ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
28-04-2024, 13:20
378,182 กระทู้ ใน 21,926 หัวข้อ โดย 9,412 สมาชิก
สมาชิกล่าสุด: MAN4U
ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด (รุ่นแรก)  |  ทั่วไป  |  สภากาแฟ  |  ชอบ อจ. ภูวดลจัง...ใครชอบเหมือนเราบ้าง อิ อิ.... 0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
หน้า: [1]
ชอบ อจ. ภูวดลจัง...ใครชอบเหมือนเราบ้าง อิ อิ....  (อ่าน 2441 ครั้ง)
ดอกฟ้ากับหมาวัด
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 5,042



« เมื่อ: 17-08-2008, 23:35 »

ตามนั้นเลยค่ะ...

ดู ASTV ทุกวัน...เพื่อรอฟังการอภิปรายนอกสภาของแก

ช๊อบ....ชอบๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
บันทึกการเข้า

***ผู้ยิ่งใหญ่ในแผ่นดินเปรียบเสมือนเรือ ประชาชนเปรียบเสมือนน้ำ

      น้ำพยุงเรือให้แล่นไปได้ และน้ำก็จมเรือได้เช่นกัน***
jrr.
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 670


« ตอบ #1 เมื่อ: 17-08-2008, 23:39 »



.............มาลงคะแนนให้ !!!
บันทึกการเข้า
personal jesus
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 632



« ตอบ #2 เมื่อ: 17-08-2008, 23:42 »



มาลงชื่อด้วยคน ว่า ชอบ อจ.ภูวดลมากกกก
เสียดายไม่ได้เป็นลูกศิษย์ท่าน แต่..ก็ขอเป็นลูกศิษย์ทางอ้อม
เช้าๆ ตื่นขึ้นมาซดกาแฟ ฟังอจ.พูดไปด้วย ได้แรงมาก

   
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 17-08-2008, 23:46 โดย personal jesus » บันทึกการเข้า

ดอกฟ้ากับหมาวัด
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 5,042



« ตอบ #3 เมื่อ: 17-08-2008, 23:57 »

ภูวดล ทรงประเสริฐ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

   
ศ.ดร.ภูวดล ทรงประเสริฐศาสตราจารย์ ดร.ภูวดล ทรงประเสริฐ (เกิด พ.ศ. 2493 [1] - ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช)

ศาสตราจารย์ระดับ 9 ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เกิดที่ตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช จบการศึกษาทั้งปริญญาตรีและโทด้าน ประวัติศาสตร์ จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริญญาเอก ด้านประวัติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยมอนาช ประเทศออสเตรเลีย


เป็นผู้ที่เคลื่อนไหวทางด้านสังคมและการเมืองมาโดยตลอด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 ขณะเรียนอยู่ปี 2 คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เป็นนักวิชาการที่เชี่ยวชาญโดยเฉพาะทางด้านประวัติศาสตร์จีนและประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

เคยเขียนหนังสือเกี่ยวกับชาวจีนโพ้นทะเลหลายเล่ม เช่น ชาวจีนโพ้นทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในปี พ.ศ. 2546 เป็นต้น

เป็นหนึ่งในนักวิชาการที่เข้าร่วมชุมนุมขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร






อีกหนึ่งคนดี...ศรีแผ่นดิน
บันทึกการเข้า

***ผู้ยิ่งใหญ่ในแผ่นดินเปรียบเสมือนเรือ ประชาชนเปรียบเสมือนน้ำ

      น้ำพยุงเรือให้แล่นไปได้ และน้ำก็จมเรือได้เช่นกัน***
personal jesus
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 632



« ตอบ #4 เมื่อ: 18-08-2008, 00:03 »





ศาสตราจารย์ ดร.ภูวดล  ทรงประเสริฐ
Phuwadol Songprasert

ประวัติการศึกษา
 
- อักษรศาสตรบัณฑิต (คณิตศาสตร์)  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์)  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- Ph.D. (History) Faculty of Arts, Monash University, Australia


 


ประเด็นทางวิชาการที่สนใจ :

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และจีนโพ้นทะเลศึกษา

ผลงานทางวิชาการ
- นโยบายของรัฐบาลที่มีต่อชาวจีนในประเทศไทย พ.ศ.2475 – 2500.
           วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
           2519.
- ประวัติศาสตร์เกาหลีสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2521.
- “ท่าทีของไทยที่มีต่อการลี้ภัยเข้ามาของ ดร.ซุน ยัดเซ็น”, วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
           (มหาวิทยาลัยมหิดล) 2,2 (กันยายน – ธันวาคม, 2521): 50 – 66.
- ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกากับจีน: อดีตและปัจจุบัน. จุลสารวิชาการเล่มที่ 75
           คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522.
- “ความขัดแย้งในประเทศลาว สมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2”, วารสารรามคำแหง 6, ฉบับพิเศษที่
           1 (มีนาคม, 2522): 18 – 35.
- “การแผ่อำนาจของเวียดนามในกัมพูชา”, เอเชียปริทัศน์ 1,1 (ตุลาคม – ธันวาคม, 2522): 1 – 23.
- “ทฤษฎีการก่อตัวทางเศรษฐกิจสังคมกับการศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย”,
           เศรษฐศาสตร์การเมือง 1,2 (มีนาคม – เมษายน, 2524): 116 – 134.
- เศรษฐกิจกัมพูชากับการพัฒนาอุตสาหกรรม. เอกสารวิชาการอันดับที่ 16  สถาบันเอเชียศึกษา,
           จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522.
- The Development of Chinese Capital in southern Siam, 1868 – 1932. Ph.D. thesis, Department of
           History, Faculty of Arts, Monash University, 1985.
- ลู่ทางการลงทุนร่วมระหว่างไทยกับจีน. เอกสารวิชาการอันดับที่ 23  สถาบันเอเชียศึกษา,
           จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528.
- “การพัฒนาเศรษฐกิจในเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้”, เอเชียปริทัศน์ 6,3 (กันยายน – ธันวาคม, 2528):
           31 – 38.
- “เอเชียตะวันออกเฉียงใต้”, เอเชียรายปี 2528. สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528,
           หน้า 93 – 103.
- “วิธีการพัฒนาเศรษฐกิจของเกาหลีใต้”, เอกสารประกอบการสัมมนาเอเชียตะวันออกศึกษา,
           วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จ, วันที่ 14 – 16 ตุลาคม 2528, (16 หน้า).
- “เซี่ยเหมิน...เมืองที่มีความหมายต่อการศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย”,
           จดหมายข่าวสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย 8,3 (เมษายน – มิถุนายน, 2529): 24 – 38.
- “เขตเศรษฐกิจพิเศษซัวเถา”, ข่าวเอเชียศึกษา 2,6 (กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม, 2529): 7 – 18
- “วิวัฒนาการของทุนจีนในนครศรีธรรมราช”, ใน ปรีชา นุ่นสุข (บรรณาธิการ). ประวัติศาสตร์และโบราณคดีนครศรีธรรมราช
           ชุดที่ 4. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์, 2529, หน้า 33 – 52.
- “ทุนจีนในภาคใต้: บทวิเคราะห์เฉพาะยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์”, เศรษฐศาสตร์การเมือง 6, 1-2 (ตุลาคม, 2529 –
           มีนาคม, 2530): 89 – 106.
- “China’s Modernization: The Opportunity for Chinese Capital in Thailand”, in Frances F.W.Lai (ed.). The
           Emerging between China & Southeast Asia: Limitations and Opportunities. Hong Kong: Lingnan
           College, 1988, pp. 195 – 205.
- วิกฤตภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมแห่งประเทศไทย, 2530.
- “บทบาทของชาวจีนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองสงขลาระหว่าง พ.ศ.2318 – 2444”,
           หนังสือที่ระลึกในวโรกาศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
           เสด็จพระราชดำเนินทางประกอบพิธีเปิดอาคารศาลจังหวัดสงขลา วันจันทร์ที่ 21 ธันวาคม 2530. กรุงเทพฯ:
           กรุงสยามการพิมพ์, 2530.
- “เอเชียตะวันออกเฉียงใต้”, เอเชียรายปี 2531. สถาบันเอเชียศึกษา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531, หน้า 16 – 27.
- “A New Approach of Thailand towards the Kampuchean Conflict”, paper presented at the 53rd Pugwash
           Symposium of Peace and Security in the Asian-Pacific Region, 17 – 20 October 1988, Bejing China,
           16 pages.
- Thailand: A First Asylum Country for Indochinese Refugees. Bangkok: Chulalongkorn University Press,
           1989.
- “พัฒนาการของนักธุรกิจสมัยใหม่ภาคใต้”, จดหมายข่าวสังคมศาสตร์ 11, 2-3 (พฤศจิกายน, 2531 –
           เมษายน, 2532): 175 – 186.
- “บูรณาการแห่งชาติและการดำรงความเป็นจีน: ในบริบทของประวัติศาสตร์ภาคใต้”, ในกุสุมา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
           (บรรณาธิการ). รอยร้าวในสังคมไทย? บูรณาการกับปัญหาความมั่นคงของชาติ. กรุงเทพฯ:
           อักษรสยามการพิมพ์, 2532, หน้า 177 – 212.
- “The Reinterpretation of Anti-Chinese Movement in Thailand 1903 – 1923”, in Ng Lun Ngai-ha and Chang
           Chak Yan (eds.). Overseas Chinese in Asia between the two World Wars. Hong Kong: United League
           Graphic and Printing, 1989, pp.415 – 423.
- “The Economic Roles, Positions and Problems of the Chinese and the Malay Muslims in the Thai Polity: A
           Comparative Study”, in S.W.R. de A.Samarasinghe and Reed Coughlan (eds.). Economic Dimensions of
           Ethnic Conflict. New York: St.Martin’s Press, 1991, pp.119 – 134.
- พัฒนาการของผู้ประกอบการธุรกิจสมัยใหม่ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย,
           2535.
- ประวัติศาสตร์อินโดจีนในคริสต์ศตวรรษที่ 20. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2535.
- ทุนสิงคโปร์: การผูกขาดตลาดยางพาราและดีบุกไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536.
           “ปัญหา สปก.4-01ในภูเก็ต”, สังคมศาสตร์ปริทัศน์ 15, 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม, 2537): 9 – 21.
- “The Investment of Malaysian-Chinese in Southern Thailand”, in Fukui Hayao (ed.). Cross Border
           Perspectives from Thailand and Malaysia. Kyoto: Kyoto University Ptress, 1995, pp.35 – 48.
- “ชาวจีนในอินโดนีเซีย”, สังคมศาสตร์ปริทัศน์ 18, 2 (มกราคม – มิถุนายน, 2540): 87 – 114.
- “จีนกับการผนวกดินแดนของชนกลุ่มน้อยในยูนนาน”, สังคมศาสตร์ปริทัศน์ 19, 2 (มกราคม -  มิถุนายน, 2541):
           78 – 98.
- “แรงงานจีนในสังคมไทย”, ในชำระประวัติศาสตร์แรงงานไทย ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์
           จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541, หน้า 112 – 134.
- “ปัญหาวิกฤตของชาวจีนในอินโดนีเซีย”, ใน ปทุมพร วัชรเสถียร และไชยวัฒน์ ค้ำชู (บรรณาธิการ).
           จีนในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542, หน้า 381 – 424.
- “การฉ้อราษฎร์บังหลวงในเมืองพัทลุงและสงขลาปลายสมัย ร.5”, สังคมศาสตร์ปริทัศน์ 44, 1
           (มกราคม – มิถุนายน, 2543): 27 – 34.
- “อั้งยี่ภูเก็ต”, ไทคูน 2, 19 (มิถุนายน – กรกฎาคม, 2543): 65 – 83.
- “ตัน กากี่: อภิมหาบุรุษจีนโพ้นทะเล”, ไทคูน 3, 26 (กุมภาพันธ์, 2544): 58 – 63.
- “เครื่องเทศ: ปฐมบทของอาณานิคมตะวันตกในอุษาคเนย์”, ไทคูน 3, 28 (มีนาคม, 2544): 62 – 66.
- “ดร.ซุนยัดเซ็นบนแผ่นดินไทย (ตอน 1)”, ไทคูน 3, 29 (เมษายน, 2544): 67 – 71.
- “ดร.ซุนยัดเซ็นบนแผ่นดินไทย (ตอน 2)”, ไทคูน 3, 31 (พฤษภาคม, 2544): 62 – 66.
- “ซำเปากงของชาวจีนโพ้นทะเล”, ไทคูน 3, 33 (มิถุนายน, 2544): 69 – 73.
- “รากเหล้าของจีนฮ่อ”, ไทคูน 3, 35 (กรกฎาคม, 2544): 59 – 66.
- “การระดมทุนจีนโพ้นทะเลเพื่อปฏิรูปเศรษฐกิจยุคแมนจู”, ไทคูน 3, 38 (สิงหาคม, 2544): 60 – 67.
- “กลุ่มซาลิม: ทุนจูกงที่ทรงอิทธิพลแห่งอินโดนีเซีย”, ไทคูน 3, 40 (กันยายน, 2544): 80 – 85.
- “การปฏิรูปเศรษฐกิจตามวิถีมังกร”, ไทคูน 3, 43 (พฤศจิกายน, 2544): 54 – 61.
- “ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว: การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์การเมือง”,
           วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 27 (กรกฎาคม – ธันวาคม, 2544): 30 – 49.
- “Impacts of Economic Crisis on Thai Investment in China”, Paper presented at the 8th International
           Conference of Thai Studies, 9th – 12th January 2002, Nakhon Phanom Province, Thailand, 16 pages.
- “ปมปัญหาความไร้เสถียรภาพของอินโดนีเซียปัจจุบัน”, เอกสารประกอบการอบรมเรื่อง
           “เอเชียตะวันออกเฉียงใต้: สถานการณ์ปัจจุบันในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์” ครั้งที่ 1 คณะอักษรศาสตร์
           มหาวิทยาลัยศิลปากร, วันที่ 18 – 19
           มกราคม 2545, 20 หน้า.
- “The Implications of Penang’s Historical Connection with Southern Thailand”, Malaysian Journal of
           Tropical Geography, Vol.33, No.1-2 (2002): 1 – 10.
- ลอดลายมังกรโพ้นทะเล. กรุงเทพฯ: ทิปปิ้ง พอยท์, 2545.
- ทุนจีนปักษ์ใต้: ภูมิหลังเบื้องลึกทุนใหญ่โพ้นทะเล. กรุงเทพฯ: ทิปปิ้ง พอยท์, 2546.
- ชาวจีนโพ้นทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยใหม่. งานวิจัยในชุดโครงการอาณาบริเวณศึกษา 5 ภูมิภาค
           สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2546.
- “โรเบิร์ต คว็อคแห่งมาเลเซีย”, ไทคูน 6, 68 (กรกฎาคม, 2546): 136 – 139.
- “หลิม โก๊ะตง: นายบ่อนมาเลเซีย”, ไทคูน 6, 69 (สิงหาคม, 2546): 128 – 131.
- อินโดนีเซีย: อดีตและปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.
- จีนโพ้นทะเลสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: แบรนด์เอจ, 2547.
- ความขัดแย้งเรื้อรังใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. งานวิจัยซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิเอเชีย, 2547.
- ชาวจีนในภาคใต้ของประเทศไทย. งานวิจัยในโครงการแผนที่ภูมิทัศน์ภาคใต้: ฐานเศรษฐกิจและทุน วัฒนธรรม,
           สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2548.
- “ปัญหาความขัดแย้งใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้”, ใน อุทัย ดุลยเกษม และเลิศชาย ศิริชัย (บรรณาธิการ).
           ความรู้กับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง: กรณีวิกฤติการณ์ชายแดนภาคใต้. กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรสโปรดักส์,
           2548, หน้า 131 – 210.
- เอกภาพ: ท่ามกลางความแปลกแยกในภาคใต้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ยูเรก้า, 2548.
 
 
 
 


http://www.history.soc.ku.ac.th/personal-phuvadol.html
บันทึกการเข้า

aday
สมาชิกสามัญขั้นที่ 2
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 94


« ตอบ #5 เมื่อ: 18-08-2008, 01:03 »

ชอบเป็นบางวันคะ แต่แกด่าไม่เลี้ยงเลยนะวันนี้
บันทึกการเข้า
ริวเซย์
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 4,637


Worrior in The Blue Armor


เว็บไซต์
« ตอบ #6 เมื่อ: 18-08-2008, 12:36 »

มาลงคะแนนให้1เสียงครับ ผมเคยถ่ายรูปคู่กับอาจารย์ด้วยนะ

แต่ตัวจริงอาจารย์ก็หยิ่งนิดๆ ไม่ยอมแจกลายเซ็นต์หรือให้ถ่ายภาพง่ายๆนะครับ

แต่นั่นก็เป็นนิสัยส่วนตัวของอาจารย์นะครับ

ที่ผมชอบก็คือคำปราศัยที่ดุเดือดทิ่มแทงพวกชั่วๆอย่างยิ่ง

 
บันทึกการเข้า

ถ้ามีแฟนแบบนี้เอาไหมครับ^^


personal jesus
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 632



« ตอบ #7 เมื่อ: 18-08-2008, 12:45 »




อาจารย์ อาจจะคิดว่าแก ไม่ใช่ดารา หรือศิลปินมั้ง
แกเป็นนักวิชาการ ผู้ให้ความรู้ เดาๆเอาอ่ะนะ อาจจะผิดก็ได้


  
บันทึกการเข้า

NuMor
สมาชิกสามัญขั้นที่ 2
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: หญิง
กระทู้: 69



« ตอบ #8 เมื่อ: 18-08-2008, 15:59 »

ชอบค่ะ ถึงแกจะพูดใช้คำไม่สุภาพบ่อยๆ แต่ก็เข้าใจว่า ไม่มีคำใดที่สุภาพเหมาะกับพวกโกงกินบ้านเมือง เอาเงินภาษีเราไปถลุงแบบเลวๆ แบบพวกนักการเมืองชั่วๆ อีกแล้ว

จริงๆ เราเป็นคนไม่ชอบคำไม่สุภาพนะ ไม่กล้าพูด มีอาจารย์พูดให้ เหมือนด่าพวกนักการเมืองเลวๆ แทนเรา ฮ่าๆๆๆ โดนใจเรา โดยที่ไม่ต้องพูดเอง

ตอนอาจารย์กระชากหน้ากากพวกนักวิชาการบางพวกนี่ก็ชอบฟัง นึกภาพออกเลย พวกยึดตำรา อยู่บนหอคองาช้าง เอาแต่สอนตามตำราตะวันตก ไม่มาดูสังคมไทยจริงๆ
บันทึกการเข้า

“Those who are too smart to engage in politics are punished by being governed by those who are dumber.”
- Plato
เพื่อนฝัน
ขาประจำ
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 493



« ตอบ #9 เมื่อ: 18-08-2008, 16:43 »

ตอนฟังครั้งแรกๆๆ คิดว่า อาจารย์เมาหรือเปล่า  แต่ตอนหลังก็ถึงบางอ้อ ว่า อาจารย์เขาพูดอย่างนี้เองแต่ขัดหูนิดหน่อยตรงที่ อาจารย์พูดไม่ชัด ค.ควาย จะพูดเป็น ฟาย แต่ก็พอเข้าใจว่าท่านไปเรียนเมืองนอกหลายปีแถมเป็นคนใต้อีกเลยพูดไม่ชัด แต่สรุปโดยรวมแล้วชอบ ต้องรอฟังทุกวัน
บันทึกการเข้า

ใครสอนใครสั่ง ดูถูกประชาชน เป็นม็อบข้างถนน บิดเบือนเหมือนคนตกรุ่น
เรามาชุมนุม ใช้สิทธิ์ตามรัฐธรรมนูญ ขับไล่รัฐบาลหุ่น ที่เป็นสมุนของอาชญากร
Thaksin Get Out
น้องใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: หญิง
กระทู้: 3


Thaksinomics Get Out!


เว็บไซต์
« ตอบ #10 เมื่อ: 18-08-2008, 16:45 »

 
บันทึกการเข้า

iyen
สมาชิกสามัญขั้นที่ 3
****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 158



« ตอบ #11 เมื่อ: 18-08-2008, 19:05 »

ชอบฟังอาจารย์ปราศรัย ดุ ด่า แน่น ชัดเจน 
บันทึกการเข้า

คนพาล เวลาทำชั่ว หาสำนึกถึงผลของมันไม่
PK
สมาชิกสามัญขั้นที่ 2
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 65



« ตอบ #12 เมื่อ: 18-08-2008, 20:27 »

สำหรับ อ. ภูวดล  เป็นอีกหนึ่งท่านที่ชอบครับ
 
บันทึกการเข้า
ลับ ลวง พราง
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 945



« ตอบ #13 เมื่อ: 19-08-2008, 23:11 »

ชอบ อ.ภูวดล มากเหมือนกัน แกเป็นคนที่ใช้คำหยาบได้สุภาพมากเลย ฝีมือจริงๆ
บันทึกการเข้า

"คนฟุ่มเฟือย แม้จะรวยก็มักขัดสน คนประหยัด แม้จะจนก็มักมีเหลือเก็บ"
ปรมาจารย์เจได
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2,771


รักแท้ก็เหมือนผี รู้ว่ามี แต่ไม่เคยเจอ


« ตอบ #14 เมื่อ: 20-08-2008, 01:48 »



ท่านชื่ออะไรใน TGO ครับผม
บันทึกการเข้า

http://www.oknation.net/blog/jedimaster



"เมืองดอกบัวงาม  แม่น้ำสองสี  มีปลาแซบหลาย หาดทรายแก่งหิน  ถิ่นไทยนักปราชญ์  ทวยราษฎร์ใฝ่ธรรม งามลำเทียนพรรษา  ผาแต้มก่อนประวัติศาสตร์"

ไม่มีใครเน่าบริสุทธิ์ดุจดั่งมูล ประชาชินสมบูรณ์ซะที่ไหน เมื่อยืนหยัดโชว์จู๋และปาขี้ ประชาชินย่อมมีชีวิตใหม่ เมื่อท้องฟ้าสีขี้ผ่องอำไพ เหลี่ยมจันไsย่อมเป็นใหญ่อยู่ใต้ดิน ...

ขอเชิญร่วมกลุ่มต้านทักษิณใน hi5 ครับ

THAKSIN get out !!
http://www.hi5.com/friend/group/1123605--THAKSIN%2Bget%2Bout%2521%2521--front-html

say no to thaksin !
http://www.hi5.com/friend/group/1186900--say%2Bno%2Bto%2Bthaksin%2B%2521--front-html
หน้า: [1]
    กระโดดไป: