ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
25-04-2024, 09:28
378,182 กระทู้ ใน 21,926 หัวข้อ โดย 9,412 สมาชิก
สมาชิกล่าสุด: MAN4U
ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด (รุ่นแรก)  |  ทั่วไป  |  สภากาแฟ  |  เชิญ download หนังสือ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ – อย่าปิดแผ่นฟ้าด้วยฝ่ามือ 0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
หน้า: [1]
เชิญ download หนังสือ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ – อย่าปิดแผ่นฟ้าด้วยฝ่ามือ  (อ่าน 3431 ครั้ง)
พรรณชมพู
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 5,073


« เมื่อ: 14-12-2007, 20:58 »

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ – อย่าปิดแผ่นฟ้าด้วยฝ่ามือ

คนไทยที่รักชาติ และเป็นห่วงแผ่นดินไทย โปรดศึกษาข้อเท็จจริงจากรายงานในหนังสือเล่มนี้ 

รักษาแผ่นดินไทยไว้ให้ลูกหลาน ช่วยกันต่อต้านโรงไฟฟ้าพลังสกปรกทั้งมวล 

DOWNLOAD FILE ได้ที่นี่ค่ะ 

http://www.greenpeace.org/seasia/th/news/nuclear
บันทึกการเข้า
ScaRECroW
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2,000


สุสูสัง ลภเต ปัญญัง - ผู้ฟังดี ย่อมเกิดปัญญา


เว็บไซต์
« ตอบ #1 เมื่อ: 14-12-2007, 21:03 »

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์น่ะ มันไม่ได้มีข้อเสียอย่างเดียว ข้อดีมันก็มี  ถ้าจะสร้างเนี่ย มันก็ทำได้ แต่ต้อง บริหารจัดการความขัดแย้ง และสร้างมาตรฐานด้านการควบคุม การกำกับดูแล ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดจริง ๆ และแก้ไขข้อเสียได้อย่างสมบูรณ์จริง ๆ

แต่ถ้าตราบใดที่ คานเหล็กยังหล่นมาทับรถที่วิ่งบนถนนได้ ทางขับที่สนามบินสุวรรณภูมิยังยุบตัวได้ จะไปนึกถึงโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ก็ลำบากเหมือนกัน
บันทึกการเข้า

Politic is nothing but the continuation of [the sin of] 7 by other means.

ท่านคิดว่า นรม. ควรทำอย่างไรเมื่อพบว่ากฏหมายบางฉบับมีช่องโหว่?
ก.ใช้อำนาจ นรม.ที่ได้รับมาจากประชาชนแก้กฏหมายเพื่อปิดช่องโหว่เหล่านั้น เพราะเป็นประโยชน์ของแผ่นดิน
ข.ฉวยโอกาสใช้ช่องโหว่เหล่านั้นเพื่อประโยชน์ของตนเองและคนรอบข้าง แล้วก็อ้างว่าคนอื่นเขาก็ทำกัน
Solidus
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3,381



« ตอบ #2 เมื่อ: 14-12-2007, 21:10 »

โรงไฟฟ้าพลังสะอาดเป็นอย่างไรครับ 0-dm ลองแนะนำหน่อยครับ เอาที่ใช้ทดแทนโรงไฟฟ้าในประเทศไทยได้นะครับ
บันทึกการเข้า
พรรณชมพู
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 5,073


« ตอบ #3 เมื่อ: 14-12-2007, 21:19 »

โรงไฟฟ้าพลังสะอาดเป็นอย่างไรครับ 0-dm ลองแนะนำหน่อยครับ เอาที่ใช้ทดแทนโรงไฟฟ้าในประเทศไทยได้นะครับ

การพลิตพลังงานมีทั้งแบบสะอาด แบบก่อมลพิษขนาดที่ยอมรับได้ และขนาดสโครกเกินกว่าจะรับไหวค่ะ

โรงไฟฟ้าสำหรับประชาชนนั้น ส่วนใหญ่ก็เป็นพลังงานสะอาด หรือก่อมลพิษในขนาดที่ยอมรับได้ หากตัดภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจบริการต่างๆออกไป ไฟฟ้าที่ผลิตจากเขื่อนและโรงไฟฟ้าพลังก๊าซ เพียงพอและเกินพอสำรับภาคประชาชนค่ะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากเรารู้จักพอเพียง และผลิตไฟฟ้าจากพลังงานธรรมชาติ หรือพลังงานจากภาคเกษตร ภาคประชาชนของไทยไม่มีวันขาดแคลนพลังงานไฟฟ้าค่ะ

ปัจจุบัญนี้ โครงการพลังงานจากธรรมชาติ ดำเนินงานโนภาคประชาชนเสียเป็นส่วนใหญ่ เพราะภาครัฐถูกครอบงำจากอำนาจทุน จึงมองภาพการสนองตอบต่อความต้องการพลังงานไฟฟ้า โดยยึดหลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แล้วโดยนมลพิษให้ประชาชน เอาประเทศไปเสียงกับมหันตภัยค่ะ

เรื่องพลังงานสำหรับภาคประชาชน จะจัดหามานำเสนอต่อไปค่ะ 
บันทึกการเข้า
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #4 เมื่อ: 14-12-2007, 21:20 »

เพื่อความสะดวก .. ลงลิงค์ถึงตัวไฟล์ที่แนะนำให้ก็แล้วกันนะครับ

http://202.44.55.51/gpsea_org/antinuclear_booklet.pdf
บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
สมชายสายชม
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3,048


« ตอบ #5 เมื่อ: 14-12-2007, 21:44 »

ตั้งแต่ทศวรรษที่ 50 ถึง 80 สหรัฐสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์จำนวน 127 โรง
ผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ 18% นอกนั้นส่วนใหญ่เป็นโรงไฟฟ้าพลังงาน gas turbine
และพลังงานจากถ่านหิน
ขณะนี้ เหลือโรงไฟฟ้านิวเคลียร์อยู่แค่ 103 โรง ปิดไปแล้ว 24 โรง
บางโรงสร้างเสร็จแล้วแต่ไม่มีโอกาสได้ใช้งานเพราะไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัย
หลายโรงที่ต้องปิดก่อนกำหนด เฉลี่ยแล้วได้ใช้งานแค่ 10 ปี
การรื้อถอนทำลายโรงที่ปิดไปแล้ว ต้องใช้เวลานานมาก บางโรงใช้เวลาเกือบ 20 ปี

หลังจากปี 1980 สหรัฐไม่มีการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งใหม่อีกเลย ยกเว้น 1 โรง
ที่อยู่ในระหว่างการก่อสร้าง

อยากให้ผู้อ่านลองค้นหาคำตอบดูว่า ทำไม 30 ปีมานี้ สหรัฐไม่สร้างเพิ่ม 
อ้างถึง
Need For Nuclear Reactor Permits Powering Up

ScienceDaily (Mar. 27, 2007) —

The U.S. Nuclear Regulatory Commission recently awarded the first-ever early site permit allowing construction of the first new nuclear power reactor in more than 30 years. Researchers at the Department of Energy's Pacific Northwest National Laboratory are assisting NRC with environmental and safety reviews, and document preparation required in evaluating and licensing new nuclear power generation stations in the United States. With this first approval issued, and a host of applications awaiting similar action during 2007, this surge may just be the beginning.

http://www.sciencedaily.com/releases/2007/03/070319175743.htm

อ้างถึง
Lack Of Fuel May Limit US Nuclear Power Expansion

ScienceDaily (Mar. 22, 2007) —

Limited supplies of fuel for nuclear power plants may thwart the renewed and growing interest in nuclear energy in the United States and other nations, says an MIT expert on the industry.

Over the past 20 years, safety concerns dampened all aspects of development of nuclear energy: No new reactors were ordered and there was investment neither in new uranium mines nor in building facilities to produce fuel for existing reactors. Instead, the industry lived off commercial and government inventories, which are now nearly gone. worldwide, uranium production meets only about 65 percent of current reactor requirements.

That shortage of uranium and of processing facilities worldwide leaves a gap between the potential increase in demand for nuclear energy and the ability to supply fuel for it, said Dr. Thomas Neff, a research affiliate at MIT's Center for International Studies.

"Just as large numbers of new reactors are being planned, we are only starting to emerge from 20 years of underinvestment in the production capacity for the nuclear fuel to operate them. There has been a nuclear industry myopia; they didn't take a long-term view," Neff said. For example, only a few years ago uranium inventories were being sold at $10 per pound; the current price is $85 per pound.

http://www.sciencedaily.com/releases/2007/03/070321092710.htm



ภาพการทำลายโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Trojan ในสหรัฐ .. คาดประมาณว่า ค่าการรื้อถอน
โรงไฟฟ้าแห่งนี้ อาจจะเทียบเท่าหรือจะมากกว่าค่าการลงทุนสร้าง ($450 million)

The iconic 499-foot tall cooling tower was demolished via dynamite implosion at 7:00 a.m. on May 21, 2006. This event marked the first implosion of a nuclear cooling tower in the United States. Additional demolition work on the remaining structures will continue through 2008. It is expected that demolition of the plant will cost as least as much as its construction.

http://en.wikipedia.org/wiki/Trojan_Nuclear_Power_Plant



_____________________________________________________________

รายการอุบัติเหตุแและการรั่วไหลของรังสีของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แต่ละโรงในสหรัฐฯ

http://www.animatedsoftware.com/environm/no_nukes/nukelist1.htm

...

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 15-12-2007, 02:13 โดย สมชายสายชม » บันทึกการเข้า
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #6 เมื่อ: 14-12-2007, 21:57 »




สหรัฐ มีพืชจีเอ็มโอ

ซึ่งแหล่งข้อมูลที่นำมาลงก็ต่อต้าน 

ส่วนเรื่องโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เช็คข้อมูลจริงๆก่อนเอามาลงละกัน





« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 14-12-2007, 22:00 โดย ********Q******** » บันทึกการเข้า

GN-001 Exia
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 809


Celestial Being...


« ตอบ #7 เมื่อ: 14-12-2007, 22:03 »

สร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินกันเถอะ

ผมจะได้มีงานทำ
บันทึกการเข้า


พวกที่เอาคำว่า "เสรีภาพ" มาบังหน้าเพื่อเบียดเบียนคนอื่นนี่มันเลวที่สุด
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #8 เมื่อ: 14-12-2007, 22:08 »

สร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินกันเถอะ

ผมจะได้มีงานทำ

ไม่ต้องห่วงขนาดพวกประท้วงท่อก๊าช มันก็มีมาแล้ว

ทีจำได้แม่นก็พวกเผาแทนทาลัม ยังไงก็ต้องสร้าง
บันทึกการเข้า

สมชายสายชม
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3,048


« ตอบ #9 เมื่อ: 14-12-2007, 23:40 »

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในสหรัฐ 2 ยูนิท Bellefonte 1 และ  Bellefonte 2
มีกำลังผลิตหน่วยละ 1213 MWe .. ได้รับอนุญาตจาก NRC ให้ก่อสร้างได้
ตั้งแต่ปี 1974 .. จนบัดนี้ยังไม่ได้ใบอนุญาตให้เปิดเดินเครื่องเพราะไม่ผ่านเรื่องสิ่งแวดล้อม

http://www.insc.anl.gov/cgi-bin/sql_interface?view=rx_com_matrix&qvar=unit&qval=470

http://www.insc.anl.gov/cgi-bin/sql_interface?view=rx_com_matrix&qvar=unit&qval=471

...........................................................................................................

http://www.nrc.gov/reading-rm/doc-collections/news/2006/06-112.html

NRC TERMINATES CONSTRUCTION PERMITS FOR
UNFINISHED BELLEFONTE NUCLEAR PLANTS

The Nuclear Regulatory Commission has approved the Tennessee Valley Authority’s request to terminate the construction permits for the unfinished Bellefonte Nuclear Plant, Units 1 and 2. TVA requested the termination in a letter dated April 6.

The NRC granted the construction permits for Bellefonte, a dual-unit pressurized water reactor plant, in 1974. By 1988, when TVA deferred completion of the plant, Unit 1 was approximately 88 percent complete, and Unit 2 was approximately 58 percent complete. An NRC inspection in 1992 determined there was no nuclear fuel on the site. The Bellefonte site is located on approximately 1,600 acres adjacent to the Tennessee River near Hollywood, Ala.

The NRC recently published its environmental assessment on the termination, with a finding of no significant impacts, in the Federal Register. As part of its findings, the agency concluded that terminating the construction permits and the TVA’s limited site redress activities would not have a significant effect on the quality of the environment.

During the NRC’s review, TVA stated it intends to continue using existing environmental permits at the site, as well as maintain major plant components such as water intake and discharge facilities, cooling towers and transmission switchyards. TVA indicated the existing containment, turbine and auxiliary buildings would be left in place, while unnecessary structures such as warehouses would be disassembled, abandoned or demolished. TVA also indicated it would continue conducting periodic site inspections to ensure none of the equipment or materials are causing environmental or health problems.

...

บันทึกการเข้า
Solidus
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3,381



« ตอบ #10 เมื่อ: 15-12-2007, 00:11 »

การพลิตพลังงานมีทั้งแบบสะอาด แบบก่อมลพิษขนาดที่ยอมรับได้ และขนาดสโครกเกินกว่าจะรับไหวค่ะ

โรงไฟฟ้าสำหรับประชาชนนั้น ส่วนใหญ่ก็เป็นพลังงานสะอาด หรือก่อมลพิษในขนาดที่ยอมรับได้ หากตัดภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจบริการต่างๆออกไป ไฟฟ้าที่ผลิตจากเขื่อนและโรงไฟฟ้าพลังก๊าซ เพียงพอและเกินพอสำรับภาคประชาชนค่ะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากเรารู้จักพอเพียง และผลิตไฟฟ้าจากพลังงานธรรมชาติ หรือพลังงานจากภาคเกษตร ภาคประชาชนของไทยไม่มีวันขาดแคลนพลังงานไฟฟ้าค่ะ

ปัจจุบัญนี้ โครงการพลังงานจากธรรมชาติ ดำเนินงานโนภาคประชาชนเสียเป็นส่วนใหญ่ เพราะภาครัฐถูกครอบงำจากอำนาจทุน จึงมองภาพการสนองตอบต่อความต้องการพลังงานไฟฟ้า โดยยึดหลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แล้วโดยนมลพิษให้ประชาชน เอาประเทศไปเสียงกับมหันตภัยค่ะ

เรื่องพลังงานสำหรับภาคประชาชน จะจัดหามานำเสนอต่อไปค่ะ 
คุณบอกว่าตัดภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจบริการต่าง ๆ ออกไป ผมถามต่อว่าปัจจุบันคุณเพิ่งพาสิ่งเหล่านี้หรือไม่ ไฟฟ้าจากเขื่อนไม่ได้ผลิตตลอดเวลา ก๊าซธรรมชาติมันมีวันหมด แล้วจะมีโรงไฟฟ้าที่สะอาดแบบใดทดแทนโรงไฟฟ้าปัจจุบันครับ แล้วอีกอย่างที่บอกว่าการพลิตพลังงานมีทั้งแบบสะอาด แบบก่อมลพิษขนาดที่ยอมรับได้ และขนาดโสโครก ไม่ยกตัวอย่างเลยล่ะครับว่าโรงไฟฟ้าที่อยู่ในแต่ละประเภทเลยล่ะครับ
บันทึกการเข้า
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #11 เมื่อ: 15-12-2007, 01:17 »

คุณบอกว่าตัดภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจบริการต่าง ๆ ออกไป ผมถามต่อว่าปัจจุบันคุณเพิ่งพาสิ่งเหล่านี้หรือไม่ ไฟฟ้าจากเขื่อนไม่ได้ผลิตตลอดเวลา ก๊าซธรรมชาติมันมีวันหมด แล้วจะมีโรงไฟฟ้าที่สะอาดแบบใดทดแทนโรงไฟฟ้าปัจจุบันครับ แล้วอีกอย่างที่บอกว่าการพลิตพลังงานมีทั้งแบบสะอาด แบบก่อมลพิษขนาดที่ยอมรับได้ และขนาดโสโครก ไม่ยกตัวอย่างเลยล่ะครับว่าโรงไฟฟ้าที่อยู่ในแต่ละประเภทเลยล่ะครับ

ขอตอบด้วยคน 

ผมว่าสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน ดีกว่าสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
ไทยเราพร้อมกว่าในทุกๆ ด้าน

มีปัญหาแค่เรื่องการทำประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ

...

ส่วนแนวโน้มคิดว่าน่าจะเร่งกระจายสร้างโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก
ไปในส่วนภูมิภาค โดยใช้เชื้อเพลิงที่หลากหลายนะครับ

หลักๆ ก็คือโรงไฟฟ้าที่เป็น ระบบแก๊สซิไฟเออร์ ของชุมชน

...

อีกด้านหนึ่งในภาคการขนส่ง ผมคิดว่าเราต้องส่งเสริม
การใช้ NGV แทนน้ำมันเชื้อเพลิงอย่างจริงจัง

จากนั้นก็รอเทคโนโลยีไฮโดรเจน กับนิวเคลียร์ฟิวชั่น
ที่จะเข้ามาในเวลาไม่ถึง 50 ปีข้างหน้าครับ
บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #12 เมื่อ: 15-12-2007, 01:37 »

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในสหรัฐ 2 ยูนิท Bellefonte 1 และ  Bellefonte 2
มีกำลังผลิตหน่วยละ 1213 MWe .. ได้รับอนุญาตจาก NRC ให้ก่อสร้างได้
ตั้งแต่ปี 1974 .. จนบัดนี้ยังไม่ได้ใบอนุญาตให้เปิดเดินเครื่องเพราะไม่ผ่านเรื่องสิ่งแวดล้อม

http://www.insc.anl.gov/cgi-bin/sql_interface?view=rx_com_matrix&qvar=unit&qval=470

http://www.insc.anl.gov/cgi-bin/sql_interface?view=rx_com_matrix&qvar=unit&qval=471

...........................................................................................................

http://www.nrc.gov/reading-rm/doc-collections/news/2006/06-112.html

NRC TERMINATES CONSTRUCTION PERMITS FOR
UNFINISHED BELLEFONTE NUCLEAR PLANTS

The Nuclear Regulatory Commission has approved the Tennessee Valley Authority’s request to terminate the construction permits for the unfinished Bellefonte Nuclear Plant, Units 1 and 2. TVA requested the termination in a letter dated April 6.

The NRC granted the construction permits for Bellefonte, a dual-unit pressurized water reactor plant, in 1974. By 1988, when TVA deferred completion of the plant, Unit 1 was approximately 88 percent complete, and Unit 2 was approximately 58 percent complete. An NRC inspection in 1992 determined there was no nuclear fuel on the site. The Bellefonte site is located on approximately 1,600 acres adjacent to the Tennessee River near Hollywood, Ala.

The NRC recently published its environmental assessment on the termination, with a finding of no significant impacts, in the Federal Register. As part of its findings, the agency concluded that terminating the construction permits and the TVA’s limited site redress activities would not have a significant effect on the quality of the environment.

During the NRC’s review, TVA stated it intends to continue using existing environmental permits at the site, as well as maintain major plant components such as water intake and discharge facilities, cooling towers and transmission switchyards. TVA indicated the existing containment, turbine and auxiliary buildings would be left in place, while unnecessary structures such as warehouses would be disassembled, abandoned or demolished. TVA also indicated it would continue conducting periodic site inspections to ensure none of the equipment or materials are causing environmental or health problems.

...



สามสิบปีแล้ว...
บันทึกการเข้า

Solidus
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3,381



« ตอบ #13 เมื่อ: 15-12-2007, 01:44 »

ขอตอบด้วยคน 

ผมว่าสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน ดีกว่าสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
ไทยเราพร้อมกว่าในทุกๆ ด้าน

มีปัญหาแค่เรื่องการทำประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ

...

ส่วนแนวโน้มคิดว่าน่าจะเร่งกระจายสร้างโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก
ไปในส่วนภูมิภาค โดยใช้เชื้อเพลิงที่หลากหลายนะครับ

หลักๆ ก็คือโรงไฟฟ้าที่เป็น ระบบแก๊สซิไฟเออร์ ของชุมชน

...

อีกด้านหนึ่งในภาคการขนส่ง ผมคิดว่าเราต้องส่งเสริม
การใช้ NGV แทนน้ำมันเชื้อเพลิงอย่างจริงจัง

จากนั้นก็รอเทคโนโลยีไฮโดรเจน กับนิวเคลียร์ฟิวชั่น
ที่จะเข้ามาในเวลาไม่ถึง 50 ปีข้างหน้าครับ
นั่นแหละครับปัญหาคือเรื่องความเข้าใจของชาวบ้าน อย่าว่าแต่ถ่านหินเลย แค่ก๊าซก็ยังประท้วง คงต้องถึงขั้นแบ่งโซนดับไฟเพื่อให้พลังงานเพียงพอต่อการใช้ก่อนถึงได้เริ่มสร้างโรงไฟฟ้าเพิ่ม และในกรณีที่ไม่สร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟิชชั่น ฝ่ายค้านก็ต้องเสนอพลังงานทดแทนที่สามารถใช้ได้เพียงพอกับความต้องการในอนาคตจนกว่าจะพัฒนาเทคโนโลยีผลิตไฟฟ้าที่ดีกว่าที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน  เรื่องโรงไไฟ้าของชุมชนนี่ผมเห็นด้วยว่าควรสร้าง ส่วนเรื่องที่เสนอให้ตัดภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจบริการต่าง ๆ ออกไปนี่ผมเห็นว่ายังไงมันก็เป็นไปไม่ได้เพราะคนที่เสนอยังเพิ่งพาสิ่งอยู่นี้เลย นับประสาอะไรที่จะให้คนอื่นทำตามข้อเสนอนี้   
บันทึกการเข้า
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #14 เมื่อ: 15-12-2007, 01:44 »



http://www.iaea.org/cgi-bin/db.page.pl/pris.charts.htm

NUCLEAR POWER PLANT INFORMATION
This section provides some of the tables and charts which are produced using PRIS data. All data are based on information provided by IAEA Member States through designated national correspondents or governmental organizations.


Number of Reactors up to date

Operational by age
Under Construction
By Country
By Type
Operational & Long Term Shutdown
By Country
By Type
Shutdown
By Country
By Type

Lifetime factors by country up to 2006 (Includes all operational & shutdown reactors from beginning of comercial operation up to 2006)

Energy Availability Factor
Unit Capability Factor
Unplanned Capability Loss Factor

Last three years factors by country up to 2006 (Includes only operational reactors from 2004 up to 2006)

Energy Availability Factor
Unit Capability Factor
Unplanned Capability Loss Factor

World average factors by year (Energy Availability Factor, Unit Capability Factor & Unplanned Capability Loss Factor calculated only for operational reactors from 1996 up to 2006)

Reactors Under Construction
Number of Reactors in Operation Worldwide
Nuclear Share of Electricity Generation
Number of Reactors in Operation by Age
World Energy Availability Factors by Year

--------------------------------------------------------------------------------
© 2000 International Atomic Energy Agency.  Comments to Project Officer
บันทึกการเข้า

********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #15 เมื่อ: 15-12-2007, 01:53 »

ขอตอบด้วยคน 

ผมว่าสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน ดีกว่าสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
ไทยเราพร้อมกว่าในทุกๆ ด้าน

มีปัญหาแค่เรื่องการทำประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ

...

ส่วนแนวโน้มคิดว่าน่าจะเร่งกระจายสร้างโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก
ไปในส่วนภูมิภาค โดยใช้เชื้อเพลิงที่หลากหลายนะครับ

หลักๆ ก็คือโรงไฟฟ้าที่เป็น ระบบแก๊สซิไฟเออร์ ของชุมชน

...

อีกด้านหนึ่งในภาคการขนส่ง ผมคิดว่าเราต้องส่งเสริม
การใช้ NGV แทนน้ำมันเชื้อเพลิงอย่างจริงจัง

จากนั้นก็รอเทคโนโลยีไฮโดรเจน กับนิวเคลียร์ฟิวชั่น
ที่จะเข้ามาในเวลาไม่ถึง 50 ปีข้างหน้าครับ


ผมเสนอให้หยุดซื้อไฟฟ้าคนอื่นมาใช้ก่อน

แล้วกันเขต ให้พวกอนุรักษ์ไปทดลองอยู่ โดยใช้ไฟจำกัด

ส่วนโรงนิวเคลียร์ ให้สิทธิ์ราคาถูกคนในเขตที่มีประชามติสนับสนุน


ถ่านหินคิดว่ามีมลภาวะมากกว่านิวเคลียร์ เสถียรภาพต่ำกว่า

รถยนและการคมนาคมใช้น้ำมันมากว่าโรงไฟฟ้า ควรให้สลับหยุดวิ่ง หรือเก็บเงินกองทุนมาใช้อุดหนุนไฟฟ้า..ที่มีราคาตามปริมาณการใช้อยู่แล้ว
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 15-12-2007, 01:56 โดย ********Q******** » บันทึกการเข้า

********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #16 เมื่อ: 15-12-2007, 02:32 »





ส่วนชาวบ้าน ควรช่วยกันอธิบายให้เข้าใจเท่าที่รู้จริงๆ

อย่าคิดหรือคาดเดาเอาเอง
บันทึกการเข้า

GN-001 Exia
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 809


Celestial Being...


« ตอบ #17 เมื่อ: 15-12-2007, 13:15 »

นิวเคลียร์มันยังไม่จำเป็นตอนนี้ แต่ซักวันก็ต้องโดนเข้าจนได้ 
บันทึกการเข้า


พวกที่เอาคำว่า "เสรีภาพ" มาบังหน้าเพื่อเบียดเบียนคนอื่นนี่มันเลวที่สุด
สมชายสายชม
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3,048


« ตอบ #18 เมื่อ: 15-12-2007, 14:52 »

สามสิบปีแล้ว...

สามสิบปีแล้วตั้งแต่บริษัท TVA เริ่มสร้างโรงไฟฟ้า Bellefonte แต่สร้างไม่เสร็จสมบูรณ์
เพราะไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัย และไม่เคยได้มีโอกาสเดินเครื่อง
พลเมืองที่มีอายุประมาณ 30 - 35 ปี ที่อยู่ใกล้โรงไฟฟ้าแห่งนี้ ตั้งแต่เกิดมาก็เห็นร่มเงาจาก
ปล่องระบายความร้อนที่รุ่นพ่อและรุ่นปู่เป็นผู้สร้าง

 



Town has nuclear-powered plans

By Larry Copeland, USA TODAY

SCOTTSBORO, Ala. — Some people here have lived their whole lives in the shadow of the twin cooling towers of the Bellefonte Nuclear Plant. Their fathers and grandfathers helped build the facility, which the Tennessee Valley Authority began constructing in the 1970s but never completed.

The TVA operates three other nuclear plants within a 125-mile radius, so many here are comfortable with the idea of a nuclear neighbor. They celebrated in September when a consortium of utility companies chose Bellefonte as one of two sites for new nuclear plants.

"Everybody from 35 to 40 years old that grew up around this county in the '70s, they've seen the towers, they knew what it was," says Tommy Bryant, 36, a utility company manager whose father worked a construction job at Bellefonte. "Most people are really glad about what they're planning."

http://www.usatoday.com/news/nation/2005-12-18-power-plant_x.htm
...
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 15-12-2007, 15:14 โดย สมชายสายชม » บันทึกการเข้า
พรรณชมพู
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 5,073


« ตอบ #19 เมื่อ: 15-12-2007, 18:15 »

คุณบอกว่าตัดภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจบริการต่าง ๆ ออกไป ผมถามต่อว่าปัจจุบันคุณเพิ่งพาสิ่งเหล่านี้หรือไม่ ไฟฟ้าจากเขื่อนไม่ได้ผลิตตลอดเวลา ก๊าซธรรมชาติมันมีวันหมด แล้วจะมีโรงไฟฟ้าที่สะอาดแบบใดทดแทนโรงไฟฟ้าปัจจุบันครับ แล้วอีกอย่างที่บอกว่าการพลิตพลังงานมีทั้งแบบสะอาด แบบก่อมลพิษขนาดที่ยอมรับได้ และขนาดโสโครก ไม่ยกตัวอย่างเลยล่ะครับว่าโรงไฟฟ้าที่อยู่ในแต่ละประเภทเลยล่ะครับ

การยกตัวอย่างมาให้ดูนั้น เพื่อที่จะได้ทราบข้อมูลเบื้องต้นก่อนว่า ภาคประชาชนหรือที่เรียกกันว่าการใช้ในครัวเรือนนั้น กำลังการผลิตไฟฟ้าจากเขื่อนและก๊าซ เพียงพอในการให้บริการแล้ว ส่วนในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมนั้น เป็นส่วนที่ใช้ไฟฟ้ามากที่สุด จึงต้องแบกรับภาระในส่วนที่ต้องการเอง การจะนำความต้องการไฟฟ้าเพื่อชีวิตประจำวันของประชาชน ไปเหมารวมกับภาคอื่น แล้วอ้างว่าประชาชนต้องพึ่งพาธุรกิจและอุตสาหกรรมนั้น จึงโยนภาระการรับโรงไฟฟ้ามหนัตภัยเข้ามาในประเทศ ย่อมไม่ถูกต้อง

ก๊าซธรรมชาติมีวันหมด พลังงานที่ไม่สามารถหมุนเวียนได้ย่อมมีวันหมดด้วยกันทั้งนั้น แม้แต่นิวเคลียร์เอง แต่ทรัพยากรก๊าซธรรมชาตินั้น หากนำมาเพื่อใช้สำหรับความต้องการพื้นฐาน จะยังใช้ไปได้อีกนานค่ะ แต่ที่ผลาญกันทุกวันนี้ ก็เพื่อภาคธุรกิจอุตสาหกรรมนี่แหละ

ห้างดีสเคาน์สโตรของต่างชาติหนึ่งแห่ง ใช้ไฟฟ้าอย่างฟุ่มเฟือย แต่ประชาชนไทยต้องแบกรับภาระการหาพลังงานมาบริการให้ และยังต้องแบกรับมลพิษอีกด้วย เพื่อให้ต่างชาติเข้ามากอบโกยผลกำไรกลับไป กิจการที่จ้างแรงงานคนต่างด้าว ใช้ทรัพยากรภายในประเทศ หาผลกำไรเข้ากระเป๋านายทุน แต่ประชาชนต้องแบกรับทั้งการลงทุนในการผลิตพลังงานมาขายให้ในราคาถูก มันยุติธรรมแล้วหรือ

บันทึกการเข้า
Solidus
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3,381



« ตอบ #20 เมื่อ: 15-12-2007, 20:20 »

การยกตัวอย่างมาให้ดูนั้น เพื่อที่จะได้ทราบข้อมูลเบื้องต้นก่อนว่า ภาคประชาชนหรือที่เรียกกันว่าการใช้ในครัวเรือนนั้น กำลังการผลิตไฟฟ้าจากเขื่อนและก๊าซ เพียงพอในการให้บริการแล้ว ส่วนในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมนั้น เป็นส่วนที่ใช้ไฟฟ้ามากที่สุด จึงต้องแบกรับภาระในส่วนที่ต้องการเอง การจะนำความต้องการไฟฟ้าเพื่อชีวิตประจำวันของประชาชน ไปเหมารวมกับภาคอื่น แล้วอ้างว่าประชาชนต้องพึ่งพาธุรกิจและอุตสาหกรรมนั้น จึงโยนภาระการรับโรงไฟฟ้ามหนัตภัยเข้ามาในประเทศ ย่อมไม่ถูกต้อง

ก๊าซธรรมชาติมีวันหมด พลังงานที่ไม่สามารถหมุนเวียนได้ย่อมมีวันหมดด้วยกันทั้งนั้น แม้แต่นิวเคลียร์เอง แต่ทรัพยากรก๊าซธรรมชาตินั้น หากนำมาเพื่อใช้สำหรับความต้องการพื้นฐาน จะยังใช้ไปได้อีกนานค่ะ แต่ที่ผลาญกันทุกวันนี้ ก็เพื่อภาคธุรกิจอุตสาหกรรมนี่แหละ

ห้างดีสเคาน์สโตรของต่างชาติหนึ่งแห่ง ใช้ไฟฟ้าอย่างฟุ่มเฟือย แต่ประชาชนไทยต้องแบกรับภาระการหาพลังงานมาบริการให้ และยังต้องแบกรับมลพิษอีกด้วย เพื่อให้ต่างชาติเข้ามากอบโกยผลกำไรกลับไป กิจการที่จ้างแรงงานคนต่างด้าว ใช้ทรัพยากรภายในประเทศ หาผลกำไรเข้ากระเป๋านายทุน แต่ประชาชนต้องแบกรับทั้งการลงทุนในการผลิตพลังงานมาขายให้ในราคาถูก มันยุติธรรมแล้วหรือ


ให้ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมเป็นฝ่ายแบกรับภาระ สุดท้ายประชาชนก็โดนอยู่ดีครับ ในเมื่อต้นทุนการผลิตสูงขึ้น แต่ประชาชนยังซื้อสินค้าและใช้บริการจากภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม สุดท้ายก็ต้องจ่ายแพงสินค้าและ้บริการแพงขึ้นอยู่ดี ส่วนห้างสรรพสินค้าใหญ่ ๆ หากประชาชนไม่สนับสนุนโดยการเข้าไปซื้อสินค้าและใช้บริการ ห้างสรรพสินค้าเหล่านั้นจะอยู่ได้ไหมครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 15-12-2007, 20:22 โดย solidus » บันทึกการเข้า
ScaRECroW
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2,000


สุสูสัง ลภเต ปัญญัง - ผู้ฟังดี ย่อมเกิดปัญญา


เว็บไซต์
« ตอบ #21 เมื่อ: 15-12-2007, 22:14 »

สามสิบปีแล้วตั้งแต่บริษัท TVA เริ่มสร้างโรงไฟฟ้า Bellefonte แต่สร้างไม่เสร็จสมบูรณ์
เพราะไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัย และไม่เคยได้มีโอกาสเดินเครื่อง
พลเมืองที่มีอายุประมาณ 30 - 35 ปี ที่อยู่ใกล้โรงไฟฟ้าแห่งนี้ ตั้งแต่เกิดมาก็เห็นร่มเงาจาก
ปล่องระบายความร้อนที่รุ่นพ่อและรุ่นปู่เป็นผู้สร้าง

 



Town has nuclear-powered plans

By Larry Copeland, USA TODAY

SCOTTSBORO, Ala. — Some people here have lived their whole lives in the shadow of the twin cooling towers of the Bellefonte Nuclear Plant. Their fathers and grandfathers helped build the facility, which the Tennessee Valley Authority began constructing in the 1970s but never completed.

The TVA operates three other nuclear plants within a 125-mile radius, so many here are comfortable with the idea of a nuclear neighbor. They celebrated in September when a consortium of utility companies chose Bellefonte as one of two sites for new nuclear plants.

"Everybody from 35 to 40 years old that grew up around this county in the '70s, they've seen the towers, they knew what it was," says Tommy Bryant, 36, a utility company manager whose father worked a construction job at Bellefonte. "Most people are really glad about what they're planning."

http://www.usatoday.com/news/nation/2005-12-18-power-plant_x.htm
...


ทำไมโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ของไทยตรงถนนวิภาวดีไม่มีปล่อง ๆ แบบนั้นล่ะ อ๋อ ฝังปล่องไว้ใต้ดิน
บันทึกการเข้า

Politic is nothing but the continuation of [the sin of] 7 by other means.

ท่านคิดว่า นรม. ควรทำอย่างไรเมื่อพบว่ากฏหมายบางฉบับมีช่องโหว่?
ก.ใช้อำนาจ นรม.ที่ได้รับมาจากประชาชนแก้กฏหมายเพื่อปิดช่องโหว่เหล่านั้น เพราะเป็นประโยชน์ของแผ่นดิน
ข.ฉวยโอกาสใช้ช่องโหว่เหล่านั้นเพื่อประโยชน์ของตนเองและคนรอบข้าง แล้วก็อ้างว่าคนอื่นเขาก็ทำกัน
พรรณชมพู
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 5,073


« ตอบ #22 เมื่อ: 17-12-2007, 10:24 »

ให้ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมเป็นฝ่ายแบกรับภาระ สุดท้ายประชาชนก็โดนอยู่ดีครับ ในเมื่อต้นทุนการผลิตสูงขึ้น แต่ประชาชนยังซื้อสินค้าและใช้บริการจากภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม สุดท้ายก็ต้องจ่ายแพงสินค้าและ้บริการแพงขึ้นอยู่ดี ส่วนห้างสรรพสินค้าใหญ่ ๆ หากประชาชนไม่สนับสนุนโดยการเข้าไปซื้อสินค้าและใช้บริการ ห้างสรรพสินค้าเหล่านั้นจะอยู่ได้ไหมครับ

แน่นอนค่ะ ราคาสินค้านั้นขึ้นอยู่กับต้นทุน ไม่ว่าจะมาจากวัตถุดิบ แรงงาน พลังงาน กำไร และค่าใช้จ่ายต่างๆ

การให้ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม แบกรับภาระค่าใช้จ่ายของตนเอง โดยไม่เอาเปรียบประชาชน ย่อมทำให้ราคาสินค้าของเขาสูงขึ้น แต่เราจะทำให้ราคาสินค้าเหล่านี้ต่ำลง ด้วยการโยนภาระค่าใช้จ่ายของภาคธุรกิจอุตสาหกรรม มาให้ประชาชนหรือคะ 

ธุรกิจและอุตสาหกรรมนั้น ถ้าลองแยกออกเป็นสองประเภท คือประเภทที่จำเป็นต่อการครองชีพ และประเภทฟุ่มเฟือย หรือจะแยกประเภทออกเป็น ธุรกิจอุตสาหกรรมของประชาชน กับธุรกิจอุตสาหกรรมของนายทุน เราก็จะจัดสรรพลังงานให้เหมาะสมได้ค่ะ ชนิดใดที่ประชาชนควรช่วยแบกรับภาระ และชนิดใดที่ต้องดูแลตนเอง

กรณีห้างสรรพสินค้าที่คุณกล่าวมานั้น ก็คล้ายๆกับอีกหลายธุรกิจ ที่เขาคิดว่า หากสินค้านั้นไม่ดีหรืออันตราย ประชาชนก็ควรจะตัดสินใจเอาเองว่า จะใช้หรือไม่ใช้
หรือเหมือนกรณีโชว์ห่วยต้านห้างดีสเคาน์สโตร  หากประชาชนไม่เข้าดีสเคาน์สโตร์ โชว์ห่วยก็คงไม่เจ๊ง หากใช้แนวคิดนี้ ดีสเคาน์สโตร์เขาก็ไม่ผิดอะไรที่จะเปิดสาขา ตรงไหน เมื่อไหร่ ค่ะ
บันทึกการเข้า
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #23 เมื่อ: 18-12-2007, 01:19 »



มาช่วยดันกระทู้ให้

ประชาชนยืนบนขาของตนเอง ให้ได้ 
 
บันทึกการเข้า

ปรมาจารย์เจได
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2,771


รักแท้ก็เหมือนผี รู้ว่ามี แต่ไม่เคยเจอ


« ตอบ #24 เมื่อ: 18-12-2007, 14:18 »

เห็นเถียงกันมาหลายวันละ

จริงไม่อยากโดดมาแจมหรอก ความคิดใครก็ความคิดมัน
โดยส่วนตัว ผมไม่ได้ยินดีกะการที่ไทยสร้างไฟฟ้าโดยการเผาถ่าน เผาลิกไนต์ไปวันๆหรอกครับ

มันมีข้อดีข้อเสียกันทั้งนั้นแหละครับไม่ว่าจะโรงไฟฟ้าแบบไหน

มัวแต่คิดกันแบบนี้แหละ
ฝรั่งมันถึงได้มาขุดเอาแทนทาลั่มไปสมัยก่อน
บันทึกการเข้า

http://www.oknation.net/blog/jedimaster



"เมืองดอกบัวงาม  แม่น้ำสองสี  มีปลาแซบหลาย หาดทรายแก่งหิน  ถิ่นไทยนักปราชญ์  ทวยราษฎร์ใฝ่ธรรม งามลำเทียนพรรษา  ผาแต้มก่อนประวัติศาสตร์"

ไม่มีใครเน่าบริสุทธิ์ดุจดั่งมูล ประชาชินสมบูรณ์ซะที่ไหน เมื่อยืนหยัดโชว์จู๋และปาขี้ ประชาชินย่อมมีชีวิตใหม่ เมื่อท้องฟ้าสีขี้ผ่องอำไพ เหลี่ยมจันไsย่อมเป็นใหญ่อยู่ใต้ดิน ...

ขอเชิญร่วมกลุ่มต้านทักษิณใน hi5 ครับ

THAKSIN get out !!
http://www.hi5.com/friend/group/1123605--THAKSIN%2Bget%2Bout%2521%2521--front-html

say no to thaksin !
http://www.hi5.com/friend/group/1186900--say%2Bno%2Bto%2Bthaksin%2B%2521--front-html
หน้า: [1]
    กระโดดไป: