปัญหาไม่ได้ และประเทศไทยก็จมลึกลงทุกที
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยระบุว่า ประเทศไทยต้องเปิดสภาภายใน 30 วัน หลังจากการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 2 เมษายน แต่ในขณะนี้ (4 พฤษภาคม) เลยกำหนดดังกล่าวมาแล้ว สภาก็ยังเปิดไม่ได้ และไม่มีใครรู้ว่าต่อไปจะมีอะไรเกิดขึ้นอีก คนไทยกำลังชดใช้กรรมอย่างหนักจากการที่ฝ่ายตรงข้ามกับรัฐบาลไม่ยอมรับผลเลือกตั้งในเ ดือนเมษายน
พรรคการเมืองฝ่ายค้าน รวมหัวกันบอยคอตการเลือกตั้งครั้งนี้ แม้ว่าพรรคการเมืองของนายกทักษิณ ชินวัตร ได้รับชัยชนะอย่างถล่มทลายในการเลือกตั้งใหญ่ สองครั้งก่อนหน้านี้ แต่ขณะนี้ก็กำลังถูกเล่นงานอย่างหนัก ด้วยข้อกล่าวหาร้องแปดพันเก้า ตั้งแต่ทุจริตคอรัปชั่น ผลประโยชน์ทับซ้อน จนถึงตำรวจซ้อมผู้ต้องหา แต่พรรคการเมืองฝ่ายค้านก็ยังไม่กล้าสู้อย่างตรงไปตรงมาในการเลือกตั้ง แต่กลับไปรณรงค์ให้ชาวบ้านลงคะแนน โนโหวต ผลการเลือกตั้งปรากฎว่าคุณทักษิณก็ชนะอยู่ดี โดยชนะ 61% จากจำนวนผู้มาใช้สิทธิ์ 65% กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ปฏิเสธที่จะยอมรับผลการเลือกตั้งในครั้งนี้ และขู่ว่าจะชุมนุมประท้วงอย่างยืดเยื้อ ซึ่งพวกเขาชุมนุมกันอยู่ในใจกลางกรุงเทพมหานครมาเป็นเวลายาวนานหลายสัปดาห์ ในที่สุดคุณทักษิณก็ประกาศเว้นวรรคทางการเมือง หลังจากที่เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
กลุ่มต่อต้านทักษิณอ้างว่าสิ่งที่เกิดขึ้นคือชัยชนะของประชาธิปไตย แต่เราเชื่อว่านี่เป็นภาวะถดถอยของประชาธิปไตย เราได้รับจดหมายฉบับหนึ่งจากผู้เชี่ยวชาญชาวตะวันตก อธิบายว่า เสียงส่วนใหญ่ของชาวไทยไม่สามารถนำมาใช้ตัดสินปัญหาได้ เพราะชาวไทยส่วนใหญ่ไร้การศึกษาและไร้สติปัญญา (แต่คนคนนี้ก็ยังมีความสุขดี ที่ได้ขายประกันให้คนไทย ที่เขาดูถูกดูแคลน) จดหมายแสดงความคิดเห็นแบบนี้ยิ่งตอกย้ำความเชื่อของเราว่านี่คือภาวะถดถอยของประชาธิ ปไตยในประเทศไทยอย่างแท้จริง แต่อย่างหนึ่งที่เราเห็นพ้องต้องกันกับกลุ่มพันธมิตรฯ ก็คือ ประเทศไทยที่ก่อนหน้านี้กำลังเดินหน้ามาเรื่อยๆ เป็นอย่างดี กำลังถูกทำให้ ยุ่งเหยิงวุ่นวาย ดังที่ในหลวงตรัส
ไม่มีทางออกใดที่ดูจะเป็นคำตอบที่ดีที่สุด ที่จะยุติวิกฤตการณ์ครั้งนี้ ทางออกที่ดูเหมือนว่าจะเป็นไปได้มากที่สุดก็คือ ศาลตัดสินให้การเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน เป็นโมฆะ ด้วยเหตุผลความผิดพลาดทางเทคนิค เท่าที่จะหามาอ้างได้ แล้วศาลสั่งให้มีการเลือกตั้งใหม่ แต่หากเป็นแบบนี้จริงก็จะทำให้ประเทศไทยไม่มีรัฐสภาไปอีกนานพอสมควรเลยทีเดียว และทำให้มีปัญหาตามมาอีกหลายประการ ตัวอย่างเช่น คุณทักษิณ จะสู้กับวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นได้หรือไม่ พรรคฝ่ายค้านจะเข้าร่วมการเลือกตั้ง และจะเคารพผลการเลือกตั้งที่จะเกิดขึ้นหรือไม่ (พรรคฝ่ายค้านควรจะยอมรับผลการเลือกตั้ง แม้ว่าพรรคไทยรักไทยของคุณทักษิณ ซึ่งเป็นพรรคที่เลวร้ายในสายตาคนกรุงเทพ ที่สนับสนุนพรรคประชาธิปัตย์อันเป็นคนส่วนน้อยของประเทศ แต่กลับเป็นพรรคที่ได้รับความไว้วางใจจากเสียงส่วนใหญ่ มีแนวโน้มที่จะชนะอีกครั้งหนึ่ง) หากการเลือกตั้งครั้งใหม่มีผลให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่ครบตามจำนวนดังเช่นที่เกิ ดในครั้งนี้ จะทำให้สภาไม่ได้รับการรับรองหรือไม่ ในทางกลับกันหากศาลสั่งให้การเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายนไม่เป็นโมฆะ พรรคฝ่ายค้านจะยุติการเล่นการเมืองกับช่องโหว่ของรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนของไทย ที่ยังถือว่าใหม่และมีช่องโหว่อยู่มาก และกลับมาลงสมัครรับเลือกตั้งในเขตที่ยังว่างอยู่ เพื่อทำให้รัฐสภาทำงานได้หรือไม่
ดูเหมือนศัตรูของคุณทักษิณ จะคิดว่าสิ่งเหล่านี้เป็นปัญหาเล็กน้อย หากเทียบกับการที่พวกเขาจะได้กำจัดศัตรูที่เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกตั้ง ให้พ้นจากตำแหน่ง แม้วิธีที่ใช้กำจัดจะเป็นวิธีที่ไม่เป็นประชาธิปไตย คนเหล่านี้กำลังทำผิดต่อประเทศอย่างมหันต์ ไม่ว่าคนไทยบางคนจะดีใจถ้านายกทักษิณที่พวกเขาถือว่าเป็นเผด็จการ และมีผลประโยชน์ทับซ้อน จะกระเด็นออกไปจากการเมืองไทย แต่ประเทศชาติกำลังถอยหลังเข้าคลองครั้งใหญ่ ณ ที่แห่งใดก็ตามหากกลุ่มผู้ชุมนุมที่มีจำนวนเรือนพัน สามารถไล่นักการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งอย่างถูกต้องประชาชนนับล้านออกจากตำแหน่ง ได้ โครงสร้างประชาธิปไตย ณ ที่แห่งนั้นก็จะสั่นคลอน นับประสาอะไรกับประเทศไทย ที่พึ่งมีประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์มาได้เพียง 14 ปี และยังอยู่ใต้ร่มเงาของอำนาจทหาร สิ่งที่รอประเทศไทยอยู่ในอนาคตหลังจากนี้คือความยากลำบากอย่างแสนสาหัส
แปลจากต้นฉบับ The Economist: [.economist.com/world/asia/displaystory.cfm?story_id=8001670].economist.com/world/asia/displa...tory_id=8001670[/url]
A sinking ship
May 4th 2006 From The Economist print edition
When you tear up the rule book, democracy flounders THAILAND [could] sink more than 4,000 metres under the sea. Irretrievable. We would not be able to rescue it. So, on April 26th, said King Bhumibol Adulyadej, expressing his fears about the political crisis into which his country has slipped, and urging its most senior judges to come up speedily with a solution. A week later, they had not, and the ship of state was riding ever lower in the waters.
Under the constitution, Thailand should have convened a parliament within 30 days of its election on April 2nd. But that deadline has now expired, parliament has not convened and nobody knows what comes next. Thais are paying a heavy price for the opposition\\\\\\\\\\\\\\\'s dismissal of April\\\\\\\\\\\\\\\'s election result.
That election was boycotted by the opposition parties. Thaksin Shinawatra, the country\\\\\\\\\\\\\\\'s prime minister, had won two resounding previous election victories but stood accused of sins ranging from conflicts of interest through corruption to allowing police brutality. Fearing defeat in a straight fight, the opposition called on voters to mark the no vote box on ballot papers. Mr Thaksin won 61% of the vote anyway, on a 65% turnout. The People\\\\\\\\\\\\\\\'s Alliance for Democracy refused to accept the verdict and threatened to continue the protests that had gone on in central Bangkok for weeks. And so, after meeting the king, Mr Thaksin offered his resignation.
The anti-Thaksin lobby hailed this as a victory for democracy. This newspaper saw it as a blow to democracya view in which we feel fortified after receiving a critical letter from one western expat who reckoned that ill-educated and gullible Thais could not be trusted to get things right (but was quite happy to sell them insurance anyway). On one thing, however, everyone ought to agree. A country that was doing quite well has now, in the words of the king, been messed up.
None of the paths out of the mess looks very promising. The most probable outcome is that the courts will decide, on a number of possible technicalities, to annul the April 2nd vote, and order another one. That in itself will mean no parliament for a good while yet, but it also raises all sorts of questions.
For instance, will Mr Thaksin stand? Will the opposition participate fully and pledge to respect the outcome of the vote (which they should do, even though the contest might well end in another victory for Mr Thaksin\\\\\\\\\\\\\\\'s Thai Rak Thai, the party which, to the horror of the Bangkok democrats, most other Thais seem to like)? If the new election results in a number of unfilled seats in the parliament, will the legislature still be deemed inquorate, as it is now? If, on the other hand, the courts do not annul the April election, will the opposition stop playing politics with Thailand\\\\\\\\\\\\\\\'s new and fragile constitution, and run in elections for the unfilled seats, so that the legislature can get on with its job?
Mr Thaksin\\\\\\\\\\\\\\\'s enemies appear to think that none of this matters very much compared to the benefits of having levered their elected prime minister out of office, albeit by extra-democratic means. They are mistaken. However glad some Thais may be to see the back of a prime minister who had some authoritarian ways and eye-popping conflicts of interest, their country has taken a big step backwards. Once you start allowing demonstrators who number in thousands to throw out politicians who have been elected by millions, the fabric of any democracy is bound to fray, let alone one that has existed for only 14 years and still lies under the shadow of crown and gun. Difficult days lie ahead. \\\\\\\\\\\\\\\"
The Economist: [.economist.com/world/asia/displaystory.cfm?story_id=8001670].economist.com/world/asia/displa...tory_id=8001670[/url]
some time in some form: อนาคตของประเทศไทย แบบใดแบบหนึ่ง
เมื่อเทียบกับสิ่งที่คณะปฏิรูปจะต้องเจอต่อจากนี้ การยึดอำนาจจากรัฐบาล ทักษิณ ชินวัตร โดยปราศจากการเสียเลือดเนื้อ ถือว่าเป็นงานที่ง่ายดายมาก งานที่จัดว่ายากกว่าการยึดอำนาจที่ผู้บัญชาการเหล่าทัพกำลังเผชิญในขณะนี้ คือการคืนประชาธิปไตยตามคำสัญญาที่ให้ไว้กับประชาชน คณะปฏิรูปเริ่มทำตามสัญญาที่ว่า เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม โดยการตั้ง พลเอกสุรยุทธ จุลานนท์ ผู้ซึ่งเป็นอดีตผู้บัญชาการกองทัพ และเพิ่งปลดเกษียณไปเมื่อปี พ.ศ. 2546 มาทำหน้าที่นายกรัฐมนตรีของรัฐบาลชั่วคราว ที่คณะปฏิรูปถือว่าเป็นรัฐบาล พลเรือน พลเอกสุรยุทธเป็นที่ยอมรับจากสาธารณชน ในการกำจัดคอรัปชั่นภายในกองทัพบก และในความเป็นพุทธศาสนิกชนผู้เคร่งครัด แต่การแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีที่มาจากกองทัพซึ่งถือว่าเป็นพวกเดียวกันกับคณะปฏิรูปครั ้งนี้ ยิ่งทำให้เป็นที่น่าสงสัยว่า พวกคณะปฏิรูปจะมีความจริงใจในการคืนอำนาจที่พวกตัวเพิ่งยึดมาสดๆ ร้อนๆ ให้กับประชาชน ตามที่พูดหรือเปล่า
หนึ่งปีหลังจากการรัฐประหารครั้งสุดท้ายในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2535 กองทัพได้ยิงใส่ประชาชนผู้เรียกร้องประชาธิปไตย ขณะนั้น พลเอกสุรยุทธ เป็นผู้บัญชาการกองกำลังพิเศษ และได้เข้าร่วมในการปราบปรามประชาชนในครั้งนั้นด้วย พลเอกสุรยุทธปฏิเสธว่าไม่ได้เป็นผู้สั่งยิงประชาชน และคำปฏิเสธของพลเอกสุรยุทธ ก็เป็นที่เชื่อถือกันทั่วไปในหมู่สาธารณชน พลเอกสุรยุทธยังสรุปว่า ประสบการณ์ครั้งนั้นสอนให้เขาเชื่อว่ากองทัพไม่สมควรเข้ามายุ่งเกี่ยวกับการเมืองโดย เด็ดขาด
ก่อนจะตัดสินใจแต่งตั้งพลเอกสุรยุทธเป็นนายกรัฐมนตรี คณะผู้ก่อการยึดอำนาจหวังว่าเสียงตำหนิจากนานาชาติจะค่อยๆ เบาบางลง นักการฑูตระดับสูงของไทยถึงกับกล่าวว่า การที่สหรัฐอเมริกาตัดเงินช่วยเหลือกองทัพ จำนวน 24 ล้านเหรียญสหรัฐนั้น ถือว่าเป็นมาตรการที่เบาที่สุดแล้วที่สหรัฐจำใจต้องดำเนินการกับประเทศไทย เนื่องจากเป็นมาตรการที่ถูกกำหนดไว้ในกฏหมายสหรัฐ คณะปฏิรูปและพวกพ้องอาจจะหวังให้เป็นเช่นที่นักการฑูตผุ้นี้ว่า แต่ในความเป็นจริงนั้น เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม ทำเนียบขาวได้ออกแถลงการณ์ระบุว่า ขณะนี้สหรัฐกำลังกำหนดมาตรการกดดันไทยเพิ่มขึ้นอีก ในแถลงการณ์ฉบับเดียวกันนี้ไม่ได้มีข้อความกล่าวชื่นชมการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม ่แต่อย่างใด แต่กลับเรียกร้องให้คณะผู้ก่อการคืนสิทธิพลเมืองให้กับประชาชนอย่างเร่งด่วน การยึดอำนาจรัฐประหารครั้งนี้ ยังทำลายกรอบการค้าเสรีที่ประเทศไทยทำร่วมกับสหรัฐอีกด้วย เนื่องจากสหรัฐจะเจรจาข้อตกลงการค้าเสรีกับรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งเท่านั้น และประธานาธิบดีบุช ก็ได้รับอำนาจมาจากสภาคองเกรสในการเจรจาข้อตกลงดังกล่าว จนถึงเดือนกรกฎาคม 2550 เท่านั้น ซึ่งประเทศไทยก็คงยังไม่มีรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งภายในระยะเวลาดังกล่าว
พลเอกสุรยุทธ กำลังเฟ้นหาตัวรัฐมนตรีในคณะรัฐบาล ซึ่งจะประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญเป็นส่วนใหญ่ เช่น ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ผู้ว่าการแบงค์ชาติ ซึ่งคาดว่าจะได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง แผนการต่อจากนี้ก็คือ ให้คณะรัฐมนตรีคณะนี้ทำหน้าที่บริหารประเทศชาติ ในขณะเดียวกันจะมีการร่างรัฐธรรมนูญใหม่ และประชาชนลงประชามติรับรอง และจะมีการจัดการเลือกตั้งทั่วไปอีกประมาณ 1 ปีหลังจากนี้ ต่อให้พลเอกสุรยุทธ และคณะรัฐมนตรี จะทำหน้าที่บริหารโดยไม่มีการแทรกแซงจากฝ่ายทหารได้จริง แผนการนี้ก็อาจสะดุดลงได้ แม้ว่าคณะผู้ก่อการยึดอำนาจจะมีอำนาจในการเลือกคณะผู้ร่างรัฐธรรมนูญ แต่กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญก็คงไม่เสร็จสิ้นลงได้ง่ายๆ และจะทำให้การเลือกตั้งต้องล่าช้าไปกว่ากำหนด ขณะนี้เริ่มมีความเคลื่อนไหวของขบวนการเรียกร้องประชาธิปไตยบ้างแล้ว และการประท้วงครั้งใหญ่คงจะเกิดขึ้นภายหลังคณะผู้ยึดอำนาจประกาศยกเลิกการห้ามชุมนุม ทางการเมือง
ประเทศไทยยังต้องเผชิญภยันตรายอีกอย่างหนึ่งที่มาในทิศทางตรงกันข้าม กล่าวคือ หลังจากที่นักการเมืองที่ถูกกล่าวหาว่าทุจริตคอรัปชั่นได้ถูกกำจัดออกไป คนไทยบางส่วนอาจมีความคิดว่าประเทศจะเจริญได้มากกว่านี้ถ้าประเทศไทยปราศจากนักการเม ืองโดยสิ้นเชิง คณะผู้ก่อการแสดงอาการส่อให้เห็นว่าพวกเขามีความคิดดังกล่าว โดยการออกกฎห้ามไม่ให้ผู้ที่เคยเป็นสมาชิกพรรคการเมืองภายในระยะเวลา 2 ปีก่อนหน้านี้ มาทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญ ในขณะเดียวกันพรรคการเมืองใหญ่สองพรรคของไทยต่างกำลังตกอยู่ในสภาพย่ำแย่ ไร้พลังในการทำการ พรรคไทยรักไทยกำลังไร้หัวหน้าพรรค หลังจากที่คุณทักษิณซึ่งอยู่ที่ลอนดอน ได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าพรรค สมาชิกระดับสูงของพรรคต่างทยอยลาออก โดยหวังว่าจะหลีกเลี่ยงผลกระทบของกฎหมายใหม่ ที่บัญญัติว่าให้ตัดสิทธิ์ลงสมัครรับเลือกตั้งของผู้บริหารพรรค ที่ถูกพิพากษาให้ยุบพรรคเนื่องจากคดีทุจริตเลือกตั้ง ก่อนการยึดอำนาจพรรคไทยรักไทยกำลังถูกศาลพิจารณาพิพากษาในคดีนี้อยู่ และค่อนข้างจะแน่นอนว่าคดีนี้จะถูกยกขึ้นมาพิจารณาในคณะรัฐบาลชุดนี้
ส่วนพรรคการเมืองอันดับสอง ภายใต้การนำของผู้นำที่ได้รับการชื่นชม แต่ไร้ประสิทธิภาพอย่างนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ คือพรรคประชาธิปัตย์ ได้แสดงบทบาทที่น่าผิดหวังเป็นอย่างยิ่งในช่วงเวลาอันยาวนานที่ประเทศไทยเผชิญวิกฤต สิ่งที่พรรคประชาธิปัตย์ทำเสียส่วนใหญ่ในช่วงเวลาดังกล่าว คือการอยู่เฉยๆ ทำเป็นเตมีย์ใบ้ ไม่ได้แสดงอะไรให้เห็นเลยว่าจะมีความสามารถในการเป็นผู้นำประเทศชาติได้ และพรรคประชาธิปัตย์ยังตกเป็นจำเลยในคดีทุจริตเลือกตั้ง เมื่อเดือนเมษายน และอาจต้องถูกยุบพรรคเช่นเดียวกับพรรคไทยรักไทย ถ้าหนึ่งในสองพรรคนี้ไม่สามารถกลับมาเข้มแข็งได้อีกก่อนการเลือกตั้งครั้งหน้า ประเทศไทยจะกลับไปสู่ภาวะการมีรัฐบาลผสมที่อ่อนแอ อายุสั้น ซึ่งเป็นภาวะที่ประเทศไทยเป็นอยู่ ก่อนคุณทักษิณก้าวขึ้นมามีอำนาจ การที่รัฐบาลอ่อนแอ ทำให้พวกชนชั้นสูง ที่อ้างอิงพระบารมีของในหลวง และกลุ่มนายทหารชั้นผู้ใหญ่ผู้ก่อการรัฐประหาร มีสภาพเข้มแข็ง และคงจะยากที่จะเห็น การกลับมาของประชาธิปไตย ที่แท้จริง
"A sinking ship: When you tear up the rule book, democracy flounders
[Economist, May 4]
A sinking ship
May 4th 2006 From The Economist print edition
When you tear up the rule book, democracy flounders
THAILAND [could] sink more than 4,000 metres under the sea. Irretrievable. We would not be able to rescue it. So, on April 26th, said King Bhumibol Adulyadej, expressing his fears about the political crisis into which his country has slipped, and urging its most senior judges to come up speedily with a solution. A week later, they had not, and the ship of state was riding ever lower in the waters.
Under the constitution, Thailand should have convened a parliament within 30 days of its election on April 2nd. But that deadline has now expired, parliament has not convened and nobody knows what comes next. Thais are paying a heavy price for the opposition's dismissal of April's election result.
That election was boycotted by the opposition parties. Thaksin Shinawatra, the country's prime minister, had won two resounding previous election victories but stood accused of sins ranging from conflicts of interest through corruption to allowing police brutality. Fearing defeat in a straight fight, the opposition called on voters to mark the no vote box on ballot papers. Mr Thaksin won 61% of the vote anyway, on a 65% turnout. The People's Alliance for Democracy refused to accept the verdict and threatened to continue the protests that had gone on in central Bangkok for weeks. And so, after meeting the king, Mr Thaksin offered his resignation.
The anti-Thaksin lobby hailed this as a victory for democracy. This newspaper saw it as a blow to democracya view in which we feel fortified after receiving a critical letter from one western expat who reckoned that ill-educated and gullible Thais could not be trusted to get things right (but was quite happy to sell them insurance anyway). On one thing, however, everyone ought to agree. A country that was doing quite well has now, in the words of the king, been messed up.
None of the paths out of the mess looks very promising. The most probable outcome is that the courts will decide, on a number of possible technicalities, to annul the April 2nd vote, and order another one. That in itself will mean no parliament for a good while yet, but it also raises all sorts of questions.
For instance, will Mr Thaksin stand? Will the opposition participate fully and pledge to respect the outcome of the vote (which they should do, even though the contest might well end in another victory for Mr Thaksin's Thai Rak Thai, the party which, to the horror of the Bangkok democrats, most other Thais seem to like)? If the new election results in a number of unfilled seats in the parliament, will the legislature still be deemed inquorate, as it is now? If, on the other hand, the courts do not annul the April election, will the opposition stop playing politics with Thailand's new and fragile constitution, and run in elections for the unfilled seats, so that the legislature can get on with its job?
Mr Thaksin's enemies appear to think that none of this matters very much compared to the benefits of having levered their elected prime minister out of office, albeit by extra-democratic means. They are mistaken. However glad some Thais may be to see the back of a prime minister who had some authoritarian ways and eye-popping conflicts of interest, their country has taken a big step backwards. Once you start allowing demonstrators who number in thousands to throw out politicians who have been elected by millions, the fabric of any democracy is bound to fray, let alone one that has existed for only 14 years and still lies under the shadow of crown and gun. Difficult days lie ahead. "
The Economist: [.economist.com/world/asia/displaystory.cfm?story_id=8001670].economist.com/world/asia/displa...tory_id=8001670[/url]
|