ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
20-04-2024, 12:15
378,182 กระทู้ ใน 21,926 หัวข้อ โดย 9,412 สมาชิก
สมาชิกล่าสุด: MAN4U
ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด (รุ่นแรก)  |  ทั่วไป  |  สภากาแฟ  |  อัมมาร์: ประเทศใดก็เป็นประชาธิปไตยไม่ได้ ถ้าขาด "หลักนิติธรรม" บทความน่าสนใจครับ 0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
หน้า: [1]
อัมมาร์: ประเทศใดก็เป็นประชาธิปไตยไม่ได้ ถ้าขาด "หลักนิติธรรม" บทความน่าสนใจครับ  (อ่าน 1648 ครั้ง)
AsianNeocon
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3,277


中華萬歲﹗ LONG LIVE CHINA!


เว็บไซต์
« เมื่อ: 14-10-2006, 01:05 »

ไปเจอบทความนี้ใน The Nation ซึ่ง อ.อัมมาร์ สยามวาลา ให้ความเห็นได้น่าสนใจมาก ไม่แพ้ อ.เจิมศักดิ์ และคุณอานันท์

คำว่า Rule of Law แปลว่า หลักนิติธรรม แต่ถ้าแปลแบบชาวบ้าน ผมขอแปลว่า "การบังคับใช้กฎหมายอย่างเท่าเทียม เที่ยงธรรม" ประมาณนั้นมากกว่า

ก็คือ จะสังเกตว่า มีคำว่า "ธรรม" เป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็น "จริยธรรม" "คุณธรรม" "เที่ยงธรรม" "นิติธรรม" คือมันจะต้องมี "ธรรม"

ถ้าประชาธิปไตยไม่มี "ธรรม" มันก็ไม่ใช่ประชาธิปไตย

นี่เป็นบทความของ "ทนง ขันทอง" (ซึ่งผมชอบบทความมานานอีกแล้ว งานของคนนี้น่าติดตาม เพราะแกเกาะติดเรื่องเศรษฐกิจมาก่อนและหลังฟองสบู่แตก ตัวละครสมัยนั้น ที่มีดร.ลำใย มีใครต่อใคร แกเกาะติดหมด)

ตรงนี้สามารถหักล้างความคิดเห็นของ นายศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์, ใจ อึ้งภากรณ์, George W Bush, The Oxford Initiatives (กลุ่มนร.ไทยบางคน) ตลอดจนพวกที่บ้าเมืองนอกในโต๊ะไกลบ้าน pantip ดีแต่ตีฝีปากโชว์ภาษาฝรั่งสวยหรู ..... ได้แบบราบคาบไปเลย

ลองอ่านดูนะครับ


OVERDRIVE
Behind democracy's facade, the rule of law withered


We have survived the political crisis. Now we need to explain to the whole world what went wrong.


It is undeniable that the September 19 military coup destroyed Thai democracy. But did we have a choice? Did we have democracy in the first place? And even more importantly, did we have rule of law in place?
ปฏิเสธไม่ได้ว่า การยึดอำนาจเมื่อวันที่ 19 ทำลายประชาธิปไตย แตว่าเรามีทางเลือกไหม? แล้วจริงๆแล้วก่อนวันยึดอำนาจเรามีประชาธิปไตยแล้วแน่หรือ? และที่สำคัญกว่าเรามี rule of law แล้วหรือ?



"We have a surplus in democracy. But we have a deficit in the rule of law. A country may have rule of law without democracy, but it can't have democracy without the rule of law," says Dr Ammar Siamwalla, one of Thailand's most respected economists.
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. อัมมาร์ สยามวาลา กล่าวว่า เราได้เปรียบดุลประชาธิปไตย แต่ว่าเรื่อง rule of law เราขาดดุล  บางประเทศไม่ต้องมีประชาธิปไตยก็ได้แต่มี rule of law แต่ว่าเราจะเป็นประชาธิปไตยไม่ได้ถ้าขาด rule of law

(rule of law จะแปลว่า หลักนิติธรรม ได้ไหมครับ ผมไม่แน่ใจ, ผมคิดว่า น่าจะแปลว่า การบังคับใช้กฎหมายโดยเที่ยงธรรม มากกว่า)



If we start with Ammar's assumption then we can clearly get to the bottom of the derailing of Thai democracy and rule of law. Before the coup, Thailand could probably claim that it had a surplus in democracy. We had a nice Constitution. We had elections. We had members of Parliament. We had an elected executive branch. We had institutions for checks and balance. We had a free press, although the broadcast media were under government control. We had NGOs. We had street protests. These were components of a democratic system.
หากเราเริ่มจากสมมติฐานของดร.อัมมาร์ งั้นเราก็สามารถไปถึงเบื้องลึกของการออกนอกลู่นอกทางของประชาธิปไตย และ rule of law ของไทย

ก่อนการยึดอำนาจ ประเทศไทยน่าจะสามารถอ้างได้ว่า เราได้ดุลเรื่องประชาธิปไตย เรามีรัฐธรรมนูญ เรามีการเลือกตั้ง เรามีสมาชิกสภา เรามีผู้บริหารที่มาจากการเลือกตั้ง เรามีสถาบันตรวจสอบ เรามีสื่อมวลชนเสรี(แม้ว่าสื่อโทรทัศน์วิทยุจะถูกรัฐควบคุม) เรามี NGO เรามีการประท้วงบนถนน นี่คือส่วนประกอบของระบอบประชาธิปไตย

Singapore's democratic system is not a model that many other countries would like to follow, but the island republic is equipped with a strong system of rule of law. Investors put their money into Singapore or Hong Kong because they trust their rule of law - not their democracies.
รูปแบบประชาธิปไตยของสิงคโปร์ไม่ได้เป็นอะไรที่ประเทศอื่นเขาใฝ่หาเลย แต่ว่าประเทศนี้มีความเข้มแข็งของหลักนิติธรรม นักลงทุนแห่เอาเงินไปลงในสิงคโปร์และฮ่องกงไม่ใช่เพราะชอบประชาธิปไตย แต่เพราะเชื่อมั่นในหลักนิติธรรมของเขา

China is a communist regime. But it is the darling of global investors and companies. China has been able to suck in between US$50 billion (Bt1.9 trillion) and $60 billion a year in foreign direct investment. Again, investors do not care about China's political system at all. They are only interested in whether the rule of law in China is reliable enough to protect their assets.
ประเทศจีนเป็นคอมมิวนิสต์ แต่ว่า นักลงทุนทั่วโลกกลับแห่ไปลงทุนและไปเปิดบริษัท จีนสามารถดูดเงินเข้าประเทศปีละ 5-6 หมื่นล้านเหรียญ นักลงทุนไม่แคร์หรอกว่าจีนจะปกครองด้วยระบอบอะไร พวกเขาแค่สนใจว่า การบังคับใช้กฎหมายในจีน เชื่อถือได้แค่ไหนที่จะปกป้องทรัพย์สินของพวกเขา ก็แค่นั้นเอง


Burma does not have democracy, nor has it put in place the rule of law. That's why few care to do business with the country.
พม่าไม่มีประชาธิปไตย และปราศจากหลักนิติธรรม แล้วใครจะอยากไปลงทุนในประเทศแบบนี้


Thailand did not have any problems with democracy, at least in its nominal form. But its rule of law was not functioning. Only the judicial system and the Bank of Thailand managed to keep relative independence during the Thaksin reign.
ประเทศไทยไม่มีปัญหาเรื่องประชาธิปไตย (อย่างน้อยก็เรื่องรูปแบบ) แต่ว่าหลักนิติธรรมของไทยไม่ทำงาน ก็มีแค่ฝ่ายตุลาการและแบ๊งค์ชาติเท่านั้นที่ยังเป็นอิสระจากระบอบทักษิณ


Thaksin Shinawatra came to power in 2001 via the democratic system enshrined in the 1997 Constitution. But during his reign, he subjugated Thailand's rule of law to serve the narrow interests of his regime. Thaksin consolidated his power by controlling Parliament, the executive branch, the independent institutions, half of the armed forces, the police, the public prosecutors, the bureaucratic system (with the permanent secretaries, director-generals and directors acting as his cronies), the CEO governors, the village headmen. Big businessmen were also his allies.


Instead of serving the public interest, the institutions, government agencies and bureaucratic system were more interested in protecting the interests of the state - or the Thaksin regime. Thaksin was clever with his carrot-and-stick method of control. If you were part of the regime, you got promotion and rewards. If you were against the regime, you were branded an enemy of the state.

กล่าวโดยสรุปก็คือว่า การบังคับใช้กฎหมายไม่ได้มีความเป็นธรรม (มีหลักนิติธรรม) แต่มุ่งไปในเรื่องการปกป้องผลประโยชน์ส่วนตัวของผู้นำเป็นหลัก ลักษณะนี้ก็ไม่น่าจะเรียกประชาธิปไตย




อ่านต่อที่นี่ ขี้เกียจแปลต่อครับ
http://www.nationmultimedia.com/2006/10/13/opinion/opinion_30016053.php

สังเกตว่ามีหนังสือชื่อประมาณนี้ "รัฐธรรมนูญตายแล้ว" อะไรประมาณนี้ออกมาในช่วง 3-4 ปีก่อน
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 14-10-2006, 01:15 โดย ThaiTruth » บันทึกการเข้า

engg
ขาประจำ
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 388


« ตอบ #1 เมื่อ: 14-10-2006, 15:07 »

พิสูจน์ จัดการตามกฎหมาย
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
    กระโดดไป: