ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
24-04-2024, 16:17
378,182 กระทู้ ใน 21,926 หัวข้อ โดย 9,412 สมาชิก
สมาชิกล่าสุด: MAN4U
ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด (รุ่นแรก)  |  ทั่วไป  |  สภากาแฟ  |  มีคนสั่งสฤษดิ์ให้มอบเขาพระวิหารให้เขมรตามศาลโลกตัดสิน 0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
หน้า: [1]
มีคนสั่งสฤษดิ์ให้มอบเขาพระวิหารให้เขมรตามศาลโลกตัดสิน  (อ่าน 6761 ครั้ง)
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,406



« เมื่อ: 27-07-2008, 21:29 »

Bad blood among Thais and Cambodians is boiling unabated. It is about time the two nations struck a deal, with Asean or the UN Security Council as mediator; bilateral talks will, as always, be of no avail. VUTH CHANSEREI PHUON Phnom Penh A little lesson in history The ongoing fury over the listing of the Phra Viharn temple as a World Heritage Site results from domestic politics as much as nationalism. Neither has anything to do with history and, in this case, architecture, which none of the vociferous parties involved has shown any appreciation for.

I can't help but fret over our shortcomings in history and culture as listed below.

1. My father, who spent years in the archives in France back in the 1960s, has the French map, or a microfilm of it, showing the "kink" from the watershed line to exclude Prasat Khao Phra Vihara from Siam. The said map was appendiced to the border agreement between France and Siam. This is something which nobody in Siam knew about when M R Seni Pramoj took the case to the World Court, and my father told me that it was obvious that Siam had to lose the case because of this map.

2. After the Court's deliberation, Field Marshal Sarit refused to cede the temple to Cambodia. A higher authority called him in to say that the country is bound by the said verdict and there the matter rested.

(Of course the approach to the temple is possible only from the Thai side of the border.)

3. Thais have never been good at keeping historical records, and we have to go to the archives in Paris, London, The Hague, Cornell, etc, in order to do our PhD's in Thai history!

4. Without the sense of real history, Thais are vehemently nationalistic, which is dangerous. For example, school textbooks still teach Thais that we came from the Altai Mountains and founded the Nanchao Kingdom, which Chinese scholars dismiss as pure nonsense.

5. Few Thais realise that the Khmer Empire used to cover much of present-day Thailand and Laos, as evidenced by Prasat Muang Sing to the west on the Burmese border, and the Khmer ruins in Sukhothai in central Siam, and Laos. The Thais, having wrested from the Khmers their outpost town of Sukhothai in the 13th century, took over the Khmer language - the Thai script being a simplified form of Khmer - and in the early Ayutthaya period adopted, with variations or aesthetic licence, Khmer architecture, classical dance and other facets of Khmer civilisation which were then unwittingly exported back to Kampuchea by the French in the 19th century. (Witness the Royal Palace in Phnom Penh which is a mediocre copy of our Grand Palace).

6. Kampuchea to Siam (or to history-less Thailand), is like ancient Greece and Rome to the rest of Europe, or 3rd century BC China and the T'ang Dynasty to Japan. That much do we owe to the Khmers!

7. In the end, a great monument like Prasat Khao Phra Vihara doesn't belong to any particular country. It belongs to the world. Only this or that country has the obligation to look after it on behalf of mankind.

8. History is the future. When people refuse to understand this, with a tinge of humour, they have to start from the beginning again and again.

SUMET JUMSAI
http://www.bangkokpost.com/260708_News/26Jul2008_news98.php

คำแปลจากบอร์ดประชาไท
ความเกลียดชังในสายเลือดระหว่างคนไทยและคนกัมพูชากำลังเดือด ถึงเวลาแล้วที่ชาติทั้งสองต้องตกลงกัน ภายใต้การช่วยเจรจาของอาเซียนหรือคณะมนตรีความมั่นคง สหประชาชาติ เพราะการเจรจาระหว่างสองประเทศคงไม่ได้ผลเช่นเคย

ข้าพเจ้าอดไม่ได้ที่จะหงุดหงิดในความขาดความรู้ของคนไทยทั่วไป ในประวัติศาสตร์ความเป็นมาและวัฒนธรรม ดังรายการต่อไปนี้

1. บิดาข้าพเจ้าซึ่งได้ไปค้นคว้าบันทึกต่างๆในฝรั่งเศษในช่วงทศศตวรรษ 1960s ท่านได้ไปพบแผนที่ฉบับของฝรั่งเศษแสดงเส้นแบ่งสันปันน้ำ ที่มีปรากฏชัดเจน รอยหยักซึ่งกันปราสาทเขาพระวิหารออกจากดินแดนฝ่ายสยาม แผนที่ฉบับนี้ ได้ถูกแนบเป็นภาคผนวกของข้อตกลงดินแดนระหว่าง(รัฐบาล)ฝรั่งเศษและ(รัฐบาล)สยาม เรื่องนี้ ไม่มีผู้ใดในสยามล่วงรู้ในสมัยที่ มรว.เสนีย์ ปราโมช สู้คดีนี้ในศาลโลก และบิดาข้าพเจ้าเคยเล่าให้ฟังว่า ที่ประเทศสยามต้องแพ้คดีนี้ แท้จริงแล้วเป็นเพราะแผนที่ฉบับนี้เอง

2. หลังจากศาลโลกตัดสินคดีแล้ว เดิมจอมพลสฤษฎ์ได้ปฏิเสธที่จะยอมยกปราสาทพระวิหารคืนแก่กัมพูชา แต่ผู้มีอำนาจเบื้องบนได้เรียกจอมพลสฤษฎ์เข้าพบเพื่อให้รับรู้ว่า ประเทศไทยมีภาระผูกพันต้องยอมรับคำตัดสินของศาลโลกและเรื่องนี้จะต้องจบลงแบบนี้ (แน่นอน ทางขึ้นปราสาททางเดียวยังต้องมาจากชายแดนไทย)

3. คนไทยไม่เคยเก่งในการเก็บบันทึกประวัติศาสตร์ และคนไทยมักต้องไปค้นหาบันทึกประวัติศาสตร์ที่ปารีส ลอนดอน กรุงเฮก มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ ฯ เพื่อทำปริญญาเอกในสาขาประวัติศาสตร์ไทย

4. ด้วยการขาดความสำนึกในประวัติความเป็นมา คนไทยมักแสดงความรักชาติอย่างบ้าบิ่น ซึ่งเป็นสิ่งอันตรายมาก ยกตัวอย่าง ในตำราไทยยังสอนว่าคนไทยมาจากบริเวณเทือกเขาอัลไตและเป็นผู้ก่อตั้งราชอาณาจักรน่านเจ้า ซึ่งนักวิชาการจีนปฏิเสธว่า เป็นเรื่องไร้สาระสิ้นดี
5. มีคนไทยน้อยคนที่จะตระหนักว่า จักรวรรดิขอมเคยครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศไทยและลาว ดังเห็นชัดจากปราสาทเมืองสิงห์จรดชายแดนพม่า และสิ่งปรักหักพังขอมในสุโขทัยในสยาม และในประเทศลาว คนไทยซึ่งได้ยึดกรุงสุโขทัยจากขอมในศตวรรษที่ ๑๓ ได้พัฒนาอักษรไทยจากอักษรขอม ในสมัยต้นอยุธยา คนไทยได้รับเอาสถาปัตยกรรมแบบขอม การเต้นรำ และวัฒนธรรมอื่นๆของขอม ซึ่งในศตวรรษ 19 ฝรั่งเศษได้นำกลับไปใช้ในประเทศกัมพูชา (เช่น พระราชวังหลวงในนครพนมเปญ ซึ่งเป็นการเลียนแบบฉบับย่อของพระราชวังไทย)

6. กัมพูชา ต่อสยาม (หรือ ต่อประเทศไทยซึ่งไม่มีประวัติศาสตร์ของตัวเอง) ก็เหมือนกรีกโบราณและโรม ต่อส่วนอื่นของยุโรป หรือ เหมือนจีนสมัยราชวงค์ถังต่อญี่ปุ่น เราเป็นหนี้คนเขมรมากขนาดนั้น

7. ในบั้นปลาย โบราณสถานอย่างปราสาทเขาพระวิหาร ไม่ได้เป็นสมบัติของประเทศใดประเทศหนึ่ง แต่เป็นสมบัติของโลก จะมีก็เพียงบางประเทศที่มีหน้าที่ต้องดูแลรักษาในนามของมนุษยชาติเท่านั้น

8. ประวัติศาสตร์คืออนาคต เมื่ิอไรก็ตามที่ประชาชนปฏิเสธที่จะเข้าใจประวัติศาสตร์ด้วยสีสันของอารมณ์ขัน เขาจะต้องกลับไปเริ่มต้นใหม่ ครั้งแล้ว ครั้งเล่า
http://www.prachatai.com/webboard/topic.php?id=703961


พันธมิตรทำอะไรอยู่ ไปขุดมาด่าเลย ไม่ส่งมอบก็ไม่เสียเขาพระวิหารแล้ว
บันทึกการเข้า
พรรณชมพู
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 5,073


« ตอบ #1 เมื่อ: 27-07-2008, 21:42 »

กระเหิ้ยนกระหือรือ จะหมิ่นเบื้องสูงให้ได้ ทุกวิถีทาง

ไอ้แถเอ๊ย ชั่วจริงๆ
บันทึกการเข้า
กระทืบไอ้สมชายชาติชั่วจมขี้(ตีน)
สมาชิกสามัญขั้นที่ 3
****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 132



« ตอบ #2 เมื่อ: 27-07-2008, 21:47 »

๑๑๑


*  (57.55 KB, 440x340 - ดู 797 ครั้ง.)
บันทึกการเข้า
กระทืบไอ้สมชายชาติชั่วจมขี้(ตีน)
สมาชิกสามัญขั้นที่ 3
****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 132



« ตอบ #3 เมื่อ: 27-07-2008, 21:49 »

๑๑๑


*  (30.56 KB, 300x373 - ดู 726 ครั้ง.)
บันทึกการเข้า
jrr.
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 670


« ตอบ #4 เมื่อ: 27-07-2008, 21:58 »

พันธมิตรทำอะไรอยู่ ไปขุดมาด่าเลย ไม่ส่งมอบก็ไม่เสียเขาพระวิหารแล้ว

..........................................................................

ส่งมอบให้พ่อมึงเหรอ ???.....เชายังสงวนสิทธิ์ทวงคืนไว้ อบ่าบิดเบือน ไอ้ชั่ว !!!

( ถ้าจะส่งมอบ....ก็ส่งมอบหัวที่เสียบอยู่ข้างบนน่ะแหละ )
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 27-07-2008, 22:01 โดย jrr. » บันทึกการเข้า
เช็คบิล
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 580



« ตอบ #5 เมื่อ: 27-07-2008, 22:17 »

ตกลงประชาไท ไอ้พวกลูกกรอกนี่มันเชื่อเอกสารของไอ้ขะแมร์ต่างประเทศด้วยเหรอว่ะเนี๊ยะ กูละเบื่อเลยแบบนี้ งั้นให้พวกมันไปอยู่เกาะกงให้หมดเลยดีกว่า ท่าจะเข้าท่าจริงๆ 
บันทึกการเข้า
samepong(ยุ่งแฮะ)
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,402



« ตอบ #6 เมื่อ: 27-07-2008, 22:27 »

ผม ยังคิดไม่ตก ทำไม คุณถึงอยากให้ไทยเสียประสาทพระวิหาร เสียพื้นที่เขาพระวิหาร อย่างออกหน้าออกตาขนาดนั้น
บันทึกการเข้า

เวลาจะพิสูจน์ความเชื่อ สักวัน ไม่ว่าความเชื่อนั้นจะถูกหรือผิด ผมขอรับไว้ด้วยตัวเอง คิเสียว่าทำแล้วเสียใจดีกว่าเสียใจที่ไม่ได้ทำ
CatEyE
สมาชิกสามัญขั้นที่ 1
**
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 21


« ตอบ #7 เมื่อ: 27-07-2008, 23:36 »

จะย้ายบ้านไปเขมร เมื่อไรวานบอก เดี๋ยวหารถบรรทุกให้ โอเค๊
 
บันทึกการเข้า
Unread
สมาชิกสามัญขั้นที่ 2
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 83


« ตอบ #8 เมื่อ: 28-07-2008, 00:52 »

สมบัติของโลกหรอ  ...... ถุ้ย!!!!(ขออภัยที่หยาบคาย)     
  หากคิดแบบนั้น ก็เอาทองคำ ที่พม่ามันเอาไปตั้งแต่ สมัย เสียกรุง ครั้งที่ 2 สิวะ ที่มันเอาไปทำ เจีดีย์ทองคำซะโอ่อ่า
  น่ารำคาญไอ้พวกไม่รักชาติแล้ว ทำปากดีรู้มาก(ชู้แม่พวกคุณเป็นเขมรเหรอครับถึงไปเข้าข้างมัน)  ก็เห็นๆอยู่ว่าทางขึ้นมันอยู่ในไทย
  ถ้าของเขมรจริงมันจะปีนเขา มาสร้างเหรอไอ้พวกเดรัจฉานทำสู่รู้  ถุ้ย   

    กุอยากรู้ว่าเราไปติดหนี้ เขมร ตอนไหนครับ (หรือ.....มิงไปยืมเงินเขมรมาไอ้ควายเอ้ย) ทนไม่ไหวจริงๆ คนพวกนี้เเม้งเฮี้ยจริงๆ
     ธุระปะปังอะไรพวกมิงไป คุ้มครองสิทธิให้พวกมัน  แม้งเหมือนอาจารย์ผมคนนึงที่ มหาลัย แม้งบอก  "ให้เขมรไปเหอะแค่ปราสาทเก่าๆ" ไม่ได้มีความสลักสำคัญอะไร ไม่ใช่ นครวัด ซะหน่อย  คิดดูอาจารย์ ระดับมหาวิทยาลัย แม้งคิดได้แค่นี้ กุเลิกนับถือแม้งเลย
       พวกเฮี้ยทั้งหลาย หัดมีความเป็นชาตินิยม มั่ง นะครับ ไม่ใช่มัวแต่ปากดี ว่าประเทศเราไม่มี อารยธรรม (เพราะคนไม่มีอารยธรรมก็คือ พวกมิงเท่านั้น) ไม่ใช่ประเทศของพวกกุ   มิงหัดดูเกาหลี ญี่ปุ่น บ้างนะ ทั้งๆที่ พวกเค้ารู้อยู่ว่า อารยธรรมชาติเค้ามาจากไหน แต่เค้าก็ไม่เคยแคร์ เค้าสนใจแค่ว่าปัจจุบันเค้ามีหน้าที่อะไร  เค้ายังภูมิใจในชาติของเค้า แล้วย้อนดูที่ ตัวเราสิ ปัจจุบันเราเคย มีไหมความเป็นชาตินิยม (ไม่มีแล้วเจือก มา พูดว่าประเทศเราเป็นหนี้เขมร)
  ผมไม่รุ้หรอกว่าอารยธรรมเราจะมาจากไหน  ผมรู้แต่ว่าปัจจุบันเราคือประเทศไทย เราทุกคน คนไทย มีหน้าที่รักษา อธิปไตย ทุกพื้น ตารางมิลลิเมตร  หากเรายอมมันไปวันนี้ ก็ไม่รู้ว่าอนาคตข้างนี้มันจะยึดเส้นดินแดน กลืนกินผืนแผ่นดินเราอีกเท่าไรก็ไม่รู้เลย
 หุบปากไปเลยนะครับ อยากประหยัดให้ติดแก๊ส  ผมไม่อยากจะเห็น ภาษาไทย พิมพ์ผ่าน จากชื่อคุณอีก  เพราะในใจผม มึงมันไม่ใช่คนไทย ไอ้ชาติชั่ว
บันทึกการเข้า
bangkaa
ขาประจำ
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 407



« ตอบ #9 เมื่อ: 28-07-2008, 01:04 »

แล้วไงล่ะ....


ไปทวงคืน... ก็หาว่า ไปทวงของที่เป็นของคนอื่น...ศาลโลกตัดสินแล้วต้อง เคารพ...


แต่พอตอนนั้น...ให้คืนศาลโลกไป...... ก็หาว่า ไม่คืน ก็ไม่เสีย...


กรูละงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงงง





 

บันทึกการเข้า

มาทำหน้าที่... ใช้หนี้แผ่นดิน...และมาทำบุญ...
สมชายสายชม
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3,048


« ตอบ #10 เมื่อ: 28-07-2008, 01:09 »

พวกนักการเมืองและสาวกลิ่วล้อพรรคเหี้e หลงหอ มีความกระเหี้eน กระหือรือ
ที่จะรวมดินแดนอิสานตอนเหนือกับฝั่งลาว และรวมดินแดนอิสานตอนใต้กับฝั่งเขมร   

...
บันทึกการเข้า
Caocao
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 557



« ตอบ #11 เมื่อ: 28-07-2008, 02:07 »

Bad blood among Thais and Cambodians is boiling unabated. It is about time the two nations struck a deal, with Asean or the UN Security Council as mediator; bilateral talks will, as always, be of no avail. VUTH CHANSEREI PHUON Phnom Penh A little lesson in history The ongoing fury over the listing of the Phra Viharn temple as a World Heritage Site results from domestic politics as much as nationalism. Neither has anything to do with history and, in this case, architecture, which none of the vociferous parties involved has shown any appreciation for.

I can't help but fret over our shortcomings in history and culture as listed below.

1. My father, who spent years in the archives in France back in the 1960s, has the French map, or a microfilm of it, showing the "kink" from the watershed line to exclude Prasat Khao Phra Vihara from Siam. The said map was appendiced to the border agreement between France and Siam. This is something which nobody in Siam knew about when M R Seni Pramoj took the case to the World Court, and my father told me that it was obvious that Siam had to lose the case because of this map.

2. After the Court's deliberation, Field Marshal Sarit refused to cede the temple to Cambodia. A higher authority called him in to say that the country is bound by the said verdict and there the matter rested.

(Of course the approach to the temple is possible only from the Thai side of the border.)

3. Thais have never been good at keeping historical records, and we have to go to the archives in Paris, London, The Hague, Cornell, etc, in order to do our PhD's in Thai history!

4. Without the sense of real history, Thais are vehemently nationalistic, which is dangerous. For example, school textbooks still teach Thais that we came from the Altai Mountains and founded the Nanchao Kingdom, which Chinese scholars dismiss as pure nonsense.

5. Few Thais realise that the Khmer Empire used to cover much of present-day Thailand and Laos, as evidenced by Prasat Muang Sing to the west on the Burmese border, and the Khmer ruins in Sukhothai in central Siam, and Laos. The Thais, having wrested from the Khmers their outpost town of Sukhothai in the 13th century, took over the Khmer language - the Thai script being a simplified form of Khmer - and in the early Ayutthaya period adopted, with variations or aesthetic licence, Khmer architecture, classical dance and other facets of Khmer civilisation which were then unwittingly exported back to Kampuchea by the French in the 19th century. (Witness the Royal Palace in Phnom Penh which is a mediocre copy of our Grand Palace).

6. Kampuchea to Siam (or to history-less Thailand), is like ancient Greece and Rome to the rest of Europe, or 3rd century BC China and the T'ang Dynasty to Japan. That much do we owe to the Khmers!

7. In the end, a great monument like Prasat Khao Phra Vihara doesn't belong to any particular country. It belongs to the world. Only this or that country has the obligation to look after it on behalf of mankind.

8. History is the future. When people refuse to understand this, with a tinge of humour, they have to start from the beginning again and again.

SUMET JUMSAI
http://www.bangkokpost.com/260708_News/26Jul2008_news98.php

คำแปลจากบอร์ดประชาไท
ความเกลียดชังในสายเลือดระหว่างคนไทยและคนกัมพูชากำลังเดือด ถึงเวลาแล้วที่ชาติทั้งสองต้องตกลงกัน ภายใต้การช่วยเจรจาของอาเซียนหรือคณะมนตรีความมั่นคง สหประชาชาติ เพราะการเจรจาระหว่างสองประเทศคงไม่ได้ผลเช่นเคย

ข้าพเจ้าอดไม่ได้ที่จะหงุดหงิดในความขาดความรู้ของคนไทยทั่วไป ในประวัติศาสตร์ความเป็นมาและวัฒนธรรม ดังรายการต่อไปนี้

1. บิดาข้าพเจ้าซึ่งได้ไปค้นคว้าบันทึกต่างๆในฝรั่งเศษในช่วงทศศตวรรษ 1960s ท่านได้ไปพบแผนที่ฉบับของฝรั่งเศษแสดงเส้นแบ่งสันปันน้ำ ที่มีปรากฏชัดเจน รอยหยักซึ่งกันปราสาทเขาพระวิหารออกจากดินแดนฝ่ายสยาม แผนที่ฉบับนี้ ได้ถูกแนบเป็นภาคผนวกของข้อตกลงดินแดนระหว่าง(รัฐบาล)ฝรั่งเศษและ(รัฐบาล)สยาม เรื่องนี้ ไม่มีผู้ใดในสยามล่วงรู้ในสมัยที่ มรว.เสนีย์ ปราโมช สู้คดีนี้ในศาลโลก และบิดาข้าพเจ้าเคยเล่าให้ฟังว่า ที่ประเทศสยามต้องแพ้คดีนี้ แท้จริงแล้วเป็นเพราะแผนที่ฉบับนี้เอง

ขอข้อมูลที่ไม่ได้เป็นแค่การอ้างลอยๆได้ไหม เพราะถ้าลำพังบอกว่ามีแนวสันปันน้ำชัดเจนจริง มันก็พิสูจน์ได้จากสภาพความเป็นจริง ลักษณะภูมิประเทศดังกล่าว มันไม่ได้ใช้เวลาเพียงไม่กี่สิบปีเปลี่ยนแปลงได้หรอก ถ้ามันมีจริงมันต้องปรากฏ ไม่ใช่แค่คำพูดหล่อยๆ

2. หลังจากศาลโลกตัดสินคดีแล้ว เดิมจอมพลสฤษฎ์ได้ปฏิเสธที่จะยอมยกปราสาทพระวิหารคืนแก่กัมพูชา แต่ผู้มีอำนาจเบื้องบนได้เรียกจอมพลสฤษฎ์เข้าพบเพื่อให้รับรู้ว่า ประเทศไทยมีภาระผูกพันต้องยอมรับคำตัดสินของศาลโลกและเรื่องนี้จะต้องจบลงแบบนี้ (แน่นอน ทางขึ้นปราสาททางเดียวยังต้องมาจากชายแดนไทย)

นี่ก็แถมาแต่ไกล ใครครับที่สามารถสั่งจอมพลได้ อย่าดึงฟ้าต่ำ หรือเลียบเคียงเลย พูดพล่อยๆ ไม่งั้นก็เอาหลักฐานมาให้ชัดๆ ริจะแถก็ให้เนียนๆหน่อย

3. คนไทยไม่เคยเก่งในการเก็บบันทึกประวัติศาสตร์ และคนไทยมักต้องไปค้นหาบันทึกประวัติศาสตร์ที่ปารีส ลอนดอน กรุงเฮก มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ ฯ เพื่อทำปริญญาเอกในสาขาประวัติศาสตร์ไทย

อิอิอิ เรื่องนี้ไม่ทราบ ถ้าเป็นจริงก็คงเป็นเรื่องอดีต ปัจจุบันไม่ว่าวิชาการด้านไหน รวมทั้งดนตรีไทยก็ต้องไปทำเอกที่อเมริกา อาจเพราะชาตินั้นๆเป็นผู้ริเริ่มระบบการศึกษาแบบปัจจุบันมากกว่า
4. ด้วยการขาดความสำนึกในประวัติความเป็นมา คนไทยมักแสดงความรักชาติอย่างบ้าบิ่น ซึ่งเป็นสิ่งอันตรายมาก ยกตัวอย่าง ในตำราไทยยังสอนว่าคนไทยมาจากบริเวณเทือกเขาอัลไตและเป็นผู้ก่อตั้งราชอาณาจักรน่านเจ้า ซึ่งนักวิชาการจีนปฏิเสธว่า เป็นเรื่องไร้สาระสิ้นดี

ไม่ลองกลับไปทบทวนคดีเผาสถานทูตไทยในเขมรหน่อยเหรอ หรือแบบว่าจะเลือกตั้งทีไรมีประเด็นเขาพระวิหารโผล่มาทุกงวด เป็นหวยแทงเบอร์เดิมก็แดกเห็นๆ

 5. มีคนไทยน้อยคนที่จะตระหนักว่า จักรวรรดิขอมเคยครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศไทยและลาว ดังเห็นชัดจากปราสาทเมืองสิงห์จรดชายแดนพม่า และสิ่งปรักหักพังขอมในสุโขทัยในสยาม และในประเทศลาว คนไทยซึ่งได้ยึดกรุงสุโขทัยจากขอมในศตวรรษที่ ๑๓ ได้พัฒนาอักษรไทยจากอักษรขอม ในสมัยต้นอยุธยา คนไทยได้รับเอาสถาปัตยกรรมแบบขอม การเต้นรำ และวัฒนธรรมอื่นๆของขอม ซึ่งในศตวรรษ 19 ฝรั่งเศษได้นำกลับไปใช้ในประเทศกัมพูชา (เช่น พระราชวังหลวงในนครพนมเปญ ซึ่งเป็นการเลียนแบบฉบับย่อของพระราชวังไทย)

เผอิญว่าขอมที่ผมรู้จักเคยเป็นเมืองขึ้นของไทยก่อนถูกฝรั่งเศษตีกินไปจนเป็นปัญหาในปัจจุบัน แล้วศิลปะสุโขทัยเปรียบไม่ได้กับศิลปะขอม แน่นอนว่าศิลปะขอมเคยยิ่งใหญ่มาแต่เก่าก่อน แต่ปัจจุบันได้พิสูจน์แล้ว ศิลปะแบบสุโขทัยโดยเฉพาะพุทธศิลป์ เป็นศิลปะที่มีความเป็นเลิศด้านสุนทรียศาสตร์แบบที่จะหาศิลปะยุคใดในประวัติศาสตร์ความเป็นชาติมาเทียบเคียงได้ แนะนำให้ไปดูพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย กับสมัยลพบุรีที่มีอิทธิพลของพวกขอมมาปนก็ได้ คนละเรื่อง ยกตัวอย่างพุทธศิลป์แบบขอม ที่นิยมสร้างพระพุทธรูปหน้าเหลี่ยมๆ เขม่งๆ ดุๆ ก็สะท้อนปัจจัยในความเป็นชาติเขมรอยู่แล้ว แล้วอย่ามาแถเลยว่าไทยรับมรดกมาจากขอม จริงๆในแถบภูมิภาคเอเชียรับมรดกมาจากอินเดียทั้งนั้น ซิ่งอินเดียก็รับทอดมาจากกรีก ลองไปดูพระพุทธรูปเช่นในยุคคุปตะของอินเดีย เปรียบเทียบกับยุคสุโขทัยดูแล้วจะร้อง ที่ไทยรับอิทธิพลมาจากเขมรก็แค่ยุคลพบุรีเท่านั้น ซึ่งศิลปะไทยมีมากมายกว่านั้นมาก หรือจะลองดูเพื่อนบ้านอย่างจีนก็รับมาจากอินเดีย ไปดูแค่ลวดลายของจีนกับของอินเดียก็ได้ ส่วนญี่ปุ่นกับเกาหลีรับมาจากจีนอีกที ก็ไม่เห็นแปลก เพราะศิลปะมันไม่มีเขตุแดนกั้น ดูจากทุกวันนี้เด็กฮิพฮอพเต็มเมือง ต้องให้เด็กพวกนี้ไปกราบตรีนนิโกรด้วยเหรอ เพราะแน้นอย่ามาแถ ตะแบงอะไรมั่วๆ

6. กัมพูชา ต่อสยาม (หรือ ต่อประเทศไทยซึ่งไม่มีประวัติศาสตร์ของตัวเอง) ก็เหมือนกรีกโบราณและโรม ต่อส่วนอื่นของยุโรป หรือ เหมือนจีนสมัยราชวงค์ถังต่อญี่ปุ่น เราเป็นหนี้คนเขมรมากขนาดนั้น

อิอิอิ นี่ก็แถ ศิลปะเขมรที่เข้าแพร่เข้ามามีแค่แถบอีสาน และอีสานก็ไม่ได้หมายถึงไทยทั้งประเทศ จะมากล่าวอ้างบุญคุณของเขมรก็ให้เจ้าของระทู้ไปกราบตรีนมันเองแล้วกัน
7. ในบั้นปลาย โบราณสถานอย่างปราสาทเขาพระวิหาร ไม่ได้เป็นสมบัติของประเทศใดประเทศหนึ่ง แต่เป็นสมบัติของโลก จะมีก็เพียงบางประเทศที่มีหน้าที่ต้องดูแลรักษาในนามของมนุษยชาติเท่านั้น

8. ประวัติศาสตร์คืออนาคต เมื่ิอไรก็ตามที่ประชาชนปฏิเสธที่จะเข้าใจประวัติศาสตร์ด้วยสีสันของอารมณ์ขัน เขาจะต้องกลับไปเริ่มต้นใหม่ ครั้งแล้ว ครั้งเล่า

http://www.prachatai.com/webboard/topic.php?id=703961


พันธมิตรทำอะไรอยู่ ไปขุดมาด่าเลย ไม่ส่งมอบก็ไม่เสียเขาพระวิหารแล้ว

แปลกใจ พวกไทยหัวใจเขมร ภาษาขแมพ่นมา มันคงเชื่อหมด ทั้งที่อ่านภาษาไทยออกกลับคิดไม่ได้ ควายเขมรมันคงหลอกควายหัวใจเขมรได้อีกหลายตัว  อีกเรื่อง ขอเหอะ ไม่ต้องชักดิ้นชักงอปกป้องพ่อถูนหัวในเรื่องที่เถียงไม่ขึ้นก็ได้ มันดูขายขี้หน้ายังไงไม่รู้
บันทึกการเข้า

หลับเถิดทหารกล้า ปวงประชาจะคุ้มครอง
Caocao
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 557



« ตอบ #12 เมื่อ: 28-07-2008, 02:23 »

ลองมาดูศิลปะอินเดีย แล้วคงคิดได้ ขอมก็รับอิทธิพลมาจากอินเดียด้วย จำใส่กะโหลกไว้


* h2_1982_220_2.jpg (49.61 KB, 300x457 - ดู 904 ครั้ง.)
บันทึกการเข้า

หลับเถิดทหารกล้า ปวงประชาจะคุ้มครอง
Caocao
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 557



« ตอบ #13 เมื่อ: 28-07-2008, 02:26 »

ประวัติศาสตร์ศิลปะเขมร ศิลปะกรรมเขมรโบราณเป็นศิลปะที่เกี่ยวข้องกับศาสนาที่ได้รับอิทธิพลของอารยธรรมอินเดีย และได้มีพัฒนาการรูปแบบทางศิลปะของตนเอง นักประวัติศาสตร์ศิลปะได้ศึกษาศิลปะเขมรจากการจัดลำดับวิวัฒนาการของรูปแบบและลวดลาย ลักษณะทางสถาปัตยกรรมเปรียบเทียบกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ข้อความและศักราชจากศิลาจารึกที่ค้นพบ การกำหนดรูปแบบและอายุสมัยของศิลปะเขมร ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 3 สมัย และ 16 รูปแบบดังนี้คือ (ม.ร.ว.สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์, 2537 : 46-58)
 
สมัยก่อนเมืองพระนคร
          ช่วงระยะเวลาตั้งแต่อาณาจักรฟูนัน จนถึงอาณาจักรเจนละก่อนที่พระเจ้ายโศวรมันที่ 1 สถาปนาเมืองยโศธรปุระ หรือเมืองพระนครเป็นราชธานี
1. ศิลปะแบบพนมดา พ.ศ.1090-1150 เรียกชื่อจากเนินเขาทางตอนใต้ของประเทศกัมพูชาซึ่งเป็นที่ตั้งของเทวาลัย ในศาสนาพราหมณ์ลัทธิไวษณพนิกาย ค้นพบประติมากรรมของอาณาจักรฟูนัน แต่ไม่พบร่องรอยสถาปัตยกรรม
2. ศิลปะแบบถาลาบริวัต พ.ศ.1150 เรียกตามชื่อสถานที่ค้นพบทับหลังกลุ่มหนึ่งบริเวณริมแม่น้ำโขงทางภาคใต้ของประเทศลาว จากบริเวณที่มีแม่น้ำไหลวน (ตรงกับคำภาษาไทยว่า ธาราบริวัต) เนื่องจากลักษณะทับหลังแบบถาลาบริวัตมีลักษณะคล้ายศิลปะอินเดียแบบคุปตะและหลังคุปตะนักวิชาการจึงกำหนดอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 12
3. ศิลปะแบบสมโบร์ไพรกุก พ.ศ.1150-1200 เรียกชื่อตามกลุ่มโบราณสถานสมโบร์ไพรกุก หรือเมืองอีศานปุระ ราชธานีสมัยพระเจ้าอีศานวรมันที่ 1
4. ศิลปะแบบไพรกเมง พ.ศ.1185-1250 เรียกตามชื่อปราสาทไพรกเมง สมัยพระเจ้าภววรมันที่ 2
5. ศิลปะแบบกำพงพระ พ.ศ.1256-1350 นักวิชาการเรียกชื่อตามปราสาทกำพงพระ ศิลปกรรมสมัยนี้ปรากฏจากโบราณสถานกลุ่มร่อลั่วเป็นสำคัญ ช่วงเวลาดังกล่าวนี้เป็นระยะที่เจนละแตกออกเป็น 2 ส่วนคือ เจนละบกและเจนละน้ำ
 
 
สมัยเมืองพระนคร
นับช่วงตั้งแต่เมืองยโศธรปุระหรือเมืองพระนครเป็นราชธานีหลัก ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงสิ้นสุดเมืองพระนครหลวง หรือนครธรม (Angkor Thom) สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แต่อย่างไรก็ตามนักโบราณคดีฝรั่งเศสได้จัดให้ช่วงเริ่มต้นสมัยเมืองพระนครในสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ก่อนการสถาปนาเมืองพระนครเนื่องจากศิลปะเขมรมีวิวัฒนาการอย่างสืบเนื่องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
1. ศิลปะแบบกุเลน พ.ศ.1370-1420 ชื่อแบบศิลปะเรียกตามชื่อของภูเขาพนมกุเลนที่ตั้งของเทวาลัยสันนิษฐานว่า ศิลปะสมัยนี้คงสร้างตั้งแต่สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 จนถึงสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 3 ศาสนสถานที่สำคัญ เช่น ปราสาทไพร ปราสาทคำไรกาบและอื่น ๆ
2. ศิลปะแบบพะโค พ.ศ.1420-1436 เรียกตามชื่อปราสาทพะโค ซึ่งพระเจ้าอินทรวรมันที่ 1 สร้างขึ้นที่เมือง หริหราลัยหรือหมู่บ้านร่อลั่วในปัจจุบัน ปราสาทที่สำคัญ เช่น ปราสาทกอกโป ปราสาทพะโค ปราสาทบากอง ปราสาทโลเลย
3. ศิลปะแบบบาแค็ง ครึ่งหลัง พ.ศ.1436-พ.ศ.1470 นักวิชาการฝรั่งเศสเรียกตามชื่อปราสาทพนมบาแค็ง ตรงกับสมัยพระเจ้ายโศวรมันที่ 1 ซึ่งพระองค์ได้ประดิษฐานเทวราชในรูปศิวลึงค์ บริเวณกลางเมืองยโศธรปุระ ปราสาทสำคัญสมัยนี้มี ปราสาทพนมบาแค็ง ปราสาทพนมกรม ปราสาทกระวัน
4. ศิลปะแบบเกาะแกร์ พ.ศ.1464-1490 นักวิชาการเรียกตามชื่อปราสาทที่โฉกครรยาร์ ซึ่งสร้างโดยพระเจ้าชัยวรมันที่ 4 จากการย้ายราชธานีจากเมืองยโศธรปุระชั่วคราว ปัจจุบันคือ บริเวณหมู่บ้านเกาะแกร์ ปราสาทที่สำคัญได้แก่ ปราสาทธมที่เกาะแกร์ ปราสาทปักษีจำกรง โบราณสถานกลุ่มเกาะแกร์ คือ ปราสาทคำไร ปราสาาทจรัป ปราสาทเจน
5. ศิลปะแบบแปรรูป พ.ศ.1490-1510 กำหนดชื่อจากชื่อปราสาทแปรรูปสมัยพระเจ้าราเชนทรวรมัน ปราสาทที่สำคัญได้แก่ปราสาทแม่บุญตะวันออก ปราสาทแปรรูป ปราสาทเบงเวียน ปราสาทบัทชุม
6. ศิลปะแบบบันทายศรี (บัน-ทาย-สรี) พ.ศ.1510-1545 กำหนดชื่อตามปราสาทบันพายศรี ซึ่งได้ค้นพบจารึกที่สร้างขึ้นพร้อมกับปราสาท กำหนดปีศักราชในการสร้าง ศิลปกรรมสมัยนี้ตรงกับสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 มีปราสาทที่สำคัญ คือ ปราสาทบันพายศรี ปราสาทเสลา
7. ศิลปะแบบประตูพระราชวังหลวง พ.ศ.1550-1600 แต่เดิมเรียกศิลปะแบบเกลียง ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเรียกตามประตูพระราชวังหลวง ซึ่งมีเอกลักษณ์ของทับหลังที่อยู่ชั้นในและมีจำนวนมากกว่าปราสาทเกลียงและสามารถกำหนดรูปแบบของการศึกษาได้มากกว่าเดิม ศิลปะแบบประตูพระราชวังหลวงตรงกับสมัยของพระเจ้าชัยวีรวรมัน จนถึงสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1
8.      ศิลปะแบบบาปวน พ.ศ.1600-1650 เรียกตามชื่อปราสาทบาปวน ซึ่งสร้างขึ้นโดยพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 นักวิชาการฝรั่งเศสกำหนดเอาปราสาทบาปวนเป็นตัวแทนของศิลปกรรมของ พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 และพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 โดยเรียกศิลปะในช่วงนี้ว่า ศิลปะแบบบาปวน ปราสาทที่สำคัญคือ ปราสาทพนมจิสอร์ ปราสาทเขาพระวิหารส่วนที่สร้างต่อ ปราสาทบาปวน และอื่น ๆ
9. ศิลปะแบบนครวัด พ.ศ.1650-1752 เรียกตามชื่อของปราสาทนนครวัด ซึ่งสร้างขึ้นโดยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 นอกจากปราสาทนครวัด ยังมีปราสาทที่สำคัญร่วมสมัยเช่น ปราสาท เบงเมียเลีย ปราสาทป่าเลไลย์ ปราสาทบันบายสำเหร่ ปราสาทเสาภาพ รวมทั้งส่วนกลางของปราสาทพระขรรค์
10. ศิลปะแบบบายน พ.ศ.1724-1780 เรียกชื่อตามปราสาทบายนซึ่งสร้างขึ้นโดยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ที่ศูนย์กลางเมืองพระนครหลวง ปราสาทในศิลปะแบบบายนแบ่งออกเป็น 4 สมัย คือ
                สมัยที่ 1 ปราสาทตาพรหม พ.ศ.1729 ปราสาทบันทายยกเด็ย ปราสาทพระขรรค์
                สมัยที่ 2 ปราสาทพระขรรค์ส่วนที่สร้างเพิ่มเติม กำแพงชั้นนอกของปราสาทตาพรหม วิหาร อโรคยาศาลา และธรรมศาลา
                สมัยที่ 3 ปราสาทบายน และส่วนใหญ่ของปราสาทบันทายฉมาร์
                สมัยที่ 4 ภาพสลักนูนต่ำรุ่นหลัง และฐานพลับพลาหน้าพระราชวังหลวง

สมัยหลังเมืองพระนคร
          หลังจากศิลปะแบบบายน ศิลปะเขมรได้ขาดช่วงไป อาณาจักรเขมรได้ย้ายราชธานีจากเมืองพระนครหลวง ศิลปะสมัยหลังเมืองพระนคร จึงเริ่มต้นในพุทธศตวรรษที่ 20
1. ศิลปะแบบศรีสันธอร์ พ.ศ.1916 เป็นศิลปะที่ผสมผสามระหว่างแบบเขมรดั้งเดิมและศิลปะ-ไทยสมัยอยุธยา

ศิลปะเขมรในประเทศไทย
แต่เดิมนักวิชาการเรียกศิลปะที่ได้รับอิทธิพลเขมรในประเทศไทยว่า “ศิลปะสมัยลพบุรี” เนื่องจากเชื่อว่า ละโว้หรือลพบุรีเป็นเมืองสำคัญที่ได้รับอิทธิพลเขมรเข้ามาในประเทศไทยและเป็นศูนย์กลางที่มีความรุ่งเรืองตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 16 แต่จากการศึกษาในระยะต่อมาพบว่า โบราณวัตถุโบราณสถานในประเทศไทยโดยเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รับอิทธิพลเขมรตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 ก่อนสมัยลพบุรี และมีหลักฐานความเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมเขมรโบราณโดยตรง ศาสตราจารย์ ดร.ม.ร.ว.สุริยวุฒิ สุขสัวสดิ์ ได้ให้ความเห็นว่า เนื่องจากศิลปะที่ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมเขมรในประเทศไทยมีลักษณะสัมพันธ์ใกล้ชิดกับศิลปะเขมรจึงควรเรียกว่า “ศิลปะร่วมแบบเขมรในประเทศไทย”

ศาสตราจารย์ ดร.ม.ร.ว.สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์ กำหนดยุคสมัยของศิลปะแบบเขมรในประเทศไทยเป็นสองสมัยคือ สมัยก่อนราชวงศ์มหิธรปุระ ครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 12 ถึงครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 16 และสมัยราชวงศ์มหิธรปุระ ครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 17 ถึงครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 18 เหตุที่ใช้ราชวงศ์มหิธรปุระเป็นหลักเนื่องจากเป็นราชวงศ์ที่มีกำเนิดและครอบครองดินแดนไทยตั้งแต่ครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 17 อีกทั้งเป็นผู้สร้างและสร้างเสริมโบราณสถานที่สำคัญในประเทศไทยเช่น ปราสาทหินพิมาย ปราสาทพนมวัน และปราสาทพนมรุ้ง สำหรับศิลปะร่วมแบบเขมรในประเทศไทยแบ่งออกเป็นยุคสมัยดังนี้ คือ (ม.ร.ว.สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์,2537: 59-67)

สมัยก่อนราชวงศ์มหิธรปุระ
ระหว่างครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 12 ถึงครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 16
1. ศิลปะร่วมแบบพนมดา ครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 12 ไม่ปรากฏร่องรอยของศาสนสถาน แต่พบประติมากรรมในศาสนาฮินดูรุ่นแรกที่เมืองศรีเทพ อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
2. ศิลปะร่วมแบบถาลาบริวัต กลางครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 12 ลักษณะคล้ายคลึงกับศิลปะแบบถาลาปริวัตทางภาคใต้ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและประเทศกัมพูชา พบหลักฐานเฉพาะทับหลังจากวัดทองทั่ว และวัดบนเขาพลอยแหวน จังหวัดจันทบุรี
3. ศิลปะร่วมแบบสมโบร์ไพรกุก ครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 12 ศิลปะมีความละม้ายคล้ายคลึงแบบสมโบร์ไพรกุกในประเทศกัมพูชามาก หลักฐานที่สำคัญคือ ทับหลังที่วัดสุปัฎนาราม จังหวัดอุบลราชธานี ทับหลังจากปราสาทเขาน้อย ประติมากรรมรูปพระอุมาจากจังหวัดสระแก้ว รูปพระวิษณุจากจังหวัดปราจีนบุรี
4. ศิลปะร่วมแบบไพรกเมง ปลายพุทธศตวรรษที่ 12 ถึงครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 13 ศาสนสถานที่สำคัญได้แก่ ปราสาทภูมิโพน อำเภอสังขะจังหวัดสุรินทร์ ประติมากรรมที่สำคัญเช่น รูปพระคณปติจากปราสาทเขาพนมรุ้ง ภาพสลักบนใบเสมาบนภูพระอังคาร
5. ศิลปะร่วมแบบกำพงพระ ครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 13 ถึงกลางพุทธศควรรษที่ 14 ไม่ปรากฏร่องรอยของศาสนสถานแต่พบประติมากรรมสำริดจากอำเภอประโคนชัย ประติมากรรมจาก อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ ประติมากรรมจากบ้านโตนด อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา
6. ศิลปะร่วมแบบกุเลน ครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 14 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 15 ไม่พบสถาปัตยกรรม มีเพียงประติมากรรมเช่น รูปพระอรรถนารีศวร ซึ่งพบในจังหวัดอุบลราชธานี
7. ศิลปะร่วมแบบพะโค ครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 15 ปรากฏรูปแบบจากทับหลังที่ปราสาทอิฐ จากปราสาทพนมวัน ประติมากรรมรูปสิงห์ทวารบาล จากอำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์
8. ศิลปะร่วมแบบบาแค็ง กลางพุทธศตวรรษที่ 15 ปรากฏหลักฐานจากทับหลัง รูปครุฑวาหนะจากปราสาทอิฐของปราสาทพนมวัน จังหวัดนครราชสีมา ทับหลังรูปวิษณุอนันตศายิน จากปราสาทวัดศรีสวาย จังหวัดสุโขทัย
9. ศิลปะร่วมแบบเกาะแกร์ ครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 15 ศาสนสถานที่สำคัญคือ ปราสาทอิฐที่ปราสาทเขาพนมรุ้ง ปราสาทเมืองแขก และปราสาทโนนกู่ จังหวัดนครราชสีมา ปราสาทสังข์ศิลป์ชัย อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ประติมากรรมที่สำคัญ เช่น เทวรูปจากปราสาทอิฐปราสาทเขาพนมรุ้ง เทวรูปจากปราสาทเมืองแขกและปราสาทโนนกู่ จังหวัดนครราชสีมา 
10. ศิลปะร่วมแบบแปรรูป ปลายพุทธศตวรรษที่ 15 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 16 ศาสนสถานที่สำคัญได้แก่ ปรางค์แขก กลางเมืองลพบุรี ประติมากรรมที่สำคัญ คือ รูปพระพรหม จากปราสาทเขาพนมรุ้ง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์
11. ศิลปะร่วมแบบบันทายศรี ครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 16 ศาสนสถานร่วมสมัยที่สำคัญ คือ ปราสาทบ้านไหมไทยเจริญ อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ปรางค์พระโค อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา ประติมากรรมสำคัญได้แก่เศียรรูปบุรุษพบที่ปราสาทเขาพนมรุ้ง 12. ศิลปะร่วมแบบประตูพระราชวังหลวง ครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 16 ปรากฏหลักฐานทับหลังบางแผ่นของระเบียงคต และโคปุระของกำแพงปราสาทเมืองต่ำ โรงช้างเผือกที่ปราสาทเขาพนมรุ้ง อำเภอนางรองจังหวัดบุรีรัมย์ ส่วนประติมากรรมได้แก่ รูปพระวิษณุจากกู่น้อย อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม 

สมัยราชวงศ์มหิธรปุระ
ช่วงประมาณครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 17 ถึงครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 18
1. ศิลปะร่วมแบบบาปวน ครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 17 เริ่มตั้งแต่สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 6 สถาปนาราชวงศ์มหิธรปุระ มีปราสาทที่สำคัญหลายแห่งเช่น ปราสาทบ้านพลวง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทเมืองต่ำ อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ปราสาทสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ ปราสาทพนมวัน อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ปราสาทตาเมียนธม อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทสดกก็อกธม อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว
2. ศิลปะร่วมแบบนครวัด ครึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ 17 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 18 โบราณสถานร่วมสมัยศิลปะแบบนครวัดได้แก่ปรางค์องค์ใหญ่และปรางสองพี่น้อง เมืองศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ ปราสาทนารายณ์เจงเวง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ปราสาทประธานของปราสาทพิมาย ปราสาทประธานของปราสาทเขาพนมรุ้ง ปราสาทบ้านระแงง อำเภอศรีขรภูมิ ปราสาทยายเหงา อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ปราสสาทกู่สวนแตง อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ ปรางค์กู่จังหวัดศรีสะเกษ
3. ศิลปะร่วมแบบบายน พุทธศตวรรษที่ 18 หลักฐานสถาปัตยกรรมร่วมสมัยปลายแห่ง เช่น ปราสาทวัดพระพายหลวง ปราสาทวัดศรีสวาย เมืองเก่าสุโขทัย ปรางค์สามยอดอำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ปราสาทเมืองสิงห์ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ปรางค์พรหมทัตและปรางค์หินแดง บริเวณปราสาทหินพิมาย บรรณาลัยของปราสาทเขาพนมรุ้ง นอกจากนั้นยังมีโบราณสถานที่เรีกยว่า“ธรรมศาลา” เช่น ปราสาทหนองปล่อง อำเภอนางรอง กุฏิฤษี อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ปราสาทตาเมียน อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ส่วนอโรคยาศาลาพบเป็นจำนวนมาก เช่น กู่แก้ว กู่วัดประภาชัย อำเภอเมือง ขอนแก่น กู่แก้ว กิ่งอำเภอกู่แก้ว จังหวัดอุดรธานี กู่สันตรัตน์ อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม ปรางค์กู่ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด ปราสาทกำแพงน้อย ปราสาทบ้านสมอ จังหวัดศรีสะเกษ ปราสาทตาเมียนโตจ ปราสาทเฉนียง ปราสาทบ้านช่างปี ปราสาทจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทโคกปราสาท ปราสาทน้อย จังหวัดบุรีรัมย์ กู่พราหมณ์จำศีล ปรางค์บ้านพลสงคราม และปรางค์ครบุรี จังหวัดนครราชสีมาเป็นต้น

 


* deva009.jpg (57.25 KB, 230x300 - ดู 840 ครั้ง.)
บันทึกการเข้า

หลับเถิดทหารกล้า ปวงประชาจะคุ้มครอง
Caocao
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 557



« ตอบ #14 เมื่อ: 28-07-2008, 02:31 »

ลองดูศิลปะอินเดียที่มีอิทธิพลตะวันตก


* Buddha-Herakles.jpg (79.38 KB, 324x379 - ดู 672 ครั้ง.)
บันทึกการเข้า

หลับเถิดทหารกล้า ปวงประชาจะคุ้มครอง
Caocao
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 557



« ตอบ #15 เมื่อ: 28-07-2008, 02:40 »

สถาปัตยกรรมสมัยทวาราวดี
ได้มีการขุดค้นโบราณวัตถุที่จังหวัดนครปฐมและได้พบเห็นโบราณวัตถุเป็นจำนวนมาก ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะอินเดีย ที่สร้างขึ้นในพระพุทธศาสนาลัทธิหินยาน ส่วนใหญ่สถาปัตยกรรมในสมัยนี้พบเห็นในการก่อสร้างเจดีย์ นอกจากนั้น ยังขุดค้นพบโบราณวัตถุที่ ตำบลคูบัว จังหวัดราชบุรี นอกจากนั้นยังขุดค้นพบโบราณวัตถุที่ตำบลคูบัว จังหวัดราชบุรี ซึ่งเป็นโบราณวัตถุในสมัยเดียวกันกับที่ขุดค้นพบในจังหวัดนครปฐม
สถาปัตยกรรมสมัยนี้ ได้รับอิทธิพลจากพระสถูปเจดีย์เมืองสัญจิ ประเทศอินเดีย มีลักษณะเป็นรูปโอคว่ำ มีอาสน์บนยอดและมีฉัตร เช่น พระปฐมเจีดย์ จังหวัดนครปฐม เป็นต้น 


สถาปัตยกรรมศรีวิชัย
ได้รับอิทธิพลจากชวา เช่น จันทิปะวน โดยแพร่เข้ามาทางตอนใต้ของประเทศมาเลเซียและไทย ลักษณะขององค์เจดีย์ เป็นแปดเหลี่ยมย่อมุมและมีเจดีย์ทิศตั้งล้มอยู่และก่อด้วยอิฐชนิดไม่ถือปูน เช่น พระบรมธาตุเจดีย์ อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฏร์ธานี

 

 

สถาปัตยกรรมสมัยลพบุรี
ลักษณะของโบราณสถานสมัยนี้มีหลายลักษณะ ดังนี้
1. ปรางค์ บางแห่งทำเป็นปรางค์ 3 องค์เรียงกัน เรียกว่า ปรางค์ 3 องค์ตอนยอดของปรางค์องค์กลาง ตั้งพระพุทธรูปไว้ ส่วนยอดองค์ปรางค์ด้านข้างตั้งรูปพระโพธิสัตว์ไว้ เช่น ปรางค์สามยอด จังหวัดลพบุรี วัสดุในการก่อสร้างนิยมใช้ศิลาแลง หินทราย เช่น ปราสาทหินพิมาย อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ปราสาทหินพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ ปราสาทเมืองสิงห์ จังหวัดกาญจนบุรี ปราสาทหินพนมวัน จังหวัดนครราชสีมา ปราสาทหินวัดพระพายหลวง อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย เป็นต้น
2. ทำเป็นอุเทสิกเจดีย์ และดัดแปลงรูปเป็นทรงสูงมีเครื่องประดับ

 

 

สถาปัตยกรรมสมัยเชียงแสน
ลักษณะของโบราณสถานสมัยเชียงแสนนี้มีลักษณะโครงสร้างหลังคา และอาคารเป็นเอกลักษณ์ของไทยอย่างชัดเจน เช่น โครงสร้างของพระอุโบสถ พระวิหาร ส่วนสถูปเจดีย์ในสมัยนี้มีหลายแบบ และได้รับอิทธิพลจากหลายแหล่ง เช่น สถูปวัดเจดีย์ยอด จังหวัดเชียงใหม่ได้รับอิทธิพลจากพระสถูปพุทธคยา ประเทศอินเดีย และที่ตำบลต้นพระศรีมหาโพธิ์ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากพุทธเจดีย์แบบลังกาวงศ์
ส่วนลักษณะการก่อสร้างพระอุโบสถ และพระวิหารมีลักษณะที่สำคัญคือ หลังคาที่ซ้อนลดหลั่นกันลงมาเป็นชั้นๆ มีพญานาคหรือสิงห์ปูนปั้นที่เชิงบันใด ก่ออิฐตอนฐานและตัวอาคารบางตอนโครงสร้างเป็นไม้หน้าบัน แบบฝาปะกันมีลวดลายประดับ เช่น พระอุโบสถวัดพระแก้วราชวิหาร จังหวัดเชียงราย โครงสร้างของหลังคาสถาปัตยกรรมในสมัยนี้ ได้มีอิทธิพลต่อสถาปัตยกรรมคอนกรีตเสริมเหล็กในปัจจุบัน เช่น หลังคาพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร กรุงเทพมหานคร

 

 

สถาปัตยกรรมสมัยสุโขทัย
มีรูปร่างลักษณะมั่นคงแข็งแรง และมีขนาดใหญ่โต ซึ่งในสมัยนี้ได้มีการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมเป็นพิเศษ ทั้งนี้ เพราะอาณาจักรสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรือง และมีความสงบปลอดจากภัยสงคราม สถาปัตยกรรมสมัยนี้ส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อพระพุทธศาสนา เป็นลำดับ เช่น
พระเจดีย์แบบลังกา มีรูปลักษณะส่วนใหญ่เหมือนพระเจดีย์ที่สร้างขึ้นมตามลัทธิลังกาวงศ์ ประเทศลังกา เช่น พระเจดีย์ที่ยอดเขาสุวรรณคีรี เมืองศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
พระเจดีย์แบบลังกาผสมศรีวิชัย มีรูปลักษณะฐานเป็นเหลี่ยม บางแห่งมีคูหาตั้งพระพุทธรูป ตอนบนกลมและเหลี่ยม เช่น พระเจดีย์ราย วัดเจดีย์เจ็ดแถว จังหวัดสุโขทัย

 

 

พระเจดีย์สร้างเป็นทรงปรางค์ เป็นการสร้างตามแบบอย่างลพบุรี คือ เป็นปรางค์ แต่สัดส่วนแตกต่างไปจากเดิม คือ มีรูปทรงสูงชลูดขึ้น มีลวดลายเป็นปูนปั้น วัสดุที่ใช้เป็นอิฐ และศิลาแลง เช่น ปรางค์ที่วัดศรีสวาย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

 

สถาปัตยกรรมสมัยอยุธยา
มีการก่อสร้างสถาปัตยกรรม ตามสมัยต่างๆ ดังนี้
สมัยที่ 1 พุทธเจดีย์ ได้รับแบบอย่างมาจกแบบลพบุรีตอนปลายมีลักษณะ เป็นปรางค์แต่รูปทรงบอบบางกว่า เช่น วัดพุทไธศวรรย์ วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ และวัดพระราม
สมัยที่ 2 พุทธเจดีย์เป็นแบบสุโขทัย ที่สร้างขึ้นมาตามลัทธิลังกาวงศ์ เช่น พระมหาสถูป ที่วัดพระศรีสรรเพชญ มีรูปลักษณะเป็นสถูปแบบลังกาวงศ์
สมัยที่ 3 พุทธเจดีย์สร้างเป็นแบบลพบุรี เช่น พระปรางค์ที่วัดไชยวัฒนาราม นอกจากนี้ มีการสร้างพระเจดีย์ไม้สิบสอง
สมัยที่ 4 ยุคนี้ส่วนใหญ่บูรณะปฏิสังขรณ์วัดเก่าๆ ให้ดีขึ้น โดยรักษารูปแบบดั้งเดิมส่วนใหญ่ไว้

 

 

สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์
สถาปัตยกรรมทางศาสนาที่มีชื่อเสียงในสมัยนี้ คือ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดพระเชตุพน วัดสะเกศ ซึ่งสร้างในสมัยรัชกาลที่ 1 ในรัชกาลที่ 2 ทรงสร้างวัดสุทัศน์ วัดอรุณราชวราราม ในรัชกาลที่ 3 ทรงสร้างวัดราชประดิษฐ์ วัดมกุฏกษัตริยาราม วัดโสมนัสวิหาร เป็นต้น
การสร้างพระอุโบสถ และพระวิหารในตอนต้นเลียนแบบสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาเป็นต้น ว่ารูปทรงโครงสร้างของอาคาร รวมทั้ง เทคนิคการก่อสร้าง เช่น วัดพระเชตุพน
นอกจากนั้น พระอุโบสถบางแห่งได้รับอิทธิพลการก่อสร้างและตกแต่งแบบศิลปะจีน โดยหลังคาไม่มีช่อฟ้า ใบระกา ทางหงส์ และก่ออิฐเรียบฉาบปูนแล้ว ประดับกระเบื้อง หรือปูนปันเป็นลวดลาย เช่น พระอุโบสถวัดราชโอรส พระอุโบสถที่งดงามอีกแห่งหนึ่งได้แก่ พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร ซึ่งสมเด็จกรมพระยานริศานุวัตติวงศ์ทรงออกแบบ โดยมีรูปทรงสัดส่วนและการใช้วัสดุได้อย่างเหมาะสมยิ่ง โดยเฉพาะหลังคาพัฒนามาจากโครงสร้างหลังคาของพระอุโบสถสมัยเชียงแสน ซึ่งมีการลาดชันได้จังหวะอย่างงดงาม นับว่าเป็นสถาปัตยกรรมที่มีอิทธิพลต่อการออกแบบสถาปัตยกรรมในสมัยต่อมา


เอาข้อมูลมาเพิ่ม ไว้เป็นยันต์กันแถ อย่าลืมบอกพวกเขมร ถ้าจะเรียกร้องอะไรพล่อยๆ ก็มากราบตรีนอาบังแถวพาหุรัดบ้างนะ ในฐานะขี้ข้าอารยธรรม แล้วไม่ต้องแถมาให้คนไทยไปกราบตีนใคร เพราะปัจจุบันไทนมีเอกลักษณ์ของตัวเองเด่นชัด ส่วนเขมรยังติดอยู่กับอิทธิพลของอินเดียอยู่เช่นเดิม:slime_smile2:
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 28-07-2008, 02:53 โดย Caocao » บันทึกการเข้า

หลับเถิดทหารกล้า ปวงประชาจะคุ้มครอง
Caocao
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 557



« ตอบ #16 เมื่อ: 28-07-2008, 02:47 »

ภาพเทวสถานพระอาทิตย์ที่เมืองโกนารัก ประเทศอินเดีย พระเจ้านรสิงหเทพที่1(พ.ศ.1781-1807)สร้างอุทอศถวายระอาทิตย์

แถดูเอาเอง ส่วนข้อกล่าวหาเรื่องจอมพล ถ้าว่างจัดไปเอาข้อมูลมา อย่าแถดะ ถ้าจะแถดะ กลับไปไถดะอาจได้ประโยชน์กว่า


* sunplace.jpg (95.61 KB, 544x430 - ดู 790 ครั้ง.)
บันทึกการเข้า

หลับเถิดทหารกล้า ปวงประชาจะคุ้มครอง
Caocao
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 557



« ตอบ #17 เมื่อ: 28-07-2008, 02:59 »

อักษรขอม
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
   อักษรขอมพัฒนามาจากอักษรปัลลวะ และอักษรยุคหลังจากนั้นในอินเดียใต้ ใช้ในอาณาจักรต่างๆสองฝั่งแม่น้ำโขงตั้งแต่สมัยก่อนเมืองพระนคร ต่อมาจึงกลายเป็นอักษรท้องถิ่นในสมัยพระนคร และเป็นต้นแบบของอักษรไทยและอักษรเขมรในปัจจุบัน

เอกลักษณ์ของอักษรขอมคือเปลี่ยนบ่าอักษรของอักษรปัลลวะเป็นศกหรือหนามเตย อักษรนี้พัฒนาไป 2 ทิศทาง คือ เป็นอักษรขอมในประเทศไทย (ใช้เขียนภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาเขมร) และอักษรขอมในประเทศกัมพูชา (ใช้เขียนภาษาเขมร ภาษาบาลี)


[แก้] อักษรขอมในประเทศไทย
ในประเทศไทย อักษรขอมถือเป็นอักษรศักดิ์สิทธิ์ ใช้ในงานด้านศาสนาเป็นส่วนใหญ่ อักษรขอมที่ใช้เขียนภาษาบาลีเรียกอักษรขอมบาลี ส่วนที่ใช้เขียนภาษาไทยเรียกอักษรขอมไทย ซึ่งมีอักขรวิธีต่างจากอักษรขอมกลุ่มอื่นๆ ต่อมา อักษรขอมไทยถูกแทนที่ด้วยอักษรไทย ส่วนอักษรขอมบาลียังคงใช้เขียนภาษาบาลีเรื่อยมา แม้จะมีการพัฒนาอักษรไทยและอักษรอริยกะมาเขียนภาษาบาลีก็ตาม อักษรขอมบาลีถูกยกเลิกไปในสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม


[แก้] รูปแบบ
รูปแบบของอักษรขอมในประเทศไทยทั้งขอมไทยและขอมบาลี แบ่งได้เป็น 3 แบบ คือ

อักษรบรรจง เป็นรูปสี่เหลี่ยม ทรงมน ใช้เขียนคัมภีร์ทางศาสนา
อักษรตัวเกษียณ เป็นตัวเฉียงทแยง เอียงขวา ใช้บันทึกคำอธิบาย หรือเขียนหวัด
อักษรเฉียงขอมหรือเฉมเขม คล้ายอักษรเขมรแบบตัวเชรียง รูปสระและการประสมสระต่างไปจาก 2 แบบ ข้างต้น

[แก้] อ้างอิง
สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทย มาจากไหน กรงเทพฯ. มติชน. 2548


ถ้าการขยายอิทธิพลทางอารยธรรมเป็นเรื่องของหนีบุญคุณ คงต้องตามใช้กันไปเป็นทอดๆ จริงไหมเถือกน้อยคอยรัก
บันทึกการเข้า

หลับเถิดทหารกล้า ปวงประชาจะคุ้มครอง
Caocao
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 557



« ตอบ #18 เมื่อ: 28-07-2008, 03:02 »

ภาษาขอม ได้แก่ ภาษาโบราณที่ใช้สื่อสารกันในเขตภูมิภาคสุวรรณภูมิ ระหว่างกลุ่มชนชาวเขมร กับชาวไทย และกลุ่มชนอื่น ๆ ในอาณาบริเวณเดียวกัน
ปัจจุบันคงเหลือหลักฐานให้เห็นเพียงภาษาเขียน ซึ่งเรียกกันว่า อักษรขอม แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

 1. อักษรขอมบาลี
 2. อักษรขอมเขมร
 3. อักษรขอมไทย

 
ประวัติอักษรขอมกับภาษาบาลี
          การศึกษาบาลีในประเทศไทยตั้งแต่สมัยโบราณ พวกกุลบุตรต้องเริ่มต้นด้วยการเรียนอักษรขอมก่อน เพราะภาษาบาลีที่จารไว้ด้วยอักษรขอมผู้เริ่มเรียน
ต้องเรียนคัมภีร์มูลกัจจายน์ท่องสูตรมูล ซึ่งมีทั้งภาคมคธและพากย์ไทย ล้วนเป็นอักษรขอมทั้งนั้น ความเป็นมาของอักษรขอม ที่ใช้ในทางพระพุทธศาสนาเป็น
ประการไรนั้น เราจะศึกษาได้จากศิลาจารึกในสมัยสุโขทัย ซึ่งได้จารึกไว้เป็นอักษรขอมทั้งภาษาไทยและภาษาบาลีอักษรขอมที่จารลงในใบลานในสมัยกรุงศรีอยุธยา
และกรุงรัตนโกสินทร์ ถือกันว่าเป็นอักษรที่ศักดิ์สิทธิ์ ควรแก่การรับรองพระพุทธวจนะจึงเกิดความนิยมใช้อักษรขอมกันขึ้น แม้ในการเขียนเทศน์ก็เขียนเป็นอักษรขอม
วรรณคดีไทยหลายเรื่องเช่น มหาชาติคำหลวง มหาชาติ 13 กัณฑ์ และปฐมสมโพธิกถา เป็นต้น ก็ล้วนมีต้นฉบับเป็นอักษรขอมทั้งนั้น และที่สำคัญอีกประการหนึ่ง คือ
ตำราไสยศาสตร์ และเลขยันตร์ และคาถาอาคมเวทย์มนต์ ต่าง ๆ ที่คนไทยถือขลังมาแต่โบราณกาล เช่น ตำรามหาพิสัยสงคราม เป็นต้น ก็เขียนอักษรขอม และเขียน
คัดลอกสั่งสอนสืบต่อกันมาเป็นอักษรขอม จึงทำให้ชวนคิดไปว่า แต่เดิมมาไทยคงจะมีอักษรไทยใช้สองแบบคือ แบบอักษรไทย ที่ชาวบ้านใช้อย่างหนึ่งและแบบ
อักษรธรรมที่ใช้กันในวัดสำหรับการสอน การเรียน การบันทึกพระธรรม คำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างหนึ่งกล่าวให้ชัดก็คือ อักษรขอม ก็ได้แก่อักษรธรรม ซึ่งบันทึกพระพุทธวจนะ ได้แก่ พระไตรปิฎก อัฏฐกถา ฎีกา สัททาวิเศษ และปกรณ์ต่าง ๆ ในพระพุทธศาสนานั้นเองหาได้เป็นอักษรขอมของชนชาติขอม
ในอดีตไม่ และที่กล่าวกันมาว่า เมื่อชนชาติไทยมีอนุภาพเหนือกว่า ได้ครอบครองดินแดนนี้เป็นปึกแผ่นแล้วได้รับเอาวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาไว้ก็ได้สนใจ
ศึกษาอักษรขอมด้วย ใจศรัทธา เพื่อมุ่งความรู้ความเข้าใจในพระพุทธวจนะเป็นประการสำคัญ หาได้มีการเปลี่ยนแปลงตัวอักษรไปเป็นอย่างอื่นแต่ประการใดไม่
ข้อหลังนี้ก็จะหมดสงสัยไป โดยเหตุผลที่ว่า หนังสือขอมก็คือ หนังสือไทยอีกแบบหนึ่งของไทยนั่นเอง
            ในบางสมัย ประเทศไทยต้องต่อสู้ข้าศึกศัตรูป้องกันชาติบ้านเมืองอย่างเต็มที่ แต่เมื่อเสร็จสิ้นสงครามในระยะใด พระเจ้าแผ่นดินก็ทรงคิดเห็นว่าการทะนุบำรุง
พระพุทธศาสนาเป็นเรื่องสำคัญยิ่ง ทุกยุคทุกสมัยมาดังปรากฎชฏในพงศาวดารว่า เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงสถาปนากรุงเทพพระมหานคร
ขึ้นเป็นราชธานี ก็โปรดเกล้า ฯ ให้ชำระพระไตรปิฎกให้ถูกต้อง ทรงมีพระราชศรัทธาพระราชทานทรัพย์เป็นอันมากให้แสวงหาพระไตรปิฎก ลาวรามัญมาชำระ
แปลงออกเป็นหนังสือขอมแบบไทย สร้างขึ้นไว้ในตู้ ณ หอพระมณเฑียรธรรมและถวายพระสงฆ์เล่าเรียนทุกอารามและพระราชทานอุปถัมภ์ในการสังคายนา
พระไตรปิฎกอัฏฐกถา ฎีกา อนุฎีกา สัททาวิเสส ณ วัดมหาธาตุในพุทธศักราช 2331 เป็นครั้งแรกในกรุงรัตนโกสินทร์ การสังคายนาในครั้งนั้นได้แบ่งออกเป็น 4 กอง
คือ กองพระวินัย กองพระสูตร กองพระอภิธรรม (กองพระปรมัตถ์) กองสัททาวิเลส ใช้เวลาชำระ 5 เดือน จึงสำเร็จ พระไตรปิฎกที่สังคายนา ในครั้งนั้นเรียกว่า
พระไตรปิฎก ฉบับครูเดิม
           การศึกษาปริยัติธรรมในชั้นต้น ผู้ศึกษาประกอบด้วยศรัทธาที่จะหาความรู้ ในพุทธศาสนาเป็นที่ตั้งมิได้มุ่งการสอบไล่ได้เป็นสำคัญ เมื่อได้จัดให้มีการสอบ
ให้โอกาสนักเรียนได้แสดงความรู้ความสามารถ ในเบื้องต้น ก็ใช้วิธีสอบด้วยปาก อยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ซึ่งเรียกว่าสอบในสนามหลวงได้มีการตั้งกรรมการสอบ
เป็นคณะ มีกองกลาง กองเหนือ และกองใต้ สถานที่สอบคือวัดพระศรีรัตนศาสดารามบ้าง วัดสุทัศน์บ้าง ตามแต่จะได้กำหนดขึ้นการสอบด้วยวิธีแปลด้วยปากนี้
ได้ใช้หนังสือขอมใบลาน เป็นข้อสอบแปลต่อหน้าคณะกรรมการผู้เป็นพระเถรานุเถระบางคราวพระเจ้าแผ่นดินก็เสด็จไปฟังการสอบไล่พระภิกษุสามเณร เป็นการสอบ
หน้าพระที่นั่ง เมื่อนักเรียนเข้าแปล กรรมการเรียกเข้าแปล ทำการทักบ้าง กักบ้าง เป็นการทดสอบท่วงทีวาจา พิจารณาปฏิภาณ ไหวพริบ ไปในตัว การสอบแบบนี้
ไม่เกี่ยวกับอักษรไทยเลย ฉะนั้น พระภิกษุสามเณรผู้ศึกษาพระปริยัติธรรมจึงชำนาญในอักษรขอมแบบของไทยมากกว่าอักษรไทยปัจจุบัน
           ความที่อักษรขอมแบบไทยมีความเกี่ยวข้องกับวงการพุทธศาสนาในเมืองไทยเป็นอันมากดังกล่าวนี้ การศึกษาอักษรขอมแบบของไทยจึงมิใช่จะแพร่หลายอยู่แต่ในวัดเท่านั้น ในสมัยก่อนเจ้านายในพระบรมราชจักรีวงศ์ก็รอบรู้อักษรขอมแบบของไทยโดยมาก และมิใช่เจ้านายฝ่ายหน้าเท่านั้น แม้เจ้านายฝ่ายในก็สันทัดในอักษรขอมแบบของไทยเป็นอย่างดีเลิศด้วย ในการพระราชทานสมณศักดิ์แก่พระสงฆ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธย เป็นอักษรขอมแบบของไทยภาษามคธโดยถือเป็นพระราชประเพณี มาจนถึงรัชกาล ที่ 7 และในสมัยนั้น การอนุญาตให้พระราทานวิสุงคามสีมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ก็ทรงลงพระปรมาภิไธยเป็นอักษรขอมแบบไทย ด้วยทรงเห็นว่า เป็นกิจการพระพุทธศาสนา ก็ควรใช้ อักษรขอมเพราะเป็นอักษรธรรม การใช้อักษรไทยพิมพ์คัมภีร์พระพุทธศาสนาเพิ่งจะมีขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 นี้เอง เป็นการปฏิรูปทางพระพุทธศาสนาครั้งยิ่งใหญ่ปรากฏในพระราชปรารภตอนหนึ่งว่า           
           "อนึ่ง ในสยามรัฐมณฑลนี้ แต่เดิมได้เคยใช้อักษรขอมเป็นที่รองรับเนื้อความในพระพุทธศาสนา เมื่อจะกล่าวโดยที่แท้จริงแล้ว ตัวอักษรไม่เป็นประมาณ อักษรใด ๆ ก็ควรใช้ได้ทั้งสิ้นประเทศอื่นที่นับถือพระพุทธศาสนา คือ ลังกา พม่า ลาว เขมร เป็นต้น ก็สร้างพระไตรปิฎก ด้วยอักษรตามประเทศของตนทุก ๆ ประเทศ" ได้ทรงมีพระราชศรัทธาพิมพ์พระไตรปิฎกเล่มสมุดไทยขึ้นเป็นครั้งแรก และยังได้ชักชวนพระบรมวงศานุวงศ์ให้เจริญพระราชศรัทธาพิมพ์อัฏฐากถา เป็นอักษรไทย หลักสูตรแบบเรียน พระปริยัติธรรมแผนกบาลี ก็พิมพ์เป็นอักษรไทยแพร่หลายยิ่ง ต่อมาสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิญาณวโรรส ทรงเปลี่ยนวิธีการสอบด้วยปากเป็นการสอบด้วยวิธีการเขียนโดยหนังสือไทย ซึ่งเป็นหลักสูตรมาจนทุกวันนี้ อักษรขอมแบบของไทยจึงดูหมดความจำเป็นไป แต่ความจริงแล้วหาเป็นเช่นนั้นไม่ เพราะ
พระคัมภีร์พระพุทธศานาชั้น อัฏฐกถา ก็ยังพิมพ์เป็นอักษรไทยไม่หมด ชั้นฎีกา อนุฎีกา สัททาวิเสส และปกรณ์ต่าง ๆ ก็ยังอยู่ในรูปเป็นอักษรขอมแบบของไทยทั้งนั้น
ซึ่งยังมีปริมาณมากกว่าที่ได้พิมพ์เป็นอักษรไทย ปัจจุบันแล้วหลายเท่านัก ในชั้นเดิม พระภิกษุสามเณรยังพอรู้อักษรขอมแบบไทยอยู่ แต่ชั้นหลังต่อมา หาผู้รู้อักษรขอมแบบของไทย ได้ยาก ดังนั้น ด้วยเกรงนักเรียนจะหนังสือขอมแบบของไทยไม่ออก ทางสนามหลวงแผนกบาลี จึงได้จัดวิชาอักษรขอมแบบของไทยเป็นหลักสูตรการสอบเปรียญ 4 ประโยค ตั้งแต่ปี พุทธศักราช 2461 เป็นต้นมา และการสอบเปรียญ 6 ประโยค ถึง 9 ประโยค ก็ให้มีการเขียน อักษรขอมแบบของไทย หวัดในวิชาแปล
ภาษาไทย เป็นภาษามคธ (บาลี) เพิ่งจะยกเลิกเสียสิ้นเชิง เมื่อปีพุทธศักราช 2490 โดยประกาศขององค์การศึกษา เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พุทธศักราช 2488
ตอนหนึ่งว่า             
           "ด้วยการสอบบาลีประโยค ป.ธ. 4 มีการสอบอ่านและเขียนอักษรขอมเป็นบุรพาภาคอยู่ทั้งนี้ ความประสงค์ก็เพื่อให้อ่านและเขียนอักษรขอมได้เป็นประโยชน์ในการที่จะค้นอัฏฐกถาและฎีกาที่ยังถ่ายทอดเป็นอักษรไทยไม่หมด แต่การสอบอย่างนี้ เป็นเพียงการสอบเขีนหนังสือไม่เป็นข้อสำคัญนัก ถ้านักเรียนมีความสนใจอยู่ แม้ไม่สอบก็คงอ่านเขียนได้ ฉะนั้น จึงเห็นสมควรให้ยกเลิกเสีย" (ประกาศฉบับนี้นับว่าทำไปโดยรู้เท่าไม่ถึงกาล เป็นการทำลายมรดกของไทยไปชิ้นหนึ่ง)
            เมื่อได้ยกเลิกหลักสูตรอักษรขอมแบบของไทยเสียแล้ว เวลาล่วงมาได้ 20 ปี เศษ นักเรียนบาลีในปัจจุบันก็หมดความจำเป็นในอันที่จะสนใจต่อคัมภีร์อักษรขอมแบบของไทย ผู้ที่สนใจในเวลานี้ก็คงมีอยู่บ้าง แต่มักเป็นชาวต่างประเทศที่ได้ศึกษาภาษาบาลีมา มีความประสงค์จะค้นคว้าเทียบเคียงกับปกรณ์ที่มีอยู่ในเมืองไทย ขอให้กรมศิลปากรถ่ายไมโครฟิล์มส่งไปให้ เป็นที่น่าสังเกตอีกอย่างหนึ่งว่า ตำรับตำราพระพุทธศาสนาของเมืองไทยเราเคยมีบริบูรณ์เสมอกับนานาประเทศเพื่อนบ้านที่นับถือพระพุทธศาสนาด้วยกัน เพราะบรรพบุรุษของเราได้อุตส่าห์สั่งสมเป็นมรดกไว้ให้แต่โบราณกาล แต่เวลานี้ เพราะเราขาดการดำเนินงานติดต่อกัน เมื่อเทียบเคียงกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น พม่า ซึ่งขวนขวายทำฉัฎฐสังคีติได้สำเร็จอย่างน่าอนุโมทนาแล้ว เรากลับมีคัมภีร์ชั้น 1 อัฏฐกถาของเรายังถ่ายเป็นอักษรไทยไม่หมด คัมภีร์ฎีกาซึ่งเรามีเป็นร้อย ๆ คัมภีร์เราถ่ายเป็นอักษรไทยเพียง 3 คัมภีร์เท่านั้น อนุฎีกาก็เช่นเดียวกันก็มีเป็นหลายร้อยคัมภีร์ล้วนเป็นอักษรของอักษรไทยแท้ ๆ ยังไม่ได้พิมพ์เลย สัททาวิเลสซึ่งเป็นหนังสือ ประเภทไวยากรณ์ก็มีเป็นร้อย ๆ คัมภีร์ เราถ่ายเป็นอักษรไทยได้เพียง 2 คัมภีร์ เท่านั้น และปกรณ์พิเศษอื่น ๆ อีกก็เช่นกัน จึงนับว่าเรายังขาดอุปกรณ์การศึกษาภาษาบาลีชั้นสูงเท่าที่ควร 

 
ประวัติอักษรขอมไทยกับขอมกัมพูชา
           หนังสือบางเล่มมักจะใช้คำว่า อักษรขอมแบบของไทย เพราะได้พบหลักฐานชื้นหนึ่งที่ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ ได้กล่าวถึงไว้ ในหนังสือ "ตำนานอักษรไทยของท่าน" ซึ่งทำให้วิเคราะห์ได้ว่า อักษรขอมนั้น แท้จริงก็คืออักษรแขก หรืออักษรอินเดียใต้ เมื่อชาวอินเดียใต้เป็นผู้นำพุทธศาสนามาเผยแพร่นั้นก็ได้นำหนังสือของตน หรือหนังสือ (อักษร) ปัลลวะของอินเดียใต้มาเผยแพร่ด้วย ดังนั้น หนังสือเหล่านี้จึงปรากฎว่ามีทั่วไปทั้งในกัมพูชาในชวา และสุมาตรารวมทั้งในสยามประเทศด้วย (รวม พ.ศ. 1100 - 1600) เมื่อ ประเทศต่าง ๆ เหล่านี้รับวัฒนธรรมตลอดกระทั่งศาสนาของชาติอินเดียมาปรับปรุงใช้ในประเทศของตน ประเทศเหล่านี้ซึ่งยังไม่มีหนังสือของตนใช้มาก่อน จึงยินดีรับหนังสืออินเดียใต้มาใช้เป็นหนังสือของชาติตนด้วย แต่ครั้นกาลล่วงมานานความนิยมในการเขียนการใช้และความคล่องหรือคุ้นเคยในการเขียนอักษรอินเดียของแต่ละท้องถิ่นย่อมแตกต่างกันไปเป็นธรรมดา และก็ได้เกิดเป็นประจักษ์พยานให้เห็นว่า อักษรขอมที่กัมพูชาใช้เขียนนั้น แตกต่างกับอักษรขอมที่สยามเขียนส่วนจะต่างกันอย่างไรนั้นผู้ศึกษาจงใช้ข้อสังเกตอ่านเอาจากข้อเขียนของศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ ในหนังสือตำนานอักษรไทยของท่านตอนหนึ่งว่า
        "ในสยามประเทศนี้พวกสัตบุรุษเคยได้ใช้ตัวอักษรขอมชนิดนี้ (หมายเหตุท่านคงหมายถึงชนิดที่ไทยใช้) ตั้งแต่ครั้งเมื่อสุโขทัยเป็นราชธานีมีตัวอย่างในศิราจารึก
วัดป่ามะม่วงภาษามคธเป็นคาถาซึ่งมหาสามีสังฆราช (สังฆราชของประเทศลังกา ซึ่งเดินทางเข้ามาประเทศไทยเพื่อเผยแพร่ลัทธิลังกาวงศ์หรือลัทธิเถรวาท) ได้แต่งสรรเสริญพระเกียรติยศของพระยาลือไทย (พระธรรมราชาที่ 1) เวลาเสด็จออกทรงผนวช เมื่อ พ.ศ 1905 (ประชุมศิลาจารึกหลักที่ 4) ตัวอักษรในศิลาจารึกนั้น
หาเป็นชนิดเดียวกันกับตัวอักษรขอมในศิลาจารึกภาษามคธของพระมหาสามีสังฆราชไม่ ตัวอักษรในศิลาจารึกภาษาเขมรเหมือนกับตัวอักษรจารึกกรุงกัมพูชา เมื่อราว
พ.ศ. 1800 ยังไม่ได้เปลี่ยนรูปสัณฐาน เป็นอักษรขอมที่เขียนหนังสือธรรม เหตุที่ในแผ่นดินพระยาลือไทธรรมราชา มีอักษรขอมใช้ทั่วไปชนิดนี้ อาจเป็นเช่นนี้คือ
ศิลาจารึกภาษาเขมรเขียนตามแบบเก่าของเขาแต่ศิลาจารึกภาษามคธนั้นเป็นฝีมือคนไทยเขียน หลักฐานชิ้นนี้ น่าจะสันนิษฐานว่า ชนชาติขอมโบราณคงศึกษาลอกแบบอักษรจากอินเดียมาใช้ของตนแบบหนึ่ง ชาติไทยโบราณก็ได้ศึกษาลอกแบบอักษรจากอินเดียมาใช้ของตนแบบหนึ่งเช่นกัน เรียกว่า ต่างคนต่างลอกมาใช้ในภาษาของตน ต่างคนต่างปรับปรุง และลอกคัดตามความเหมาะสมและรสนิยมของชาติตน ยิ่งเวลาล่วงเลยมานานเข้าก็ยิ่งแตกต่างกันมากขึ้น อย่างเห็นได้ชัด แม้ว่าอักษรนั้น ดั้งเดิมจะมีที่มาจากแหล่งเดียวกันก็คือ อินเดียก็ตาม ฉะนั้น จึงไม่อาจสันนิษฐานได้ว่าไทยเอาอย่างจากขอมหรือขอมเอาอย่างจากไทย เพราะหลักฐาน ก็แจ้งจัดอยู่ในศิราจารึกแล้วว่าต่างกันอย่างไร หาใช่ต่างกันเพราะลายมือ ชาตินั้น ชาตินี้เขียนไม่ เช่นเดียวกับอักษรโรมัน ที่ชาติโรมันนำไปเผยแพร่ในทวีปยุโรปชาติต่าง ๆ มีเช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ฯลฯ ก็ล้วนแต่ใช้อักษรโรมัน เขียน ภาษาของตนทั้งสิ้นไม่เห็นมีใครเคยอ้างว่า อังกฤษเอาอย่างฝรั่งเศส หรือฝรั่งเศสเอาอย่างอักษรเยอรมัน

 
3. อักษรขอมไทย
           สรุปตามเอกสารโบราณต่าง ๆ ที่ได้พบในประเทศไทยแล้ว โดยจำเพาะในภาคกลางของประเทศไทย นอกจากพบบันทึกด้วยอักษรไทย หรืออักษรขอมของชนชาติไทย ยังพบบันทึกด้วยอักษรอื่นอีกนั่นคืออักษรขอม โดยเหตุที่คนไทยทางภาคกลาง ได้นำเอาอักษรขอมมาบันทึกเป็นภาษาไทยในเรื่องราวเกี่ยวกับพุทธศาสนา สำหรับคนไทยอ่าน จึงให้ชื่ออักษรชนิดนี้ว่า อักษรขอมไทย
       คนไทยภาคกลางเริ่มใช้อักษรขอมบันทึกเรื่องราวครั้งแรกเมื่อปีพุทธศักราช 1905 เป็นภาษาเขมรและภาษาบาลี ดังที่ปรากฎ ในศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง คือ
ศิลาจารึกกรุงสุโขทัย หลักที่ 4 และหลักที่ 6 ส่วนการบันทึก เป็นภาษาไทยพบหลักฐานเก่าที่สุด คือ ศิลาจารึกวัดป่าแดงหรือจารึกกรุงสุโขทัยหลักที่ 9 ซึ่งจารึกขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช 1949 นับตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยเป็นต้นมา การใช้อักษรขอมเผื่อการบันทึก เป็นที่นิยมมากเท่ากับการบันทึกด้วยอักษรไทย ดังได้พบเห็นอยู่เสมอในเอกสารไทยโบราณ แม้กระทั่งทุกวันนี้ การใช้อักษรขอมก็ยังไม่ได้ยกเลิกใช้ไปโดยเด็ดขาด ดังนั้น เมื่อมีการลงคาถาอาคมก็ดี การลงเลขยันต์เพื่อความศักดิ์สิทธิ์ก็ดี ยังนิยมลงด้วยอักษรขอมบรรจงอยู่ โดยเหตุที่ปัจจุบันมีเอกสารที่มีค่าต่าง ๆ ที่จารึกด้วยอักษรขอมไทยมีอยู่ตามวัดตามอารามต่าง ๆ รวมทั้งที่หอสมุดแห่งชาติ มีจำนวนมากมาย เพราะฉะนั้นการศึกษาอักษรขอมไทยจะช่วยให้ผู้ศึกษาสามารถอ่าน และปริวรรตเอกสารที่มีค่าเหล่านั้นเป็นภาษาไทยปัจจุบัน ก็จะเป็นประโยชน์แต่อนุชนคนไทย ได้มีโอกาสศึกษาค้นคว้าต่อไป.

 
บันทึกการเข้า

หลับเถิดทหารกล้า ปวงประชาจะคุ้มครอง
เพื่อนร่วมชาติ
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 777


« ตอบ #19 เมื่อ: 28-07-2008, 07:33 »

ไอ้แก๊ซไข่เน่านี่โคร่ดไร้สาระเลยว่ะ จดหมายจากผู้อ่านฉบับเดียวมันก็ถือเป็นหลักฐานได้แล้ว

เป็นสาวกศาสดาหน้าเหลี่ยมอย่าโชว์เกรียนบ่อยเดะ มันเสียถึงนายใหญ่นายหญิงรู้รึเปล่า

อ่อนชิบ
บันทึกการเข้า
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,406



« ตอบ #20 เมื่อ: 28-07-2008, 08:36 »

^
^
อะไรกันไม่รู้จัก ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา โห
บันทึกการเข้า
เพื่อนร่วมชาติ
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 777


« ตอบ #21 เมื่อ: 28-07-2008, 08:50 »

^
^
อะไรกันไม่รู้จัก ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา โห

จะเป็นศิลปินแห่งชาติหรืออะไร ข้อเขียนนี้ก็อยู่ในฐานะจดหมายจากผู้อ่านจริงมั้ย

แล้วเรื่องที่เขียนน่ะ ผู้เขียนรู้จริง มีหลักฐานยืนยันรึเปล่า

ผู้อ่านคนนี้อาจรู้เรื่องสถาปัตยกรรม แต่ประเด็นที่เอ็งทำตัวแดงน่ะ เป็นเรื่องประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ผู้อ่านคนนี้รู้จริงและมีหลักฐานยืนยันรึเปล่า

เอ็งมีเจตนาจะพาดพิงถึงใครก็ให้มันแมน ๆ หน่อย อย่าปล่อยให้ทอมอย่างนังดากล้าหาญเกินหน้าเอ็งสิวะ
บันทึกการเข้า
เพื่อนร่วมชาติ
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 777


« ตอบ #22 เมื่อ: 28-07-2008, 09:11 »

อีกอย่างหัวกระทู้ของเอ็งบิดเบือนว่ะ

ข้อความที่เอ็งเอามาเทิดทูนเขาบอกว่า

2. After the Court's deliberation, Field Marshal Sarit refused to cede the temple to Cambodia. A higher authority called him in to say that the country is bound by the said verdict and there the matter rested.

เขาใช้คำว่า the temple แปลว่าปราสาทว่ะ ไม่ใช่ภูเขา

แต่ก็เข้าใจหัวอกเอ็งว่ะ ศาสดาหน้าเหลี่ยมของเอ็งก็ชอบบิดเบือน เอ็งเป็นสาวก เป็นขี้ข้าเขา เอ็งก็ต้องบิดเบือนเหมือนเขาเป็นธรรมดา
บันทึกการเข้า
Caocao
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 557



« ตอบ #23 เมื่อ: 28-07-2008, 09:22 »

^
^
อะไรกันไม่รู้จัก ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา โห

แค่ประโยคนี้เห็นชาติแล้ว ใครจะเขียนอะไร อย่างไร มันไม่สำคัญเท่าประเด็นที่เขียน ว่าเป็นอย่าไร เพราะอะไร ทำไมถึงเป็นเช่นไร ข้อเขียนพยายามบอกอะไร ต้องการสิ่งใด และที่สำคัญ เป็นเป็นจริงไหม

ลำพังถ้าจะแถเพียงแค่หยิบยกชื่อ ยศ บารมี ประวัติ แล้วสามารถกล่าวอ้างได้ว่าสิ่งนั้นถูก ดี เป็นจริง ประเทศนี้มันคงเต็มไปด้วยพวกกินหญ้า เพราะถ้าไอ้แม้วมันบอกว่า หนูไม่ผิด หนูโดนปรักปรำ อย่างมรึงก็คงเชื่อได้สนิทใจ เถียกเอ๋ย
บันทึกการเข้า

หลับเถิดทหารกล้า ปวงประชาจะคุ้มครอง
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,406



« ตอบ #24 เมื่อ: 28-07-2008, 09:47 »

จะเป็นศิลปินแห่งชาติหรืออะไร ข้อเขียนนี้ก็อยู่ในฐานะจดหมายจากผู้อ่านจริงมั้ย

แล้วเรื่องที่เขียนน่ะ ผู้เขียนรู้จริง มีหลักฐานยืนยันรึเปล่า

ผู้อ่านคนนี้อาจรู้เรื่องสถาปัตยกรรม แต่ประเด็นที่เอ็งทำตัวแดงน่ะ เป็นเรื่องประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ผู้อ่านคนนี้รู้จริงและมีหลักฐานยืนยันรึเปล่า

เอ็งมีเจตนาจะพาดพิงถึงใครก็ให้มันแมน ๆ หน่อย อย่าปล่อยให้ทอมอย่างนังดากล้าหาญเกินหน้าเอ็งสิวะ

รีบ search google หาใหญ่เลย เจ็บสีข้างมั้ยนั่น
บันทึกการเข้า
เพื่อนร่วมชาติ
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 777


« ตอบ #25 เมื่อ: 28-07-2008, 10:33 »

รีบ search google หาใหญ่เลย เจ็บสีข้างมั้ยนั่น

ไร้สาระว่ะ ประเด็นคือเอ็งบิดเบือนตั้งแต่หัวกระทู้ แถม ดร. สุเมธที่อยู่ ๆ เอ็งก็เทิดทูนบูชาขึ้นมากะทันหัน ก็ไม่เห็นแสดงหลักฐานที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับข้อ 2 ที่เอ็งกระเฮี่ยนกระหือรืออยากจะโยงให้เข้าประเด็นที่บิดเบือนของเอ็ง เอางี้ จะถามง่าย ๆ ให้เอ็งตอบ

1. เอ็งยืนยันมั้ยว่า หัวกระทู้เอ็ง "มีคนสั่งสฤษดิ์ให้มอบเขาพระวิหารให้เขมรตามศาลโลกตัดสิน" เป็นความจริง?
2. ใครคือคนที่สั่งสฤษดิ์?
3. สั่งสฤษดิ์ได้รับคำสั่งว่าอย่างไร? สั่งให้ทำตามคำตัดสินของศาลโลกเรื่อง "ปราสาท" หรือสั่งให้มอบ "ภูเขา" อย่างที่เอ็งว่า?
4. อะไรคือเอกสารหลักฐานยืนยันเรื่องทั้งหมดนี้? (นอกเหนือจากจดหมายที่ ดร. สุเมธของเอ็งส่งไปเล่าให้หนังสือพิมพ์)

ง่าย ๆ สี่ข้อ ไม่ซับซ้อน ตอบให้ได้ก่อน ค่อยแถไปเรื่องอื่น
บันทึกการเข้า
meriwa
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1,100



เว็บไซต์
« ตอบ #26 เมื่อ: 28-07-2008, 10:34 »

เป็นควายดีๆ ไม่ชอบ อยากจะเป็นเหี้..ย อีกซะงั้น
บันทึกการเข้า

ผู้ปกครองระดับธรรมดา   ใช้ความสามารถของตน    อย่างเต็มที่
ผู้ปกครองระดับกลาง       ใช้กำลังของคนอื่น             อย่างเต็มที่
ผู้ปกครองระดับสูง           ใช้ปัญญาของคนอื่น           อย่างเต็มที่

                                                                  ...คำคมขงเบ้ง
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,406



« ตอบ #27 เมื่อ: 28-07-2008, 11:06 »

ไร้สาระว่ะ ประเด็นคือเอ็งบิดเบือนตั้งแต่หัวกระทู้ แถม ดร. สุเมธที่อยู่ ๆ เอ็งก็เทิดทูนบูชาขึ้นมากะทันหัน ก็ไม่เห็นแสดงหลักฐานที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับข้อ 2 ที่เอ็งกระเฮี่ยนกระหือรืออยากจะโยงให้เข้าประเด็นที่บิดเบือนของเอ็ง เอางี้ จะถามง่าย ๆ ให้เอ็งตอบ

1. เอ็งยืนยันมั้ยว่า หัวกระทู้เอ็ง "มีคนสั่งสฤษดิ์ให้มอบเขาพระวิหารให้เขมรตามศาลโลกตัดสิน" เป็นความจริง?
2. ใครคือคนที่สั่งสฤษดิ์?
3. สั่งสฤษดิ์ได้รับคำสั่งว่าอย่างไร? สั่งให้ทำตามคำตัดสินของศาลโลกเรื่อง "ปราสาท" หรือสั่งให้มอบ "ภูเขา" อย่างที่เอ็งว่า?
4. อะไรคือเอกสารหลักฐานยืนยันเรื่องทั้งหมดนี้? (นอกเหนือจากจดหมายที่ ดร. สุเมธของเอ็งส่งไปเล่าให้หนังสือพิมพ์)

ง่าย ๆ สี่ข้อ ไม่ซับซ้อน ตอบให้ได้ก่อน ค่อยแถไปเรื่องอื่น

ไม่เอาน่า ไม่รู้จัก ดร.สุเมธ ก็ไม่ใช่ความผิดระดับโลกหรอก ไม่รู้จักก็บอกไม่รู้จักดิ คนอื่นเค้าหัวเราะเยาะแป๊บเดียวก็ลืม
ไหลไปเรื่องภูเขาปราสาทแดรกอะไรบ้าไปแล้ว 
บันทึกการเข้า
เพื่อนร่วมชาติ
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 777


« ตอบ #28 เมื่อ: 28-07-2008, 11:18 »


อ้างถึง
ไร้สาระว่ะ ประเด็นคือเอ็งบิดเบือนตั้งแต่หัวกระทู้ แถม ดร. สุเมธที่อยู่ ๆ เอ็งก็เทิดทูนบูชาขึ้นมากะทันหัน ก็ไม่เห็นแสดงหลักฐานที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับข้อ 2 ที่เอ็งกระเฮี่ยนกระหือรืออยากจะโยงให้เข้าประเด็นที่บิดเบือนของเอ็ง เอางี้ จะถามง่าย ๆ ให้เอ็งตอบ

1. เอ็งยืนยันมั้ยว่า หัวกระทู้เอ็ง "มีคนสั่งสฤษดิ์ให้มอบเขาพระวิหารให้เขมรตามศาลโลกตัดสิน" เป็นความจริง?
2. ใครคือคนที่สั่งสฤษดิ์?
3. สั่งสฤษดิ์ได้รับคำสั่งว่าอย่างไร? สั่งให้ทำตามคำตัดสินของศาลโลกเรื่อง "ปราสาท" หรือสั่งให้มอบ "ภูเขา" อย่างที่เอ็งว่า?
4. อะไรคือเอกสารหลักฐานยืนยันเรื่องทั้งหมดนี้? (นอกเหนือจากจดหมายที่ ดร. สุเมธของเอ็งส่งไปเล่าให้หนังสือพิมพ์)

ง่าย ๆ สี่ข้อ ไม่ซับซ้อน ตอบให้ได้ก่อน ค่อยแถไปเรื่องอื่น

ไม่เอาน่า ไม่รู้จัก ดร.สุเมธ ก็ไม่ใช่ความผิดระดับโลกหรอก ไม่รู้จักก็บอกไม่รู้จักดิ คนอื่นเค้าหัวเราะเยาะแป๊บเดียวก็ลืม
ไหลไปเรื่องภูเขาปราสาทแดรกอะไรบ้าไปแล้ว 

สรุปว่าถามง่าย ๆ เอ็งก็ยังตอบไม่ได้ ทั้ง ๆ ที่ถามในประเด็นที่เป็นกระทู้ของเอ็งแท้ ๆ

ไปติดใจประเด็นรู้จักไม่รู้จัก ดร. สุเมธ ชุมสาย ถ้ากรูไม่รู้จักแล้วไงล่ะ มันทำให้เนื้อหาสาระของเรื่องนี้เปลี่ยนไปตรงไหน หรือที่กรูพูดมามันผิดตรงไหน

หรือนอกจากเป็นสถาปนิก เป็นศิลปินแห่งชาติ ดร. สุเมธ ยังเป็นผู้ทรงความรู้เรื่องประวัติศาสตร์สมัยจอมพลสฤษดิ์พ่วงอีกตำแหน่งนึง?? จนถึงกับว่าถ้า ดร. สุเมธพูดอะไรเกี่ยวกับสมัยจอมพลสฤษดิ์ ทุกคนก็ต้องเชื่อตามนั้น เอ็งจะยืนยันอย่างนี้รึไง

เอ็งมันน่าอายว่ะ กรูเป็นศาสดาหน้าเหลี่ยมกรูคงเลิกจ้างเอ็งแล้ว
บันทึกการเข้า
เพื่อนร่วมชาติ
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 777


« ตอบ #29 เมื่อ: 28-07-2008, 11:21 »

..............................
บันทึกการเข้า
sanskritshower
ขาประจำ
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 245



« ตอบ #30 เมื่อ: 28-07-2008, 15:26 »

มารอชอบแถตอบเหมือนกัน
บันทึกการเข้า
Unread
สมาชิกสามัญขั้นที่ 2
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 83


« ตอบ #31 เมื่อ: 28-07-2008, 17:06 »

โถ ไอ้ แก๊ส  คุณมีความรู้ดี ภูมิความ ok ผมขอยอมรับ รู้จัก ปูชนียบุคคล หลากหลาย  แต่ เสียอย่างเดียว ความคิดมึงไม่สร้างสรรค์วะ  ไอ้ขายชาติ
บันทึกการเข้า
meriwa
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1,100



เว็บไซต์
« ตอบ #32 เมื่อ: 28-07-2008, 19:50 »

โถ ไอ้ แก๊ส  คุณมีความรู้ดี ภูมิความ ok ผมขอยอมรับ รู้จัก ปูชนียบุคคล หลากหลาย  แต่ เสียอย่างเดียว ความคิดมึงไม่สร้างสรรค์วะ  ไอ้ขายชาติ

ตัดแปะแบบนี้ยังจะเรียกว่ามีความคิดอีกหรอ (ถึงจะไม่สร้างสรรค์ก็เถอะ) ยกยอกันเกินไปแล้วม้าง 
บันทึกการเข้า

ผู้ปกครองระดับธรรมดา   ใช้ความสามารถของตน    อย่างเต็มที่
ผู้ปกครองระดับกลาง       ใช้กำลังของคนอื่น             อย่างเต็มที่
ผู้ปกครองระดับสูง           ใช้ปัญญาของคนอื่น           อย่างเต็มที่

                                                                  ...คำคมขงเบ้ง
หน้า: [1]
    กระโดดไป: