อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #100 เมื่อ: 19-09-2007, 10:42 » |
|
เอาหละคร้าบ เล่นคำแล้วคร้าบพี่น้อง ลอย กะ ลด จะลอยหรือลดมันก็ เจ๊งทั้งคู่ ไปพ้นยี่สิบห้าบาททั้งนั้น เวลาพูดกันสั้นๆ เค้าก็ใช้คำว่าลดเพื่อ ไม่ให้สับสน เนื่องจากลอยเป็นวิธีหนึ่งของการลด คือ ลดแบบไม่ผูกติด ว่าอยู่ที่เท่าไหร่ ถ้าจะมาโม้ว่า ลอย ไม่ใช่วิธีที่ถูกต้อง มันก็เหมือนกับ การเห่าข้างสนามหลังบอลแพ้ ถ้าอยู่ในเกมส์จริงๆ จะบอกว่าให้ลดค่า เงินไปไว้ที่เท่าไหร่ คงบอกไม่ได้หรอก เพราะว่าพวกหากินกะค่าเงินมัน คงยังเล่นไม่เลิก ถ้าผูกไว้แข็งเกินไปมันก็มาโจมตีอีกเรื่อยๆ ถ้าโดนโจม ตีแล้วลดมันเรื่อยๆ มันก็คงไม่ต่างกะลอยทิ้งไปตามยถากรรมแต่ต้น ตัดสินใจแบบนี้ก็ถูกต้องแล้ว หรือว่า 55555 คิดว่าเก่งกว่าทนง ไม่เอา น่า อยู่ในบอร์ดยังโดนติดแก๊สสอยซะล้มลุกคลุกคลาน อย่าเพ้อเลยนะ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #101 เมื่อ: 19-09-2007, 10:48 » |
|
เอาหละคร้าบ เล่นคำแล้วคร้าบพี่น้อง ลอย กะ ลด จะลอยหรือลดมันก็ เจ๊งทั้งคู่ ไปพ้นยี่สิบห้าบาททั้งนั้น เวลาพูดกันสั้นๆ เค้าก็ใช้คำว่าลดเพื่อ ไม่ให้สับสน เนื่องจากลอยเป็นวิธีหนึ่งของการลด คือ ลดแบบไม่ผูกติด ว่าอยู่ที่เท่าไหร่ ถ้าจะมาโม้ว่า ลอย ไม่ใช่วิธีที่ถูกต้อง มันก็เหมือนกับ การเห่าข้างสนามหลังบอลแพ้ ถ้าอยู่ในเกมส์จริงๆ จะบอกว่าให้ลดค่า เงินไปไว้ที่เท่าไหร่ คงบอกไม่ได้หรอก เพราะว่าพวกหากินกะค่าเงินมัน คงยังเล่นไม่เลิก ถ้าผูกไว้แข็งเกินไปมันก็มาโจมตีอีกเรื่อยๆ ถ้าโดนโจม ตีแล้วลดมันเรื่อยๆ มันก็คงไม่ต่างกะลอยทิ้งไปตามยถากรรมแต่ต้น ตัดสินใจแบบนี้ก็ถูกต้องแล้ว หรือว่า 55555 คิดว่าเก่งกว่าทนง ไม่เอา น่า อยู่ในบอร์ดยังโดนติดแก๊สสอยซะล้มลุกคลุกคลาน อย่าเพ้อเลยนะ  55555......โห โดนติดแก๊ส สอยร่วงมาหลายทู้แล้ว ...
ไม่ใช่ เก่งกว่า ทนงค์ แต่ ทนงค์ มันตัดสินใจผิด แล้วดันมาคุยว่าเก่งนีเดะ....แล้วยังมีคนก้มหัวงุ๊ด พยักหน้าหงึก ๆ บอกเก่งอีก...โห....เหลือเชื่อจริง ๆ ว่า มีเงินซื้อคอมพิวเตอร์มาเล่น......ทนงค์ พูดออกทีวี จ๊ะ ว่าอยากเห็น 29 บาท ต่อดอลล่าห์......
เงินบาท 29 ต่อ 1 ดอลล่า กับ 56 บาทต่อ 1 ดอลล่าห์ มันมีผลต่างกันจ๊ะ ไม่รู้จริง อ่ะ สงสัยไม่รู้แหง ๆ 
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 19-09-2007, 10:57 โดย 55555 »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #102 เมื่อ: 19-09-2007, 11:30 » |
|
55555......โห โดนติดแก๊ส สอยร่วงมาหลายทู้แล้ว ...
ไม่ใช่ เก่งกว่า ทนงค์ แต่ ทนงค์ มันตัดสินใจผิด แล้วดันมาคุยว่าเก่งนีเดะ....แล้วยังมีคนก้มหัวงุ๊ด พยักหน้าหงึก ๆ บอกเก่งอีก...โห....เหลือเชื่อจริง ๆ ว่า มีเงินซื้อคอมพิวเตอร์มาเล่น......ทนงค์ พูดออกทีวี จ๊ะ ว่าอยากเห็น 29 บาท ต่อดอลล่าห์......
เงินบาท 29 ต่อ 1 ดอลล่า กับ 56 บาทต่อ 1 ดอลล่าห์ มันมีผลต่างกันจ๊ะ ไม่รู้จริง อ่ะ สงสัยไม่รู้แหง ๆ  โธ่ ก็แค่ว่า อยากเห็น จะเอาอะไรนักหนา จับผิดเล็กน้อยนี่หว่า คนเรามันก็ต้องมีความหวังเหมือนอย่างที่ว่า ความหวังคือเข็มทิศ แต่ความเน่าของประเทศเพราะประชาธิปัตย์วางรากฐานไว้มันไม่อำนวย ก็ต้องปล่อยไป ตามความเป็นจริง I have a dream. His desire for a future where people and elites would coexist harmoniously as equals.
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
login not found
|
 |
« ตอบ #103 เมื่อ: 19-09-2007, 11:32 » |
|
โธ่ ก็แค่ว่า อยากเห็น จะเอาอะไรนักหนา จับผิดเล็กน้อยนี่หว่า คนเรามันก็ต้องมีความหวังเหมือนอย่างที่ว่า ความหวังคือเข็มทิศ แต่ความเน่าของประเทศเพราะประชาธิปัตย์วางรากฐานไว้มันไม่อำนวย ก็ต้องปล่อยไป ตามความเป็นจริง
I have a dream. His desire for a future where people and elites would coexist harmoniously as equals.
เล่นง่าย ตอบง่าย แต่.......
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #104 เมื่อ: 19-09-2007, 11:59 » |
|
โธ่ ก็แค่ว่า อยากเห็น จะเอาอะไรนักหนา จับผิดเล็กน้อยนี่หว่า คนเรามันก็ต้องมีความหวังเหมือนอย่างที่ว่า ความหวังคือเข็มทิศ แต่ความเน่าของประเทศเพราะประชาธิปัตย์วางรากฐานไว้มันไม่อำนวย ก็ต้องปล่อยไป ตามความเป็นจริง
I have a dream. His desire for a future where people and elites would coexist harmoniously as equals.
เอ้า...จบกัน... 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
jerasak
|
 |
« ตอบ #105 เมื่อ: 19-09-2007, 15:45 » |
|
เท่าที่เคยติดตามข่าวสารบ้านเมืองมา ไม่เคยเห็นบทวิเคราะห์วิจารณ์ของใครยกย่องชมเชยทนง ในรอบสิบกว่าปีมานี้เพิ่งมีคุณอยากประหยัดฯ เป็นคนแรก .. แต่สำหรับคุณก็ไม่เหลือเชื่อหรอก  อ่านบทสัมภาษณ์อะไรที่เอามาลง ก็เห็นได้ชัดว่าทนงไม่ได้ทำอะไรที่แสดงฝีมือเลยในช่วงนั้น และความจริงก็ไม่เคยเห็นผลงานดีเด่นอะไรที่ไหนทั้งในอดีตมาจนถึงปัจจุบัน ที่เข้าไปรับตำแหน่ง รัฐมนตรีคลังต่อจาก ดร.อำนวย ก็เหมือนกับมารับงานเฉพาะกิจที่รู้อยู่แล้วคือเซ็นลอยค่าเงินบาท จะเรียกว่าเป็นฟรีแลนซ์มารับจ็อบได้ไหมนี่ ผลงานทั้งหมดตั้งแต่ลอยค่าเงิน จนถึงปิดไฟแนนซ์ กู้เงิน IMF แสดงความมี วิสัยทักษณ์จริงๆ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
= A dreamer lives for eternity.= == นักฝันมีชีวิตเพื่อนิรันดร์กาล ==
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #106 เมื่อ: 19-09-2007, 19:18 » |
|
กลับมาอ่านอีกที ยื่นคางเข้ามาก่อนเลยครับ กะว่า จะเจอหมัดน๊อค....ไม่ยักมีแฮะ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
ชัย คุรุ เทวา โอม
|
 |
« ตอบ #107 เมื่อ: 19-09-2007, 20:49 » |
|
ถ้าไม่มี ทนง ป่านนี้ไม่มีแซนวิชอร่อยๆของ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
"...สิ่งที่มนุษย์เราหวงแหนที่สุดก็คือชีวิต และก็เป็นสิ่งที่ให้แก่เขาเพื่อดำรงอยู่ได้แต่เพียงครั้งเดียว เขาจักต้องดำรงชีวิตอยู่เพื่อที่ว่าจะไม่ต้องทรมานใจด้วยความโทมนัสว่าวันเดือนปีที่ผ่านไปนั้นปราศจากจุดหมาย จักต้องไม่มีความรู้สึกอับอายว่าตนมีอดีตอันต่ำต้อยด้อยคุณค่า ชีวิตเช่นนี้ เมื่อตายลงก็สามารถพูดได้ว่าชีวิตของฉัน และพลังกายพลังใจทั้งหมดของฉันได้อุทิศให้แก่อุดมการณ์ที่ดีงามที่สุดแล้วในโลกนี้ นั่นคือการต่อสู้เพื่อกอบกู้อิสรภาพของมนุษย์..." คำรำพัน ณ สุสานสหายผู้เสียสละในการต่อสู้ปฏิวัติ จากนวนิยายโซเวียตยอดนิยมเรื่อง เบ้าหลอมวีรชน (How the Steel Was Tempered) นิโคไล ออสตร๊อฟสกี้ เขียน ค.ศ.1933 ******************************* เชิญเยี่ยมชมบล็อคครับ http://www.oknation.net/blog/amalit1990
|
|
|
หาเพื่อนหยิงคุยแก้เหงาครับ
|
 |
« ตอบ #108 เมื่อ: 19-09-2007, 20:58 » |
|
โอ้โหกลับมาอีกทีที่เวทีมวยฝั่งนี้ นักมวยประหยัดยิงปืนใส่ตัวเองซะงั้น แหมทำไปได้ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
ScaRECroW
|
 |
« ตอบ #110 เมื่อ: 21-09-2007, 08:49 » |
|
มาปูเสื่อ นั่งชันเข่า เกาคางรอ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
Politic is nothing but the continuation of [the sin of] 7 by other means.
ท่านคิดว่า นรม. ควรทำอย่างไรเมื่อพบว่ากฏหมายบางฉบับมีช่องโหว่? ก.ใช้อำนาจ นรม.ที่ได้รับมาจากประชาชนแก้กฏหมายเพื่อปิดช่องโหว่เหล่านั้น เพราะเป็นประโยชน์ของแผ่นดิน ข.ฉวยโอกาสใช้ช่องโหว่เหล่านั้นเพื่อประโยชน์ของตนเองและคนรอบข้าง แล้วก็อ้างว่าคนอื่นเขาก็ทำกัน
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #111 เมื่อ: 21-09-2007, 09:10 » |
|
เอ้า...จบกัน...  มารออะไรไม่ทราบ อ่านไม่ออกเรอะ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
หาเพื่อนหยิงคุยแก้เหงาครับ
|
 |
« ตอบ #112 เมื่อ: 21-09-2007, 09:27 » |
|
^ ^ ^ ^ ^ ยังไม่รู้ตัวอีกพูดไรออกไป  บอกได้คำเดียวว่าควายล้วนๆเลยหละ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #114 เมื่อ: 21-09-2007, 13:03 » |
|
* ตายแล้ว ... แถกสุด ๆ เลยนะเนี่ยข้อความนี้* ก็พี่เค๊าบอกแล้วไงว่า .........* ม่ายมีปัญญา แถก ในเรื่องที่พี่เค๊าถามละสิเนี่ยยย... 5555  เรื่องอะไร 29 บาทนั่นเหรอ รู้ได้ไงว่าล็อคไว้ที่ 29 บาท ไม่โดนถล่มต่อจนต้องลดแล้วลดอีกไปถึงห้าสิบกว่าบาท ลอยตัวก็ดีแล้วไง ที่ถามมาเนี่ย ลอยไม่ไหวเหรอเจ๊ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #115 เมื่อ: 21-09-2007, 19:41 » |
|
บอกแล้ว จะแก้ต่างให้ ก๊วนทักษิณ ต้องหมั่นหาความรู้ให้มากเข้าไว้......ลด กับ ลอย ตัว เงิน บาท.....มันให้ผลต่างกันครับ ลองไปอ่านบทความวีรพงษ์ ที่เอามาแปะ ช่วงต้น ๆ ตอนแถ ไม่ออก...อย่าเอาแต่แปะ ลองดูเนื้อหา แล้ว ทำความเข้าใจซะหน่อย....ไม่ใช่ เห็นชื่อ เห็นหัวเรื่อง ก็โดด ก๊อป เลย...เ 
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 21-09-2007, 20:00 โดย 55555 »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #116 เมื่อ: 22-09-2007, 10:02 » |
|
คราวนี้ย้อนกลับไปดูเรื่องเงินกู้ IMF กันบ้างทั้ง package จะเป็นเงินรวมกัน 17,000 กว่าล้าน USD โดยมาจากหลายๆ แหล่ง มีวงเงินต่างๆ กันคือ 1. IMF วงเงิน 4,000 ล้าน USD 2. JEXIM วงเงิน 4,000 ล้าน USD 3. Regional Central Banks วงเงิน 6,500 ล้าน USD 4. World Bank วงเงิน 1,200 ล้าน USD 5. ADB วงเงิน 1,500 ล้าน USD โดยรายการที่ 1 , 2 และ 3 มีกำหนดเบิกจ่ายให้เป็น 12 งวด และประเทศไทยเบิกจริงเพียง 8 งวดที่สำคัญคือ .. ใน 2 งวดแรกที่มีจำนวนเงินมากที่สุดนั้น ได้ดำเนินการอยู่ในช่วงรัฐบาล พล.อ.ชวลิต ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจชื่อ ทักษิณ ชินวัตร แม้ว่าเงินงวดที่ 2 จะมาเบิกจ่ายในเดือนแรกๆ ของรัฐบาลชวน 2 ก็ตาม --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- งวดที่ 1 1,618(IMF) + 1,664(JEXIM) + RegionalCentralBanks(2,200) = 5,482 ล้าน USD งวดที่ 2 809(IMF) + 744(JEXIM) + RegionalCentralBanks(1,000) = 2,553 ล้าน USD รวมกู้จากสมัยชวลิต+ทักษิณ+ทนง+สมคิด = 5,482+2,553 = 8,035 ล้าน USDงวดที่ 3 ถึง งวดที่ 8 สมัยชวน 2 IMF = 270+133+137+141+135+134 = 950.0 ล้าน USD JEXIM = 253+117+122+146+136+138 = 912.0 ล้าน USD RegionalCentralBanks = 740+582+226+209.8+187.25+192.25 = 2,137.3 ล้าน USD รวมกู้จากสมัยชวน2 = 950+912+2137.3 = 3999.3 ล้าน USD--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- http://www.bot.or.th/BOTHomepage/BankAtWork/AboutBOT/InternationalAffairs/InterCentralBank/IMF/8-11-2000-Th-i/imf.htm ผมเอา ข้อมูลของคุณจี ฯ มาพ่วงอีก จะได้รู้ และ เข้าใจ บทความบิดเบือน หลอกล่อ ของนายวีระพงษ์ รามางกูร ...ครับ..... 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Şiłąncē Mőbiuş
|
 |
« ตอบ #117 เมื่อ: 22-09-2007, 14:30 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
 “People should not be afraid of their governments. Governments should be afraid of their people.” . “ประชาชนไม่ควรกลัวรัฐบาลของตนเอง รัฐบาลต่างหากที่ควรกลัวประชาชน” .. แวะไปเยี่ยมกันได้ที่ http://silance-mobius.blogspot.com/ นะครับ .
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #118 เมื่อ: 22-09-2007, 14:46 » |
|
ผมเอา ข้อมูลของคุณจี ฯ มาพ่วงอีก จะได้รู้ และ เข้าใจ บทความบิดเบือน หลอกล่อ ของนายวีระพงษ์ รามางกูร ...ครับ.....
สับสนอะไรในชีวิตหรือเปล่า อ่านหัวข้อกระทู้ใหม่อีกทีก็ดีนะ ความจริงคือ...การปลดหนี้ IMF เป็นผลงานคุณทักษิณ: จริงแท้แน่นอน OKติดแก๊สไม่ได้พูดถึงเรื่องการสร้างหนี้ ซักหน่อย 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Şiłąncē Mőbiuş
|
 |
« ตอบ #119 เมื่อ: 22-09-2007, 15:00 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
 “People should not be afraid of their governments. Governments should be afraid of their people.” . “ประชาชนไม่ควรกลัวรัฐบาลของตนเอง รัฐบาลต่างหากที่ควรกลัวประชาชน” .. แวะไปเยี่ยมกันได้ที่ http://silance-mobius.blogspot.com/ นะครับ .
|
|
|
jerasak
|
 |
« ตอบ #120 เมื่อ: 22-09-2007, 16:34 » |
|
ตกลงก็สรุปได้ว่าคุณอยากประหยัดไม่เถียงเรื่องใครสร้างหนี้  ในเมื่อเป็นคนสร้างหนี้เอง พอก่อหนี้เสร็จเรียบร้อยแล้วก็ไม่ยอมอยู่หาเงินใช้หนี้ ให้คนอื่นเข้ามาทำงานรับหน้าในสภาพวิกฤติ พอสถานการณ์คลี่คลายพอมีเงินเก็บ คนก่อหนี้ค่อยกลับมาทำงานสบายๆ แล้วเสนอหน้าเอาผลงานว่าเป็นคนปลดหนี้.. แบบนี้จะถือว่าการปลดหนี้เป็นผลงานได้ยังไง.. ไม่หน้าด้านไปหน่อยหรือ? 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
= A dreamer lives for eternity.= == นักฝันมีชีวิตเพื่อนิรันดร์กาล ==
|
|
|
sleepless
|
 |
« ตอบ #121 เมื่อ: 22-09-2007, 17:18 » |
|
อ้าว ตกลงทักษิณควักเงินจ่าย IMF เองเลยหรือนี่ ผมเข้าใจผิดเสียตั้งนานว่าประชาชนตาดำๆ อย่างพวกผมต้องประหยัด หาเงินเข้ารัฐเพื่อปลดหนี้ แล้วไอ้ที่ทำงานหลังขดหลังแข็งหาเงินให้ประเทศมาหลายปีนี่ เจือกเองใช่ไหมเนี่ย อย่างงั้นเรียกทักษิณกลับมาอีกรอบดีกว่า 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #122 เมื่อ: 22-09-2007, 19:19 » |
|
ตกลงก็สรุปได้ว่าคุณอยากประหยัดไม่เถียงเรื่องใครสร้างหนี้  ในเมื่อเป็นคนสร้างหนี้เอง พอก่อหนี้เสร็จเรียบร้อยแล้วก็ไม่ยอมอยู่หาเงินใช้หนี้ ให้คนอื่นเข้ามาทำงานรับหน้าในสภาพวิกฤติ พอสถานการณ์คลี่คลายพอมีเงินเก็บ คนก่อหนี้ค่อยกลับมาทำงานสบายๆ แล้วเสนอหน้าเอาผลงานว่าเป็นคนปลดหนี้.. แบบนี้จะถือว่าการปลดหนี้เป็นผลงานได้ยังไง.. ไม่หน้าด้านไปหน่อยหรือ?  ก๊าก ก๊าก ก๊าก บ้าหน้าโง่ไม่รู้ว่าใครทำให้ต้องเป็นหนี้ ก็เอานี่ไปอ่านแล้วกัน http://www.info.tdri.or.th/reports/published/soporo/foreword.htm
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #123 เมื่อ: 22-09-2007, 19:22 » |
|
ข้อบกพร่องของโครงสร้างระบบการบริหารการเงินอันนำไปสู่วิกฤตการณ์และความไม่มีประสิทธิภาพ ในการตัดสินใจเชิงนโยบาย
วิกฤตการณ์เศรษฐกิจไทยครั้งนี้ มีจุดเริ่มมาจากการก่อหนี้ของภาคเอกชน แต่การดำเนินนโบายการเงินของรัฐก็มีส่วนทำให้ปัญหาการก่อหนี้บานปลาย อย่างแทบจะไม่มีขีดจำกัด
ขั้นตอนของความเพลี่ยงพล้ำในการดำเนินนโยบายการเงิน ลำดับได้ดังต่อไปนี้
1. ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) อาจเลือกที่จะไม่ให้เปิดตลาดเงินทุนเสรีตั้งแต่ พ.ศ. 2533 แต่ ธปท. ก็เลือกที่จะให้เปิด การตัดสินใจให้เปิดครั้งนั้น นับว่าเป็นผลพวงของแนวนโยบายที่เป็นมาโดยต่อเนื่องเป็นระยะยาวนาน และสะท้อนความต้องการ ของฝ่ายการเมืองในขณะนั้นอย่างเต็มที่ เมื่อนายวิจิตรเข้ามารับตำแหน่งเป็นผู้ว่าการ ก็สานต่อนโยบายนั้นอย่างขะมักเขม้น ถึงขั้นเปิดวิเทศธนกิจ ซึ่งก็ได้รับความเห็นชอบจากทุกฝ่าย 2. เมื่อ ธปท. เลือกที่จะเปิดตลาดเงินทุนให้เสรีแล้ว ธปท. ก็ควรเลือกที่จะให้อัตราแลกเปลี่ยนยืดหยุ่นมากกว่านี้ แต่ ธปท. ก็เลือกที่จะ รักษาช่วง (band) อัตราแลกเปลี่ยนที่แคบมากไว้ จะมาเริ่มพิจารณาก็ในเดือนเมษายน 2539 ซึ่งสายไปเสียแล้ว เพราะหลังจากนั้น อีกไม่กี่เดือน ปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ก็รุนแรงจนทำให้ ธปท. กลัวที่จะดำเนินการใดๆ อีกต่อไป เพราะเกรงว่าจะส่งสัญญาณผิด ให้กับตลาด 3. เมื่อ ธปท. เลือกที่จะรักษาช่วงอัตราแลกเปลี่ยนที่แคบไว้เช่นนั้น ก็หมายความว่าแนวนโยบายทางด้านอุปสงค์รวมจะต้อง มีความระมัดระวัง (conservative) เป็นพิเศษ โดยเฉพาะในระยะตั้งแต่ พ.ศ. 2537 เป็นต้นมา นโยบายการคลังเป็นเรื่องของรัฐบาล และรัฐสภาก็จริงอยู่ แต่ ธปท. ก็มิได้ผลักดันอย่างจริงจัง ให้รัฐบาลมีนโยบายเกินดุลซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในช่วงนั้น ส่วนนโยบายการเงิน ที่ดึงปริมาณเงินในประเทศก็ไร้ผล เพราะถูกลบล้างด้วยเงินกู้จาก ต่างประเทศที่ไหลเข้ามาอย่างต่อเนื่อง 4. เมื่อ ธปท. ไม่สามารถใช้นโยบายการคลังหรือการเงินได้ ก็ควรจะใช้มาตรการไม่ให้เงินกู้ไหลเข้าประเทศอย่างมากมายเสียตั้งแต่ต้น แต่มาตรการที่ประกาศเป็นมาตรการที่อ่อน และนำมาใช้เมื่อสายไปแล้ว คือหลังจากไทยมีหนี้สินระยะสั้นในระดับสูงมากเกินไปเสียแล้ว หายโง่กันยังจ๊ะ เหอ เหอ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #124 เมื่อ: 22-09-2007, 19:36 » |
|
เอาบทความนี้มาจากไหนอ่ะ หรือ เขียนเอง....อยากรู้ก่อน แล้ว ค่อยคุยต่อ..... 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #125 เมื่อ: 22-09-2007, 20:07 » |
|
เอาบทความนี้มาจากไหนอ่ะ หรือ เขียนเอง....อยากรู้ก่อน แล้ว ค่อยคุยต่อ.....  link ศปร นั่นไง แหมต้องให้ป้อนถึงปากเลยเรอะ ไม่เอาน่าหัดตะบันน้ำกินเองมั่ง 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #126 เมื่อ: 22-09-2007, 20:16 » |
|
อ๋อ ที่แท้ ก็ ศปร. นี่เอง ....ดูเหมือนบักจีด มันจะนั่งอยู่ในนั้นด้วยใช่ป่ะ.....
ฮ่องกง มันก็เปิดเสรี ...สิงคโปร์ มันก็เปิดเสรี ....ใช่ป่ะ.....ไม่เห็นมันมีปัญหาอะไรเลย......เค้าลอยตัวเงินสกุลของเค้าป่าว
อุตส่าห์บอกแล้ว ว่า ต้องไปศึกษาให้ดี เรื่องการลอยตัว ค่าเงินบาท กับ ลดค่าเงินบาท.....เตือนแล้วไม่ฟัง.....เอาเรื่อง BIBF ที่ ไอ้พวกไทยรักไทย มันใช้เป็นใบบอก มาแก้ตัว ความฉิบหายที่มันสร้างไว้......แล้วรู้ป่าว ถ้าลอยตัวเงินบาท ตอนนั้น เงินบาทมันจะเป็นไง...ติ๊กตอก ติ๊กตอก......บอกแล้ว จะเอาอะไรมาแปะ ต้องเข้าใจด้วยว่า อะไร 
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 22-09-2007, 20:29 โดย 55555 »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #127 เมื่อ: 22-09-2007, 20:28 » |
|
สับสนอะไรในชีวิตหรือเปล่า อ่านหัวข้อกระทู้ใหม่อีกทีก็ดีนะ ความจริงคือ...การปลดหนี้ IMF เป็นผลงานคุณทักษิณ: จริงแท้แน่นอน OKติดแก๊สไม่ได้พูดถึงเรื่องการสร้างหนี้ ซักหน่อย  ไม่ได้สับสนอะไรหรอก.....แต่เห็นทักษิณ คุยไว้ว่า เป็นคนกู้ชาติ......เพราะ สามารถ จ่ายหนี้ IMF.....งวดสุดท้าย.....ก็เลยต้องอธิบายกันก่อน ว่า มันไปกู้ชาติ ที่ใครเป็นคนละเลงไว้....หูยยย...เอาความดี ใส่ตัว...แล้วเอาความชั่วไปไปใส่ ปชป. ว่า เป็นคนขายชาติ.....มันยอดจริง ๆ ไอ้การตลาดชั่ว ๆ เนี่ย...แล้วที่ยก ข้อมูลของคุณ จี มาเนี่ย จะ เปิดหัวคุณแก๊สไง...ว่า ที่ วีระพงศ์ รำพีง รำพัน งึมงำในบทความน๊ะ มัน ก็แค่ รู้สึกผิด แล้วพยายามแก้ตัว.....รู้ก็ทั้งรู้ว่า IMFมันเอาเปรียบ มัน ก็แค่กำหนดนโยบาย...เพื่อรับประกันว่า จะได้เงินที่ให้กู้คืน....แล้ว ทนงค์ มันก็ยังไปเซ็นต์ ....ดูเหมือน ดร.โกร่ง จะนั่งอยู่ในห้องประชุมด้วยน๊ะ ...555 ไม่ได้เป็นเด็ดเสริฟน้ำน๊ะ..แต่ ดร.โกร่ง บอกเอง ในบทความ.....บอกแล้วววว....เอามาแปะ ต้องอ่านให้เข้าใจก่อน....5555
คุณแก๊ส...เห็น ที่ ดร.โกร่ง พูด ถึง มาเลเซีย ป่ะ......ว่า เค้าแก้ถูก.....จะบอกให้ .....มาเลเซีย เค้าแก้ปัญหาค่าเงินด้วยการลดค่าเงินริงกิตครับ..ไม่ใช่ลอยตัวโง่ ๆ แบบทนงค์ ครับ..... 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #128 เมื่อ: 22-09-2007, 22:04 » |
|
อ๋อ ที่แท้ ก็ ศปร. นี่เอง ....ดูเหมือนบักจีด มันจะนั่งอยู่ในนั้นด้วยใช่ป่ะ.....
ฮ่องกง มันก็เปิดเสรี ...สิงคโปร์ มันก็เปิดเสรี ....ใช่ป่ะ.....ไม่เห็นมันมีปัญหาอะไรเลย......เค้าลอยตัวเงินสกุลของเค้าป่าว
อุตส่าห์บอกแล้ว ว่า ต้องไปศึกษาให้ดี เรื่องการลอยตัว ค่าเงินบาท กับ ลดค่าเงินบาท.....เตือนแล้วไม่ฟัง.....เอาเรื่อง BIBF ที่ ไอ้พวกไทยรักไทย มันใช้เป็นใบบอก มาแก้ตัว ความฉิบหายที่มันสร้างไว้......แล้วรู้ป่าว ถ้าลอยตัวเงินบาท ตอนนั้น เงินบาทมันจะเป็นไง...ติ๊กตอก ติ๊กตอก......บอกแล้ว จะเอาอะไรมาแปะ ต้องเข้าใจด้วยว่า อะไร  ถ้าใครในนี้มันจะเก่งกว่าคนที่สรุป ศปร ก็คงไม่อยู่ในบอร์ดกะโหลกกะลาหรอกนะ ตรรกะง่ายๆ ประเภทที่ว่าเอาข้อมูลมาไม่ครบแล้วก็จินตนาการน้ำแตกถึงเรื่องในอดีต ทั้งที่มีระดับมันสมอง ของประเทศเค้าสรุปไว้อย่างดีแล้ว ก็ดันไม่คิดจะเชื่อ คงต้องปล่อยให้งมงายอยู่ในโลกกะลาใบ นี้ต่อไป เอาเราไปเทียบกับ ฮ่องกง สิงคโปร์ง่ายๆ ก็ผิดแล้ว เรื่องพวกนี้รายละเอียดเยอะมาก นี่ยกตัวอย่างไม่ใช่ความจริงครึ่งเดียวแล้ว แค่เศษเสี้ยวฝุ่นขี้ตรีนเดียวของความจริงเอง สำหรับมาเลเซียก็ไม่บอกล่ะว่าเค้าปิดประเทศด้วย นอกจากลดค่าเงินแล้ว จะบอกให้รู้ไว้ว่า มาเลเซียเป็นประเทศอิสลาม ถ้าตกอับยากจนไม่มีที่ไป ก็ยังมีกองทุนมุสลิมจากประเทศอื่นๆ ช่วยเหลือวิเคราะห์อะไรให้ทั่วถึงหน่อยนะจ๊ะ แค่เศษเสี้ยวฝุ่นขี้ตรีนของข้อมูล อย่ายกขึ้นมาเลย มันมั่วอ่ะ จะยกชั้นนายจีนั่นเทียบ ดร.โกร่ง เลยเหรอ แหมโจ๊กยามดึก ทำไปด้าย 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #129 เมื่อ: 22-09-2007, 22:10 » |
|
ฮ่า ๆ ตกลงจะเชื่อโกร่ง หรือ ไม่เชื่อแน่....โกร่งมันบอกเองว่า มาเลมันแก้ถูก นั่นเป็นตัวอย่างเล็ก......สงสัย คุณแก๊ส ยิ่งเล่นบอร์ด ยิ่งโง่ ลงทุกวัน อ่านอะไร ก็เชื่อหมด คิดไม่เป็นซะแระ......แล้วไม่สงสัย มั่งเหรอ ทำไม สิงคโปร์ กับ ฮ่องกง มันไม่ลอยตัว.....
โกร่ง มันฉลาดหรือโง่ ไม่รู้ ออกมาบอกหมด....ไม่ต้องเจรจา..IMF มันบอกว่า ว่า มี LOI สำเร็จรูปมาแล้ว....แล้ว ไปเซ้นต์ กับมันทำไม 2 ฉบับ.....
ตกลง คิดเอง เป็นยัง ว่า ตอนทีเค้าเปิดการเงินเสรี แล้ว ...ค่าเงินมันจะเป็นไง ถ้าลอยตัว หรือ ขยายแบนด์ตอนนั้น....มีสติปัญญาพอป่าวน๊อ...สมองทึบแบบนี้......สงสัย เห็นรูปคนหน้าเหลี่ยมปุ๊บ ยกมือไหว้ก่อนเลย ....ไม่รู้ใช่ทักษิณ ป่าว....55555..... 
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 22-09-2007, 22:16 โดย 55555 »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #130 เมื่อ: 23-09-2007, 09:23 » |
|
ทีนี่ข้า ฯ น้อย 55555 ผู้เป็น เศษฝุ่น ขอ วิพากษ์บทความ ของท่าน ปรมาจารย์ โกร่ง หน่อยครับ ท่านเมื่อคืนวันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคมปีนี้ ผมคอยฟังสุนทรพจน์ของท่านนายกรัฐมนตรีที่กล่าวกับประชาชน เนื่องจากเป็นวันที่เราชำระหนี้ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ 2 งวดหมดก่อนกำหนดถึง 2 ปี ที่จริงจะใช้ให้หมดเสียแต่ต้นปีก็ได้ แต่บังเอิญขณะนั้นกำลังจะมีสงครามในตะวันออกกลาง น้ำมันกำลังขึ้นราคา แล้วต่อมาก็ตามมาด้วยโรคทางเดินหายใจอักเสบอย่างเฉียบพลัน ก็เลยชะลอไว้ก่อนจ่ายเป็นงวดๆ
ขณะที่ฟังสุนทรพจน์ของท่านออกทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจ ผมรู้สึกว่ามีอารมณ์ร่วมกับท่านนายกฯเป็นอย่างมาก ฟังจบแล้วก็รู้สึกโล่งใจ ยินดีปรีดาไปกับรัฐบาลและประชาชนคนไทยด้วย ยินดีว่าเราจะสามารถดำเนินนโยบายการเงินการคลังของเราเองได้
ดีใจที่เราชำระหนี้ไอเอ็มเอฟได้หมด แล้วก็ก่อนเวลาด้วย โดยไม่ต้องรวมบัญชี "ทุนสำรองเงินตรา" กับทุน "สำรองทั่วไป" อย่างที่เคยคิดจะทำกัน โดยจะเอามรดกเก่ามาใช้เขา เราใช้หนี้ไอเอ็มเอฟได้หมดโดยไม่ต้องขายรัฐ วิสาหกิจเอามาใช้หนี้ ซึ่งทั้งสองรายการนี้เราเคยคิดจะทำกันอยู่เมื่อ 4-5 ปีก่อนแต่เราใช้หนี้ไอเอ็มเอฟได้โดยการทำมาหาเงินตราต่างประเทศได้เองจากนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน และนโยบายดอกเบี้ยที่ถูกต้อง ใช้ระยะสองปีครึ่งที่ผ่านมา ดีใจที่ใช้หนี้ไอเอ็มเอฟหมดแล้วและทุนสำรองของเราไม่ได้ลดลงเลย แต่ตรงกันข้ามทุนสำรองของเรากลับมีมากขึ้น เพียงพอที่จะใช้รักษาเสถียรภาพของเงินบาทของเราได้หากมีเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันเกิดขึ้น
ไม่เห็นท่าน ฯ เล่าให้ฟังเลย ว่า ที่ทักษิณ บอกจ่ายก่อนเวลา น๊ะ จ่ายหมดทั้งก้อน...หรือ จ่าย เฉพาะส่วนที่ เป็นหนี้ IMF พันกว่าล้าน...แล้วมาโม้ว่าปลดหนี้หมดแล้ว.......แล้วเรื่องขายรัฐวิสาหกิจ ท่านทำไมไม่บอกล่ะ ว่า ท่านกับ ทนงค์ ไปตกปากรับคำไว้ ใน LOI ฉบับที่ 1 ที่ท่าน กับ ทนงค์ ช่วยกัน ดูแลในสมัย บิ๊กจิ๋ว ...ส่วนเรื่องนโยบาย ดอกเบี้ย มันลดมาตั้งแต่ ยุครัฐบาลก่อนหน้า ทักษิณ แล้วครับ....อ๋อ ต่อมาภายหลัง ทักษิณ มันก็ยังจะขาย อยู่น๊ะ ท่าน ฯ แต่ โชคดี ที่ กฏหมายไม่ผ่าน...ไม่งั้นเสร็จมันอีก......
ตื่นเช้าวันที่ 1 สิงหาคม ซึ่งตรงกับวันเกิดครบ 5 รอบของผม จึงรู้สึกเบิกบานใจเหมือนกับได้ของขวัญวันเกิดที่วิเศษสุดในชีวิต เพราะผมเองรู้สึกขมขื่นกับไอเอ็มเอฟมานานถึง 5-6 ปี แล้วก็นำธงชาติขึ้นปักที่ประตูหน้าบ้าน ตามคำชักชวนของท่านนายกรัฐมนตรีเป็นที่เรียบร้อยแล้วจึงได้ออกจากบ้านไปทำงาน
ครั้งนี้ไม่ใช่ครั้งแรกที่ผมได้สัมผัสกับไอเอ็มเอฟ ครั้งแรกที่ได้สัมผัสกับไอเอ็มเอฟในปี 2524 ปี 2525 และปี 2528 ในสมัยรัฐบาลป๋า ซึ่งขณะนั้นประเทศไทยของเราก็ประสบกับวิกฤตการณ์เศรษฐกิจการเงินเหมือนกัน แต่สืบเนื่องมาจากวิกฤตการณ์น้ำมันครั้งที่ 2
สมัยนั้นผมได้เข้าไปยุ่งเกี่ยวด้วย เพราะจะต้องเป็นคนไปอธิบายชี้แจงป๋าเพื่อจะต้องลงนามใน "จดหมายแสดงเจตนา" หรือ "Letter of Intent" ครั้งนั้น เราต้องเบิกเงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศถึง 5 งวด แต่ความรู้สึกของผมกับไอเอ็มเอฟยุคนั้นกับไอเอ็มเอฟยุคนี้ต่างกันเหมือนฟ้ากับดิน หัวหน้าคณะของไอเอ็มเอฟยุคนั้นชื่อสก็อตต์ ชื่อต้นว่ายังไงก็ลืมเสียแล้ว เป็นชาวอังกฤษ การทำงานเป็นการทำร่วมกัน ระหว่างทีมไอเอ็มเอฟกับทีมคนไทย ส่วนใหญ่จะเป็นความเห็นของคนไทยเสียเป็นส่วนใหญ่ คุณสก็อตต์จะเป็นผู้ไปเสนอ กรรมการบริหารไอเอฟเอฟ ส่วนผมจะแอบไปชี้แจงป๋ากับท่าน รมต.ศุรี มหาสันทนะ
ตอนยุคป๋า ความรู้สึก ท่านฯ ก็คงเหมือน จาตุรนต์ ฉายแสง.....เพราะ เป็นแค่รัฐมนตรีช่วย...ท่านฯ โชคดีหน่อย ตรงที่ คุณสมหมาย ฮุนตระกูล..กับ ป๋า แก้แล้วจบ เลยออกมาโม้ได้บ่อย ๆ ......แต่ ตอนยุค ปี 40 ที่ ท่าน ฯ กับ ทนงค์ กำกับ...แก้แล้ว ชิบหาย....จาตุรนต์ มันเลยไม่เคยออกมาโม้ไง ว่า มันเข้าไปเป็นเด็กส่งสารในยุคนั้น 55555......ก็ท่าน ฯ ไม่ได้เจรจาเลย...เค้าว่าไง ก็ว่างั้น.....เดินตามตูด อย่างเดียว.....เอ๊ะ ทักษิณ มันส่งลิ่วล้อ มาป้ายสี ใครหว่า...ชอบเดินตามตูด IMF
......................................
มาคราวนี้ในการเจรจากับไอเอ็มเอฟ เมื่อผมเข้าไปเป็นรองนายกรัฐมนตรี บรรยากาศเป็นคนละเรื่องกับคราวก่อน ดร.สแตนลี ฟิชเชอร์ รองผู้อำนวยการใหญ่คนที่หนึ่งของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ขอนัดพบรองนายกฯ โดยให้มารับประทานข้าวเช้าด้วย ที่โรงแรมโอเรียนเต็ล ไม่ได้ขอมาพบที่ทำงาน โดยอ้างว่าไม่มีเวลา ผมต้องยอมลดเกียรติของตำแหน่งไปพบ เพราะคิดว่าต้องพึ่งเงินกู้จากเขา ผมนึกในใจว่า ดร.ฟิชเชอร์ลงทุนบินมาเมืองไทยทั้งที ไม่มีเวลาแม้กระทั่งจะพบกับรองนายกฯ แล้วมาทำไมก็ไม่รู้ แต่ก็ไม่ได้พูดออกมา แค่มากินข้าวเช้าด้วยกันมื้อเดียว จะได้เรื่องอะไร ผมบอกเขาว่าเราควรจะปรึกษาหารือกันว่าที่เจ้าหน้าที่ทำข้อเสนอเรื่องนโยบายมานั้นถูกต้องหรือไม่ เขาบอกว่าทางไอเอ็มเอฟมีผู้เชี่ยวชาญอยู่แล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งนายฮูแบรต ไนส์ กับทีมงานของเขา ผมไม่ต้องทำอะไรหรอก เขาจะเตรียมหนังสือแสดงเจตนามาให้เอง เพราะมีแบบมาตรฐานอยู่แล้ว
ตัวเขาเองต้องดูแลประเทศต่างๆ ที่มีปัญหาทางการเงินอยู่ทั่วโลก ไม่มีเวลาจะมาดูแลประเทศใดประเทศหนึ่งโดยเฉพาะ ผมนึกในใจว่าถ้านายคนนี้มีความคิดแบบนี้ บ้านเราคงแย่แน่
แล้วก็เป็นอย่างที่คิด ไอเอ็มเอฟเที่ยวนี้มองประเทศไทยเหมือนกับประเทศ เอนพีแอล จุดมุ่งหมายมีอย่างเดียวทำอย่างไรปล่อยเงินกู้ไปแล้วเขาจะได้เงินคืน
นโยบายที่ไอเอ็มเอฟบังคับให้เราทำในเวลาต่อมาจึงไม่ใช่มุ่งประเด็นประคับประคองสถานการณ์ซึ่งอย่างไรก็ต้องแย่อยู่แล้ว ไม่ได้มุ่งฟื้นฟูเศรษฐกิจ แต่บีบให้ทุกอย่างหดตัวลงทุกทาง ทั้งในด้านการเงินการคลัง ทั้งสถาบันการเงินให้ปิดสถาบันการเงิน ประฌามประเทศไทยว่ามีแต่ผู้บริหารที่คดโกงทั้งในภาครัฐบาลและภาคเอกชน ไม่โปร่งใส ไม่มีธรรมาภิบาลในบริษัท (bad governance) ทั้งๆ ที่เจ้าหนี้ฝรั่งทั้งหลายเวลาปล่อยเงินกู้ก็ปล่อย เพราะผู้บริหารที่เขาประฌามนั่นเอง
แล้วท่าน กับ ทนงค์ ไปเซ็นต์ กับมัน ทำไม ครับ บ้าป่าว......ฮ่า ๆ
.......................................................................................................................................................................
ไอเอ็มเอฟมาใหม่บอกว่า ไม่ได้ต้องเป็นไปตาม "กลไกตลาด" รัฐบาลห้ามเข้ามายุ่งเกี่ยว ใครจะล้มจะมีผลกระทบอย่างไร อย่าเข้าไปยุ่ง รัฐบาลมีหน้าที่ปัดกวาดสถาบันการเงินให้สะอาด มีหน้าที่บีบบังคับให้สถาบันการเงินมีการสำรองให้พอกับหนี้เสีย ซึ่งได้เปลี่ยนคำจำกัดความให้เข้มงวดยิ่งขึ้น แล้วต้องเพิ่มทุนให้พอ ถ้าเพิ่มทุนไม่ได้ก็ให้ขายออกไปให้ต่างชาติเสีย
ธนาคารและสถาบันการเงินต่างๆ ก็ต้องลดขนาดของตนลง (down sizing) โดยการเรียกหนี้คืน ตัดสินเชื่อ ฯลฯ อย่างที่เราเห็นกัน
คำจำกัดความของหนี้เสียแทนที่จะเข้มงวดตอนเศรษฐกิจร้อนแรงแล้วก็ผ่อนคลายตอนเศรษฐกิจมีวิกฤต แต่ให้ทำกลับกัน
แล้วท่าน ฯ ไปทำตามมันทำไม....แล้ว ทำไมทักษิณ มันเสือกไปป้ายสี คนอื่นครับ....ทำไมมันไม่บอกว่า ท่าน ฯ กับ ทนงค์ เป็นคนทำล่ะคร๊าบบ...ผมงง
ทุกอย่างถ้ารัฐบาลเข้าไปช่วยหรือผ่อนคลาย หรือให้ลูกหนี้เข้ามาซื้อหนี้เสียของตนคืนหรือเจรจาประนอมหนี้ไม่ได้เพราะจะเป็น "อันตรายต่อศีลธรรม" หรือ "เสียวัฒนธรรมของการเป็นลูกหนี้" แต่ถ้าฝรั่งประมูลถูกๆ แล้วไปเจรจาประนอมหนี้กับลูกหนี้ได้ไม่เป็น "อันตรายต่อศีลธรรม" หรือไม่ "เสียวัฒนธรรมของการเป็นลูกหนี้"
ที่น่าช้ำใจที่สุดก็คือ รัฐบาลในยุคนั้นกลับไปเห็นดีเห็นงามกับเขาไปเสียหมด สุนทรพจน์ของผู้นำไทย ในการประชุมระหว่างประเทศฟังแล้วเหมือนสุนทรพจน์ของไอเอ็มเอฟ มากกว่าเป็นสุนทรพจน์ของผู้นำของเรา
ไอ้ที่บอกมาเนี่ย ท่านทำทั้งหมด...เพราะดันไปรับปากเค้าไว้.....ไปเซ็นต์ ข้อตกลงไว้....แล้ว ทำไมไม่เขียนบอกมาให้หมดล่ะคร๊าบบบบบ....หลังจากเปลี่ยนรัฐบาล..เป็นชวน 2 .....เค้าทำไปได้ ระยะหนึ่ง....พอเริ่มนิ่ง....เค้า ก็ผ่อนคลายแล้วครับ.....ไม่ใช่มาเริ่มในยุคทักษิณ....ทำไมไม่บอกให้หมด...ปล่อยให้ ศิษย์ ผู้ภักดี..อย่าง คุณแก๊ส ฯ โง่ตายเล๊ยยยย
เมื่อมาเลเซียประกาศนโยบายที่เขาคิดว่าเหมาะสมกับมาเลเซีย ไม่เป็นไปตามสูตรสำเร็จของไอเอ็มเอฟ กองทุนการเงินระหว่างประเทศรวมทั้งพวกเราในยุคนั้นด้วยก็รุมประฌามมาเลเซียกันใหญ่ และทำนายว่ามาเลเซียจะต้องแย่จะต้องล้มละลาย ภายหลังจึงยอมรับว่ามาเลเซียทำถูก
ทีนี้ ท่าน ฯ ก็รู้แล้วดิ ว่า ที่ท่านทำไป มันผิดจากที่ควรจะเป็น โคตรเดียว.....ท่านฯ อธิบายคุณแก๊ส หน่อยดิ....ยังโงหัวไม่ขึ้นเลย ในที่สุดไอเอ็มเอฟเองก็ต้องยอมรับว่า ยาที่ตัวปรุงให้ประเทศไทยนั้นผิด นายกองเดส์ซูส์ นายสแตนลี ฟิชเชอร์ นายฮูแบรต ไนส์ ก่อนครบวาระต้องลาออกกันหมด แต่ผู้ที่ต้องรับกรรมเพราะความผิดพลาดของไอเอ็มเอฟคือประชาชนคนไทย เกียรติภูมิของไอเอ็มเอฟตั้งแต่นั้นมาก็ตกต่ำลงเป็นอันมาก
บทเรียนที่เจ็บปวดครั้งนี้ควรจะต้องเขียนบันทึกเอาไว้อย่างละเอียด เพื่อเป็นประโยชน์แก่ประเทศอื่นๆ ที่ต้องพึ่งไอเอ็มเอฟในยามมีวิกฤตและเป็นบทเรียนกับเจ้าหน้าที่ไอเอ็มเอฟชุดใหม่ด้วย
สำหรับบ้านเราหวังว่าจะไม่ต้องไปยุ่งกับไอเอ็มเอฟอีก
ผมก็หวังเป็นอย่างยิ่ง ว่า ท่าน ฯ คุณทนงค์ รวมทั้งคุณทักษิณ จะไม่มามีหน้าที่ กำกับนโยบาย บริหารเศรษฐกิจ ของประเทศอีก ต่อไป ..เราจะได้ไม่ต้องไปกราบอ้อนวอน IMF โดยที่ไม่ได้ต่อรองอะไรเลย เหมือนที่ ท่าน ทำตอนปี 40 ครับ..........
คอลัมน์ คนเดินตรอก โดย วีรพงษ์ รามางกูร ประชาชาติธุรกิจ หน้า 2 วันที่ 11 สิงหาคม 2546 ปีที่ 27 ฉบับที่ 3504 (2704)
คุณจี อุตส่าห์ เสาะแสวงหา ข้อมูล..มาเปิดกระโหลกให้ ยัง ไปด่าเค้าาอีก......ไม่น่าเชื่อ มีเงินซื้อข้าวกินได้ไงเนี่ย....5555 "จินตนาการนำแตก " 
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 23-09-2007, 09:28 โดย 55555 »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #131 เมื่อ: 23-09-2007, 10:21 » |
|
^ ^ วนเวียน งมงาย ไม่เลิกแฮะ ศปร เค้าสรุปไปหมดแล้ว ส่วนการตัดสินใจลดหรือลอย เมื่อตอนเกิดวิกฤตการณ์ ไม่มีใครรู้อนาคตหรอก ถ้าลดจะให้ลดแบบมาเลย์ แล้วปิด ประเทศ ใช้นโยบายแข็งกร้าว เกิดไม่มีใครคบขึ้นมาปล่อยให้เน่า แล้วจะเอาเงินที่ ไหน ลำบากกันทั้งประเทศแบบยาวไม่เห็นฝั่ง เราก็เป็นสมาชิกไอเอ็มเอฟอยู่แล้ว ไม่ได้มีกองทุนประเทศอิสลามให้กู้ คิดซะมั่ง สงสัยเวลาดูบอลชอบวิจารณ์ตอนจบ เกมส์อะดิ โธ่ ง่ายๆ แบบนี้ใครก็ทำเป็น 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
jerasak
|
 |
« ตอบ #132 เมื่อ: 23-09-2007, 15:19 » |
|
เมื่อคืนวันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคมปีนี้ ผมคอยฟังสุนทรพจน์ของท่านนายกรัฐมนตรีที่กล่าวกับประชาชน เนื่องจากเป็นวันที่เราชำระหนี้ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ 2 งวดหมดก่อนกำหนดถึง 2 ปี ที่จริงจะใช้ให้หมดเสียแต่ต้นปีก็ได้ แต่บังเอิญขณะนั้นกำลังจะมีสงครามในตะวันออกกลาง น้ำมันกำลังขึ้นราคา แล้วต่อมาก็ตามมาด้วยโรคทางเดินหายใจอักเสบอย่างเฉียบพลัน ก็เลยชะลอไว้ก่อนจ่ายเป็นงวดๆ
ขณะที่ฟังสุนทรพจน์ของท่านออกทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจ ผมรู้สึกว่ามีอารมณ์ร่วมกับท่านนายกฯเป็นอย่างมาก ฟังจบแล้วก็รู้สึกโล่งใจ ยินดีปรีดาไปกับรัฐบาลและประชาชนคนไทยด้วย ยินดีว่าเราจะสามารถดำเนินนโยบายการเงินการคลังของเราเองได้
ดีใจที่เราชำระหนี้ไอเอ็มเอฟได้หมด แล้วก็ก่อนเวลาด้วย โดยไม่ต้องรวมบัญชี "ทุนสำรองเงินตรา" กับทุน "สำรองทั่วไป" อย่างที่เคยคิดจะทำกัน โดยจะเอามรดกเก่ามาใช้เขา เราใช้หนี้ไอเอ็มเอฟได้หมดโดยไม่ต้องขายรัฐวิสาหกิจเอามาใช้หนี้ ซึ่งทั้งสองรายการนี้เราเคยคิดจะทำกันอยู่เมื่อ 4-5 ปีก่อน
...
คอลัมน์ คนเดินตรอก โดย วีรพงษ์ รามางกูร ประชาชาติธุรกิจ หน้า 2 วันที่ 11 สิงหาคม 2546 ปีที่ 27 ฉบับที่ 3504 (2704)
เนื้อหาใน LOI ฉบับที่ 1 ที่ลงนามในรัฐบาลชวลิต ระบุว่า รัฐบาลจะดำเนินการปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆ รวมถึงเสนอ กฎหมายทุนรัฐวิสาหกิจ (Corporatization Law)ทำให้ในเวลาต่อมามีการตั้ง คณะกรรมการกำกับนโยบายด้านรัฐวิสาหกิจ (กนร.) หน้าที่สำคัญคือจัดทำ ร่าง พ.ร.บ. ทุนของรัฐวิสาหกิจ (เรียกง่ายๆ คือจะแปรรูปรัฐวิสาหกิจ) ซึ่งในที่สุก กนร. นี้ก็ได้รับหลักการร่าง พ.ร.บ. ทุนของรัฐวิสาหกิจ เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2540 ประธานคณะกรรมการกำกับนโยบายด้านรัฐวิสาหกิจ ชุดนั้นชื่อ ทักษิณ ชินวัตร  ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ในที่สุดเราไม่ต้องขายรัฐวิสาหกิจใช้หนี้ IMF แต่ขายให้เป็นสมบัติของคนบางคนในยุครัฐบาลทักษิณ ซึ่งเคยจัดทำ ร่าง พรบ.แปรรูปฯ มากับมือนี่เอง .. ถ้าศาลไม่คุ้มครองป่านนี้ กฟผ. คงเรียบร้อยไปอีกราย
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 23-09-2007, 15:24 โดย jerasak »
|
บันทึกการเข้า
|
= A dreamer lives for eternity.= == นักฝันมีชีวิตเพื่อนิรันดร์กาล ==
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #133 เมื่อ: 23-09-2007, 16:37 » |
|
ในที่สุดเราไม่ต้องขายรัฐวิสาหกิจใช้หนี้ IMF แต่ขายให้เป็นสมบัติของคนบางคนในยุครัฐบาลทักษิณ ซึ่งเคยจัดทำ ร่าง พรบ.แปรรูปฯ มากับมือนี่เอง .. ถ้าศาลไม่คุ้มครองป่านนี้ กฟผ. คงเรียบร้อยไปอีกราย
ผลของการออกกฎหมายแปรรูปรัฐวิสาหกิจนั่นเหรอ ในช่วงภาวะวิกฤตสำนักงานทรัพย์สินฯ ที่ขาดสภาพคล่องทางการเงิน สำนักงานทรัพย์สินฯ ในปี 2544 ได้ใช้ที่ดินของทรัพย์สินฯ บริเวณสวนมิสกวัน และบริเวณคุรุสภา จำนวน 14,100 ตารางวา ซึ่งมีมูลค่า 1,198.5 ล้านบาท ไปแลกกับหุ้นของกระทรวงการคลังเพื่อไปเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) ซึ่งกระทรวงการคลังได้จัดสรรหุ้นให้แก่สำนักงานทรัพย์สินฯ จำนวน34,242,857 หุ้น (ราคาหุ้นละ 35 บาท) โดยต้นปี 2547 ราคาหุ้นของ ปตท. มีราคาเพิ่มขึ้นมาถึง 5 เท่าตัว โดยมายืนอยู่ ณ ระดับ 140 170 บาท ส่งผลให้สำนักงานทรัพย์สินฯ มีกำไรจากการเพิ่มมูลค่าหุ้น ปตท. ไปเป็นจำนวนถึงกว่า 35,000 ล้านบาท ในเดือนกันยายน 2547 สำนักงานทรัพย์สินฯ ถือหุ้นใน ปตท. เท่ากับ 16.4 ล้านหุ้นhttp://www.bangkokbiznews.com/2006/special/bizNes/Porphant/ดีหรือไม่ดีหละครับพี่น้อง ไม่งั้นบางองค์กรที่มั่งคั่งที่สุดในประเทศอาจเหลือแต่ชื่อนาคับ เหอ เหอ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
login not found
|
 |
« ตอบ #134 เมื่อ: 23-09-2007, 16:53 » |
|
ดีหรือไม่ดีหละครับพี่น้อง ไม่งั้นบางองค์กรที่มั่งคั่งที่สุดในประเทศอาจเหลือแต่ชื่อนาคับ เหอ เหอ  ฉลาดมากเลยครับ ขายสมบัติเก่ากิน ได้ตัวเลขในบัญชี 3หมื่นล้าน แต่ขาดทุนส่วนต่างที่มาจากกำไรของบ.ปีละหมื่นล้าน
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #135 เมื่อ: 23-09-2007, 17:19 » |
|
^ ^ วนเวียน งมงาย ไม่เลิกแฮะ ศปร เค้าสรุปไปหมดแล้ว ส่วนการตัดสินใจลดหรือลอย เมื่อตอนเกิดวิกฤตการณ์ ไม่มีใครรู้อนาคตหรอก ถ้าลดจะให้ลดแบบมาเลย์ แล้วปิด ประเทศ ใช้นโยบายแข็งกร้าว เกิดไม่มีใครคบขึ้นมาปล่อยให้เน่า แล้วจะเอาเงินที่ ไหน ลำบากกันทั้งประเทศแบบยาวไม่เห็นฝั่ง เราก็เป็นสมาชิกไอเอ็มเอฟอยู่แล้ว ไม่ได้มีกองทุนประเทศอิสลามให้กู้ คิดซะมั่ง สงสัยเวลาดูบอลชอบวิจารณ์ตอนจบ เกมส์อะดิ โธ่ ง่ายๆ แบบนี้ใครก็ทำเป็น  ยังไม่เลิกโง่อีกแฮะ.....สงสังอ่านหนังสือไม่รู้เรื่อง  เมื่อมาเลเซียประกาศนโยบายที่เขาคิดว่าเหมาะสมกับมาเลเซีย ไม่เป็นไปตามสูตรสำเร็จของไอเอ็มเอฟ กองทุนการเงินระหว่างประเทศรวมทั้งพวกเราในยุคนั้นด้วยก็รุมประฌามมาเลเซียกันใหญ่ และทำนายว่ามาเลเซียจะต้องแย่จะต้องล้มละลาย ภายหลังจึงยอมรับว่ามาเลเซียทำถูก
....... ดร.โกร่งพูด ผม เห็นด้วย.....นี่ คุณแก๊ส กล้าเถียงปรมาจารย์ หรือนี่....55555ไหน ลองบอกหน่อยดิ ว่า ที่ ข้าน้อย วิพากษ์ ท่านปรมาจารย์.โกร่ง ตรงไหน ไม่จริง มั่ง......."ส่วนการตัดสินใจลดหรือลอย เมื่อตอนเกิดวิกฤตการณ์".........บอกแล้ว ว่า ไปศึกษาดูให้ดีก่อน แล้ว ค่อยเถียง.......เคยเข้าตลาดหุ้นป่ะ.....  ไหนลองอธิบายหน่อยดิ ตอนเปิดเสรี ทางการเงิน หากรัฐบาลในตอนนั้น ตัดสินใจ ขยายแบนด์...หรือ ลอยค่าเงินบาท ...มันดีกว่า ไม่ทำอะไรเลยยังไง....555 อ่านแล้วเชื่อเลย ไม่มีสมองคิดเหรอ....บักจืด นี่มันน่าเชื่อถือจริง จริ๊ง เอาซีรอกซ์ ปรส.กับ ศปร. มาหลอกพวกหน้าโง่ ได้หลายตังเหมือนกันวุ้ย 555 มีอะไรจะแปะอีกม่ะ..... 
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 23-09-2007, 17:26 โดย 55555 »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #136 เมื่อ: 23-09-2007, 17:39 » |
|
5555 ตอบแล้ว อย่าเพิ่งหนีไปไหน......คุยกันก่อนก็ได้.... 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #137 เมื่อ: 23-09-2007, 17:42 » |
|
ยังไม่เลิกโง่อีกแฮะ.....สงสังอ่านหนังสือไม่รู้เรื่อง  เมื่อมาเลเซียประกาศนโยบายที่เขาคิดว่าเหมาะสมกับมาเลเซีย ไม่เป็นไปตามสูตรสำเร็จของไอเอ็มเอฟ กองทุนการเงินระหว่างประเทศรวมทั้งพวกเราในยุคนั้นด้วยก็รุมประฌามมาเลเซียกันใหญ่ และทำนายว่ามาเลเซียจะต้องแย่จะต้องล้มละลาย ภายหลังจึงยอมรับว่ามาเลเซียทำถูก
....... ดร.โกร่งพูด ผม เห็นด้วย.....นี่ คุณแก๊ส กล้าเถียงปรมาจารย์ หรือนี่....55555ไหน ลองบอกหน่อยดิ ว่า ที่ ข้าน้อย วิพากษ์ ท่านปรมาจารย์.โกร่ง ตรงไหน ไม่จริง มั่ง......."ส่วนการตัดสินใจลดหรือลอย เมื่อตอนเกิดวิกฤตการณ์".........บอกแล้ว ว่า ไปศึกษาดูให้ดีก่อน แล้ว ค่อยเถียง.......เคยเข้าตลาดหุ้นป่ะ.....  ไหนลองอธิบายหน่อยดิ ตอนเปิดเสรี ทางการเงิน หากรัฐบาลในตอนนั้น ตัดสินใจ ขยายแบนด์...หรือ ลอยค่าเงินบาท ...มันดีกว่า ไม่ทำอะไรเลยยังไง....555 อ่านแล้วเชื่อเลย ไม่มีสมองคิดเหรอ....บักจืด นี่มันน่าเชื่อถือจริง จริ๊ง เอาซีรอกซ์ ปรส.กับ ศปร. มาหลอกพวกหน้าโง่ ได้หลายตังเหมือนกันวุ้ย 555 มีอะไรจะแปะอีกม่ะ..... อยากงมงายก็เป็นสิทธิห้ามกันไม่ได้ มาเลเซียกับไทยไม่ใช่ประเทศแบบเดียวกัน นโยบายที่ใช้ได้กับมาเลเซีย ไม่จำเป็นที่มาใช้กับไทยแล้วจะได้ผล ดร.โกร่งวิจารณ์มาเลเซีย แต่ก็ไม่ได้บอกว่าถ้าไทยทำตามมาเลเซียแล้ว ไทยจะรอด ข้อเท็จจริงคือว่า ไทยทำตามไอเอ็มเอฟ บวกกับ รัฐบาลทักษิณ ไทยรอด และจ่ายไอเอ็มเอฟครบ สอนภาษาอังกฤษให้หน่อย เรื่อง if clause การสมมติไปสู่อนาคต (Future) If it rains, I will wear my raincoat. เราอาจใช้ can หรือ ought to แทน will ได้
การสมมติในปัจจุบัน (Present) If I had some money, I would pay for this drink. เราอาจใช้ could หรือ ought to แทน would ได้
การสมมติย้อนสู่อดีต (Past) If I had gone, I would have met him. เราอาจใช้ could have หรือ ought to have แทน would have ได้ คำเตือน การสมมติเหตุการณ์ย้อนสู่อดีตเกินวันละสองความเห็น อาจทำให้บ้าได้ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #138 เมื่อ: 23-09-2007, 17:53 » |
|
มันต้องได้อย่างนี้ซิ ถึงค่อยเรียกว่าคุณแก๊ส ตัวจริง.....อุตส่าห์หาบทสัมภาษณ์ ตามเรียกร้อง....โอย มันเป็นหมัดน๊อคจริง ๆ ด้วย........ฮ่า ๆ ที่นี้ จะได้ดูวิสัยทัศน์ ของพระเอก ทนงค์ ของ คุณแก๊ส ฯ ก่อน ผมรับฟังแล้วก็บอกแบงก์ชาติว่า ให้ไปคิดมาว่าจะทำอย่างไร ระหว่างการขยายแบนด์หรือลอยตัวค่าเงินบาทบทสัมภาษณ์ ของทนงค์ ข้างบน บอกได้อย่างดี ว่า แบ็งค์ชาติเป็นคนให้ความเห็น แต่ทนงค์ เป็นคนตัดสินใจ........ "ผมก็บอกว่า เรื่องนี้ผมรับผิดชอบเองถ้ามีอะไรเกิดขึ้น เพราะผมเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง"....ทนงค์ ตอบ บิ๊กจิ๋ว......ที่นี้ คงไม่ต้องสงสัยแล้วน๊ะ ว่า แบ็งค์ชาติตอนนั้นยังอยู่ใต้อุ้งตีน นักการเมือง......[/b] ทีนี้คงรู้แล้วนะ ว่าใครเป็นคนตัดสินใจ ลอยตัวค่าเงินบาท.......ไม่ต้องเถียงกันอีก....ไม่รู้ว่า คุณแก๊ส ฯ รู้จัก คำว่า ลอยตัว ค่า เงินบาท กับ ลดค่าเงินบาท แค่ไหน...ถ้าไม่รู้ ก็ไปหมั่นศึกษาหาความรู้ไว้เยอะ ๆ จะได้ไม่ต้องออกหมัดวืดบ่อย ๆ........
ในเวลานั้น ก่อน การลอยตัวค่าเงินบาท เรา ก็รู้ ๆ กันอยู่แล้ว ว่า มีการเข้ามาถล่มกันอย่างหนัก แล้วมีการสู้จนถึงขนาด ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศแทบไม่เหลือ......แล้วก็ยังมีการไหลออกของเงินต่างประเทศ ไม่หยุดอยู่จนแบ็งค์ชาติรับไม่ไหว........ต้องตัดสินใจทำอย่างหนึ่งอย่างใด.....ทนงค็ ตัดสินใจ เลือกใช้วิธี ลอยตัวค่าเงินบาท
ผมพูดเรื่องนี้ หลายครั้ง....การลอยตัว ค่าเงินบาท แทนที่จะลดค่าเงินบาทในสมัยนั้น ถือ เป็นวิสัยทัศน์ ที่โง่เง่าจริง ๆ....ทนงค์ นี่มันหมู หรือ แกล้งโง่ ให้ต่างชาติ หรือใคร ก็ไม่รู้ เข้ามายำเมืองไทยเล่น จนตาย แบบสำเพ็งไฟใหม้......การลอยตัวค่าเงินบาท ในขณะ ที่ มีความตื่นตระหนก เรื่อง เงินทุนสำรองลดลงอย่างรวดเร็ว.....เป็นเรื่องที่น่าจะรู้ดีว่า จะมีความเสียหายเกิดขึ้นแบบไม่มีขีดจำกัด....เราไม่สามารถประเมินได้เลยว่า เงินบาทจะไปหยุดอยู่ตรงที่เท่าไร...30 หรือ 100 บาท.....ต่อ 1 ดอลล่าห์.....ประเทศไทย ตอนนั้น มีหนี้ต่างประเทศ ประมาณ เก้าหมื่นกว่าล้านเหรียญ.....ลองคิดดูว่า ไอ้หนี้ พวกนั้นมันจะเป็นเท่าไหร่...เมื่อ เงินบาท เปลี่ยนจาก 26 บาท เป็น 56 บาทต่อ 1 ดอลล่าห์....แล้ว พวกเฮดฟันด์ หรือใคร ก็ไม่รู้ ที่มันเก็บเงิน ดอลล่าห์ ไว้ก่อนหน้านี้ มันจะรวยไปเท่าไหร่....คนที่เคยเล่นหุ้น จะเข้าใจ เวลาที่คนไล่ซื้อหุ้น หรือ มีข่าวร้าย หรือ ดีมาก ๆ ก็ตามแต่ จะมีการซื้อขายแบบไม่ลืม หู ลืมตา ....จน ตลาดหลักทรัพย์ ต้องออกกฏ ไฟแดงขึ้น เพื่อหยุด ตลาด...แต่ ของทนงค์ มันไม่มีไฟแดง อ่ะ ไปได้เรื่อย ๆ .แล้วแต่พวกพี่ เฮดฟันด์ เค้าจะพอใจ .......เคยเข้าตลาดหุ่นป่ะ.......อีกอย่าง การประกาศ ลอยตัวค่าเงินบาท โดยไม่มีแผนรองรับ..เช่น การสนับสนุนจาก IMF มันเป็นจุดอ่อนอยู่แล้ว .....หากรัฐบาลในขณะนั้น...อดทน แล้วไปประกาศเอา ณ วันที่ลงนาม กับ IMF (อีกเดือนเดียว).....เพื่อให้ตลาดรับรู้ว่า เราจะมีทุนสำรองเพียงพอ สำหรับ ใช้หนี้ต่างประเทศ...ก็ย่อมจะเป็นผลดีกว่า เย๊อะเลยจ๊ะ ....เนี่ย น๊ะ วิสัยทัศน์ พระเอกทนงค์.........
หลังจาก ประกาศ ลอยตัวค่าเงินบาท.....เงินบาท ลอยตัวไม่หยุด กำลัง ทะยานขึ้นสู่ดาวอังคาร....บรรดาเจ้าหนี้ ต่างประเทศ ซึ่ง ไม่รู้ว่าเงินบาท จะไปหยุดตรงไหน...ลูกหนี้จะมีปัญญาจ่ายหรือปล่าว ก็เร่งเรียกหนี้คืน ...ยิ่ง เป็นปฏิกริยาเร่งให้ บรรดา แบ็งค์ ไฟแนนซ์ ขาดทุน ระเนระนาด.....ที่นี้ ละ พ่อคุณเอ๋ย..........
บรรดา สถาบันการเงิน ต้องเอาตัวรอด แบบ ตัวใคร ตัวมัน....เร่งลดสินเชื่อ เร่งลดวงเงิน...เร่งทวงหนี้ที่ยังไม่ถึงเวลาชำระ ขึ้นดอกเบี้ย เก็บค่าปรับจ่ายช้า ......แล้วไงต่อ......เช็คที่จ่ายออกไป ก็เริ่ม เด้ง จาก การค้าใหญ่ อย่างพวกวัสดุก่อสร้าง.....เมื่อเก็บเงินจากบริษัทฯ ก่อสร้างไม่ได้......บริษัท ฯ ค้าวัสดุก่อสร้าง ก็เริ่มเด้งต่อ ไปที่ ผู้ผลิต ..ผู้ผลิต ก็ไปเด้งต่อ ผู้ขายวัตถุดิบ......ไม่พอ ยังมีพวก ไม่เบี้ยว ไม่หนี่ ไม่จ่าย ลอยหน้า ลอยตาในสังคม.อีก...นีเป็นตัวอย่างเดียวน๊ะ เนี่ย.....คงไม่ต้องหาหลักฐานหรอก...อยากรู้เดินเข้าไปถามร้านค้าใกล้บ้านได้เลยจ๊ะ
หนักว่านั้น...ทนงค์ บอกปิดไฟแนนซ์ เพื่อหยุดการไหลออกของเงิน......อันนี้ ดาบสอง....ฟันคอขาดเลยจ๊ะ......ไม่ว่า จะปิด ชั่วคราวเพียงแค่ 1 สัปดาห์ หรือ 1 เดือน เครดิตไลน์ในตลาด ก็เละแล้วจ๊ะ....เคยเขียนเช็คล่วงหน้าป่ะ
ในบรรดา ไฟแนนซ์ ต่าง ๆ ถึงแม้ จะมีหนี้เน่า....แต่มีจำนวนไม่น้อย ที่ เป็นลูกค้าที่ดี.....พอปิดปุ๊บ....เงินก็หมุนเวียนไม่ได้.....แล้ว ลูกค้าที่ดี ๆ ไม่ได้เกี่ยว กับ ค่าเงิน ก็ซวยไปด้วย วงเงินสินเชื่อก็ปิดไปโดยปริยาย....ทีนี้ เลยเน่าทั้งเข่งไงจ๊ะ แล้วไม่ใช่ ไฟแนนซ์ เดียว โห 58 เลย...มันมั๊ยล่ะ เจ๋งจริง ๆ......เป็นไงวิสัยทัศน์ พระเอกทนงค์...ยอดม่ะ......ไม่ต้องหาหลักฐานน๊ะ...อย่างรู้สอบถามไฟแนนซ์ ข้างบ้าน..แต่น่าจะรู้น่า...ยกเว้น ตอนนั้นคุณแก๊ส จะยังเป็นวุ้นอยู่ ....5555

ปล. ไหน ๆ อุตส่าห์ หาบทสัมภาษณ์ มาให้ ชาวเสรีไทยได้อ่าน กันแล้ว....รบกวนอีกหน่อยดิ...ลองหาดูอีกที ว่าผมเขียน คำว่า "ลดค่าเงินบาท" ไว้ตรงไหนมั่ง....55555

ไหนลองบอกซิ ที่เขียนไปข้างบน....กับความเห็น ที่ 135 ตรงไหน...กับความเห็น เป็น If clause มั่ง..........
แล้วไอ้ บทวิเคราะห์ ศปร.ที่เอามาแปะ มันคงเป็น แฟ็ค ใช่ป่ะ....มันเกิดแล้ว ใช่ป่ะ.....5555 " จินตนาการน้ำแตก "
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #139 เมื่อ: 23-09-2007, 18:13 » |
|
เรื่องที่ไม่ได้เกิดในอดีตและพิสูจน์ไม่ได้ว่าถ้าเกิดในอดีตจะมีผลดีกว่าข้อเท็จจริงของเหตุการณ์หรือเปล่า 1. การลอยตัว ค่าเงินบาท แทนที่จะลดค่าเงินบาทในสมัยนั้น ถือ เป็นวิสัยทัศน์ ที่โง่เง่าจริงๆ 2. หากรัฐบาลในขณะนั้น...อดทน แล้วไปประกาศเอา ณ วันที่ลงนาม กับ IMF (อีกเดือนเดียว) เพื่อให้ตลาดรับรู้ว่า เราจะมีทุนสำรองเพียงพอ สำหรับ ใช้หนี้ต่างประเทศอันนี้เป็นของความเห็น 135 3. หากรัฐบาลในตอนนั้น ตัดสินใจ ขยายแบนด์...หรือ ลอยค่าเงินบาท ...มันดีกว่า ไม่ทำอะไรเลยยังไงเมื่อเราแพ้เรื่องการโจมตีค่าเงินบาทแล้ว การตัดสินใจลอยค่าเงินบาทย่อมเป็นเรื่องที่ถูกต้อง เพราะถ้าโดน โจมตีต่อไม่เลิก เราไม่มีทุนสำรองเพียงพอแล้ว เรื่องแค่นี้เองทำไมคิดไม่ออก สงสัยเจ๊งหุ้นหรือเจ๊งเงินฝาก ไฟแนนซ์ตอนนั้นอะดิ เลยแค้นไม่หาย คิดถึงส่วนรวมมั่งดิ คนเจ๊งก็เป็นพวก speculator เสี่ยงเป็นชีวิตจิตใจ กันทั้งนั้น ส่วนพวกที่ซวยไปด้วยก็เป็นพนักงานในบริษัทเหล่านั้น แต่ภายหลังก็ฟื้นขึ้นมาได้ซะเยอะ เพราะ โครงสร้างการบริหารจัดการประเทศมันเปลี่ยนแบบพลิกในปี 2544 สมัยรัฐบาลอะไรหว่า เก่งจัง 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #140 เมื่อ: 23-09-2007, 19:03 » |
|
เรื่องที่ไม่ได้เกิดในอดีตและพิสูจน์ไม่ได้ว่าถ้าเกิดในอดีตจะมีผลดีกว่าข้อเท็จจริงของเหตุการณ์หรือเปล่า 1. การลอยตัว ค่าเงินบาท แทนที่จะลดค่าเงินบาทในสมัยนั้น ถือ เป็นวิสัยทัศน์ ที่โง่เง่าจริงๆ 2. หากรัฐบาลในขณะนั้น...อดทน แล้วไปประกาศเอา ณ วันที่ลงนาม กับ IMF (อีกเดือนเดียว) เพื่อให้ตลาดรับรู้ว่า เราจะมีทุนสำรองเพียงพอ สำหรับ ใช้หนี้ต่างประเทศ[/color] ผมพูดเรื่องนี้ หลายครั้ง....การลอยตัว ค่าเงินบาท แทนที่จะลดค่าเงินบาทในสมัยนั้น ถือ เป็นวิสัยทัศน์ ที่โง่เง่าจริง ๆ....ทนงค์ นี่มันหมู หรือ แกล้งโง่ ให้ต่างชาติ หรือใคร ก็ไม่รู้ เข้ามายำเมืองไทยเล่น จนตาย แบบสำเพ็งไฟใหม้......การลอยตัวค่าเงินบาท ในขณะ ที่ มีความตื่นตระหนก เรื่อง เงินทุนสำรองลดลงอย่างรวดเร็ว.....เป็นเรื่องที่น่าจะรู้ดีว่า จะมีความเสียหายเกิดขึ้นแบบไม่มีขีดจำกัด....เราไม่สามารถประเมินได้เลยว่า เงินบาทจะไปหยุดอยู่ตรงที่เท่าไร...30 หรือ 100 บาท.....ต่อ 1 ดอลล่าห์.....ประเทศไทย ตอนนั้น มีหนี้ต่างประเทศ ประมาณ เก้าหมื่นกว่าล้านเหรียญ.....ลองคิดดูว่า ไอ้หนี้ พวกนั้นมันจะเป็นเท่าไหร่...เมื่อ เงินบาท เปลี่ยนจาก 26 บาท เป็น 56 บาทต่อ 1 ดอลล่าห์....แล้ว พวกเฮดฟันด์ หรือใคร ก็ไม่รู้ ที่มันเก็บเงิน ดอลล่าห์ ไว้ก่อนหน้านี้ มันจะรวยไปเท่าไหร่....คนที่เคยเล่นหุ้น จะเข้าใจ เวลาที่คนไล่ซื้อหุ้น หรือ มีข่าวร้าย หรือ ดีมาก ๆ ก็ตามแต่ จะมีการซื้อขายแบบไม่ลืม หู ลืมตา ....จน ตลาดหลักทรัพย์ ต้องออกกฏ ไฟแดงขึ้น เพื่อหยุด ตลาด...แต่ ของทนงค์ มันไม่มีไฟแดง อ่ะ ไปได้เรื่อย ๆ .แล้วแต่พวกพี่ เฮดฟันด์ เค้าจะพอใจ .......เคยเข้าตลาดหุ่นป่ะ.......อีกอย่าง การประกาศ ลอยตัวค่าเงินบาท โดยไม่มีแผนรองรับ..เช่น การสนับสนุนจาก IMF มันเป็นจุดอ่อนอยู่แล้ว .....หากรัฐบาลในขณะนั้น...อดทน แล้วไปประกาศเอา ณ วันที่ลงนาม กับ IMF (อีกเดือนเดียว).....เพื่อให้ตลาดรับรู้ว่า เราจะมีทุนสำรองเพียงพอ สำหรับ ใช้หนี้ต่างประเทศ...ก็ย่อมจะเป็นผลดีกว่า เย๊อะเลยจ๊ะ ....เนี่ย น๊ะ วิสัยทัศน์ พระเอกทนงค์.........อ่านให้หมด.......เออจริงว่ะ...มันคล้าย If clause.........แต่ที่เหลือ มันเรื่องจริง ทั้งหมดเลยใช่ ป่ะ......อันนี้เป็นของความเห็น 135 3. หากรัฐบาลในตอนนั้น ตัดสินใจ ขยายแบนด์...หรือ ลอยค่าเงินบาท ...มันดีกว่า ไม่ทำอะไรเลยยังไง[/color] เมื่อเราแพ้เรื่องการโจมตีค่าเงินบาทแล้ว การตัดสินใจลอยค่าเงินบาทย่อมเป็นเรื่องที่ถูกต้อง เพราะถ้าโดน โจมตีต่อไม่เลิก เราไม่มีทุนสำรองเพียงพอแล้ว เรื่องแค่นี้เองทำไมคิดไม่ออก สงสัยเจ๊งหุ้นหรือเจ๊งเงินฝาก ไฟแนนซ์ตอนนั้นอะดิ เลยแค้นไม่หาย คิดถึงส่วนรวมมั่งดิ คนเจ๊งก็เป็นพวก speculator เสี่ยงเป็นชีวิตจิตใจ กันทั้งนั้น ส่วนพวกที่ซวยไปด้วยก็เป็นพนักงานในบริษัทเหล่านั้น แต่ภายหลังก็ฟื้นขึ้นมาได้ซะเยอะ เพราะ โครงสร้างการบริหารจัดการประเทศมันเปลี่ยนแบบพลิกในปี 2544 สมัยรัฐบาลอะไรหว่า เก่งจัง อันนี้ สงสัยอ่านหนังสือไม่รู้เรื่อง.....มิน่าถีงได้หัวปักหัวปำ......ผมหมายถึงไอ้บทความ"จินตนาการน้แตก"..ข้างล่างตรงตัวแดง ๆ ข้อบกพร่องของโครงสร้างระบบการบริหารการเงินอันนำไปสู่วิกฤตการณ์และความไม่มีประสิทธิภาพ ในการตัดสินใจเชิงนโยบาย
วิกฤตการณ์เศรษฐกิจไทยครั้งนี้ มีจุดเริ่มมาจากการก่อหนี้ของภาคเอกชน แต่การดำเนินนโบายการเงินของรัฐก็มีส่วนทำให้ปัญหาการก่อหนี้บานปลาย อย่างแทบจะไม่มีขีดจำกัด
ขั้นตอนของความเพลี่ยงพล้ำในการดำเนินนโยบายการเงิน ลำดับได้ดังต่อไปนี้
1. ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) อาจเลือกที่จะไม่ให้เปิดตลาดเงินทุนเสรีตั้งแต่ พ.ศ. 2533 แต่ ธปท. ก็เลือกที่จะให้เปิด การตัดสินใจให้เปิดครั้งนั้น นับว่าเป็นผลพวงของแนวนโยบายที่เป็นมาโดยต่อเนื่องเป็นระยะยาวนาน และสะท้อนความต้องการ ของฝ่ายการเมืองในขณะนั้นอย่างเต็มที่ เมื่อนายวิจิตรเข้ามารับตำแหน่งเป็นผู้ว่าการ ก็สานต่อนโยบายนั้นอย่างขะมักเขม้น ถึงขั้นเปิดวิเทศธนกิจ ซึ่งก็ได้รับความเห็นชอบจากทุกฝ่าย 2. เมื่อ ธปท. เลือกที่จะเปิดตลาดเงินทุนให้เสรีแล้ว ธปท. ก็ควรเลือกที่จะให้อัตราแลกเปลี่ยนยืดหยุ่นมากกว่านี้ แต่ ธปท. ก็เลือกที่จะ รักษาช่วง (band) อัตราแลกเปลี่ยนที่แคบมากไว้ จะมาเริ่มพิจารณาก็ในเดือนเมษายน 2539 ซึ่งสายไปเสียแล้ว เพราะหลังจากนั้น อีกไม่กี่เดือน ปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ก็รุนแรงจนทำให้ ธปท. กลัวที่จะดำเนินการใดๆ อีกต่อไป เพราะเกรงว่าจะส่งสัญญาณผิด ให้กับตลาด 3. เมื่อ ธปท. เลือกที่จะรักษาช่วงอัตราแลกเปลี่ยนที่แคบไว้เช่นนั้น ก็หมายความว่าแนวนโยบายทางด้านอุปสงค์รวมจะต้อง มีความระมัดระวัง (conservative) เป็นพิเศษ โดยเฉพาะในระยะตั้งแต่ พ.ศ. 2537 เป็นต้นมา นโยบายการคลังเป็นเรื่องของรัฐบาล และรัฐสภาก็จริงอยู่ แต่ ธปท. ก็มิได้ผลักดันอย่างจริงจัง ให้รัฐบาลมีนโยบายเกินดุลซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในช่วงนั้น ส่วนนโยบายการเงิน ที่ดึงปริมาณเงินในประเทศก็ไร้ผล เพราะถูกลบล้างด้วยเงินกู้จาก ต่างประเทศที่ไหลเข้ามาอย่างต่อเนื่อง 4. เมื่อ ธปท. ไม่สามารถใช้นโยบายการคลังหรือการเงินได้ ก็ควรจะใช้มาตรการไม่ให้เงินกู้ไหลเข้าประเทศอย่างมากมายเสียตั้งแต่ต้น แต่มาตรการที่ประกาศเป็นมาตรการที่อ่อน และนำมาใช้เมื่อสายไปแล้ว คือหลังจากไทยมีหนี้สินระยะสั้นในระดับสูงมากเกินไปเสียแล้ว หายโง่กันยังจ๊ะ เหอ เหอ  หายโง่ยังจ๊ะ เหอ ๆ ......ตกลงผมเขียน ตั้งสิบยี่สิบบรรทัด มี อันที่ เป็น if clause มีแค่นั้นใช่ม่ะ.....ที่เหลือ อีก สิบกว่า บรรทัด คุณแก๊ส ยอมรับว่าเป็นเรื่องจริงหมดเลยเหรอ....เอ๊ย !!!! ทำไมยอมรับกันง่าย ๆ งั้นอ่ะ.....  "คิดถึงส่วนรวมมั่งดิ คนเจ๊งก็เป็นพวก speculator เสี่ยงเป็นชีวิตจิตใจ กันทั้งนั้น ส่วนพวกที่ซวยไปด้วยก็เป็นพนักงานในบริษัทเหล่านั้น ".......อ้นนี้ fact .....ต้องเห็นแก่ส่วนรวมมั่ง..ไม่ใช่เห็นแก่นักโกงชาติ......ส่วนที่เหลือในประโยคเดียวกัน...ขี้คุยท้างน้าน....เด๋ว คุยไปเรื่อย จะเปิดกระโหลกให้หายโง่ ว่า ทักษิณ มันคุยข่ม เรื่อง ใช้หนี้ IMF ......ตัวเลขกระจอก ๆ ไม่กี่ล้าน เหรียญ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
RiDKuN
|
 |
« ตอบ #141 เมื่อ: 23-09-2007, 19:38 » |
|
หากชอบแถจะยกให้เป็นผลงานทักษิณจริง ต้องพิสูจน์ให้ได้ตามนี้ คือ 1. คำว่า ผลงาน คืออะไรที่ต้องใช้ความสามารถ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ ลำพังการพยายามผลักดันให้มีการใช้หนี้นั้นผมไม่ถือเป็นผลงาน แต่เป็นการพยายามเอาหน้า เพราะเงินก็คือเงินภาษี ไม่ใช่เงินทักษิณ ดังนั้น ในฐานะที่ชอบแถเป็นผู้เสนอว่าเป็นผลงานทักษิณ ก็ต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า ทักษิณใช้ความสามารถอย่างไรบ้างเพื่อให้สามารถใช้หนี้ได้และการใช้หนี้นั้นเป็นประโยชน์กับประเทศไทยจริงๆ ในแง่ใด 2. จากข้อ 1. หากการปลดหนี้นั้นมีประโยชน์จริง ชอบแถต้องพิสูจน์ให้ได้ด้วยว่า ประโยชน์นั้นคุ้มค่ากับผลเสีย เช่น การขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยนหากเทียบกับ ณ ปัจจุบัน มิเช่นนั้นจะไม่ใช่ผลงาน แต่เป็นความไม่ฉลาดของทักษิณมากกว่า 3. ชอบแถต้องเลิกอ้างว่าเกิดในสมัยทักษิณ ดังนั้นเป็นผลงานของทักษิณ เพราะไม่สมเหตุสมผล ถามกลับว่าอะไรร้ายๆ ที่เกิดในสมัยทักษิณ ก็ถือเป็นผลงานทักษิณด้วยหรือไม่
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
คนไม่มี "อุดมคติ" ไม่ใช่ "นักการเมือง"
|
|
|
ปุถุชน
|
 |
« ตอบ #142 เมื่อ: 23-09-2007, 20:10 » |
|
ต่อให้สมัยชวนมีเงินพอเขาก็ไม่รีบจ่ายคืนให้โง่หรอกครับคุณอยากประหยัดฯ ถามจริงๆ เคยไปดูเงื่อนไขการจ่ายคืนบ้างหรือเปล่า ว่าเขากำหนดจ่ายยังไง แล้วรู้บ้างไหมว่าเงินที่กู้มานั้นเขาเอาไปทำอะไร อยู่ที่ไหน ได้ดอกผลยังไง เขาไม่ได้เอาไปใส่ตุ่มฝังดินไว้นะครับ  พวก PT ก็คิดอยู่แค่ 2 เรื่องตามทักษิณ ว่าต้องรีบจ่ายคืนเพราะ .. 1. ประกาศอิสรภาพ <-- ความจริง IMF คุมเราไม่ได้ตั้งแต่รัฐบาลชวนไม่เบิกเงินงวดที่ 92. ประหยัดดอกเบี้ย <-- กู้เงินได้ดอกเบี้ยถูกๆ แล้วรีบจ่าย .. เรียกว่าโง่หรือฉลาดดีทั้งที่มันไม่จริงทั้ง 2 ข้อ มีคนอธิบายตั้งแต่มีข่าวจะรีบจ่ายหนี้เมื่อปลายปี 45 แล้ว จนป่านนี้ก็ยังมีคนคิดว่าทักษิณมีผลงานปลดหนี้ IMF เมื่อไหร่จะเข้าใจให้ถูกเสียที-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ขุดกระทู้ขึ้นมาทวงคำตอบจากคุณอยากประหยัดฯ เพราะถามแล้วเงียบไปเฉยๆ 1. รู้ไหมครับว่าเงื่อนไขการจ่ายคืนเงินกู้ IMF เขากำหนดจ่ายคืนยังไง ถึงมาบอกว่ารัฐบาลชวนไม่ยอมจ่าย? 2. รู้ไหมว่าเงินที่กู้มานั้นเขาเอาไปทำอะไร อยู่ที่ไหน ได้ดอกผลยังไง มากกว่าดอกเบี้ยเงินกู้หรือเปล่า? ผมยังรอคำตอบจากคุณอยู่นะครับ .. คุณอยากประหยัดฯ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
หัวใจของการเมือง คือ ความไม่เห็นแก่ตัว หากเห็นแก่ตัวและพรรคของตัวแล้ว จะเห็นแก่มวลชนได้อย่างไร ดังนั้น นักการเมืองควรมีศีลธรรม ยึดถือธรรม บูชาธรรมยิ่งกว่าคนธรรมดา เมื่อเราทราบดีว่า การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมปัจจุบันมีปัญหาที่ต้องแก้ไข หากผู้ที่อาสาเข้ามายังจะใช้วิธีการเดิมๆ อีก ย่อมจะแก้ไขไม่ได้ เพราะปัจจุบันเป็นผลของอดีต และจะเป็นเหตุของอนาคต ต้องคิดให้ดี พูดให้ดี และทำให้ดี ในอนาคตจึงจะมีความหวังได้ มิฉะนั้นผู้สนับสนุนผู้ถูกร้อง(พ.ต.ท.ทักษิณ) จะต้องผิดหวังในที่สุด
อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประเสริฐ นาสกุล ได้มีคำวินิจฉัยส่วนตัวว่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร มีความผิดในคดีซุกหุ้น......
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #143 เมื่อ: 23-09-2007, 21:16 » |
|
หากชอบแถจะยกให้เป็นผลงานทักษิณจริง ต้องพิสูจน์ให้ได้ตามนี้ คือ 1. คำว่า ผลงาน คืออะไรที่ต้องใช้ความสามารถ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ ลำพังการพยายามผลักดันให้มีการใช้หนี้นั้นผมไม่ถือเป็นผลงาน แต่เป็นการพยายามเอาหน้า เพราะเงินก็คือเงินภาษี ไม่ใช่เงินทักษิณ ดังนั้น ในฐานะที่ชอบแถเป็นผู้เสนอว่าเป็นผลงานทักษิณ ก็ต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า ทักษิณใช้ความสามารถอย่างไรบ้างเพื่อให้สามารถใช้หนี้ได้และการใช้หนี้นั้นเป็นประโยชน์กับประเทศไทยจริงๆ ในแง่ใด 2. จากข้อ 1. หากการปลดหนี้นั้นมีประโยชน์จริง ชอบแถต้องพิสูจน์ให้ได้ด้วยว่า ประโยชน์นั้นคุ้มค่ากับผลเสีย เช่น การขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยนหากเทียบกับ ณ ปัจจุบัน มิเช่นนั้นจะไม่ใช่ผลงาน แต่เป็นความไม่ฉลาดของทักษิณมากกว่า - บางทีเพราะว่ามันไม่เกิดเรื่องเพิ่มขึ้นมา ก็เลยทำให้ไม่คิดว่าเป็นผลงาน เทียบกับเครื่องบินวันทูโกที่ร่อนลงที่ภูเก็ต ถ้าเครื่องลง ได้ ก็ไม่เป็นข่าวอะไรคงไม่มีใครชมเชยนักบินว่าเก่งที่สามารถนำเครื่องลงในสภาวะอากาศแปรปรวนมีวินเชียร์แบบนั้น ในกรณีนี้ ก็เช่นกัน คงจะรู้รสชาติของเงื่อนไขกองทุนการเงินระหว่างประเทศแล้ว ว่าต้องออกกฎหมายโหดๆ มาไม่รู้กี่ฉบับ ถ้าไม่จำเป็นคง ไม่ต้องไปขอความช่วยเหลือ แต่ว่าอย่างไรเสียก็เป็นทางไม่ต้องเลือกที่เหลืออยู่ทางเดียว ยังไงก็ต้องรักษาไว้ ถ้าประเทศพลาด ไปก็ยังมีที่พึ่งแม้จะโหด การที่บอกว่าไม่ขอเงินเพิ่มแต่ยังจ่ายคืนไม่ครบ คือ ไม่อยู่ในคำสั่งของไอเอ็มเอฟแล้ว เป็นเรื่องที่เราพูด เองได้ แต่ในความเป็นจริง รัฐบาลคงไม่กล้าเลิกกฎหมายนั่นในช่วงที่ยังต้องพึ่งเงินเค้าอยู่ ด้วยเหตุว่าถ้าพลาดไปอีกคราวนี้คงจะ เจอเงื่อนไขที่โหดขึ้นกว่าเดิม เหมือนไปหาหมอรักษาโรคเน่า หมอสั่งให้ทำตัวตามหมอสั่ง แต่ไม่ทันโรคเน่าจะหายก็ไม่คิดจะทำ ตามคำหมอแล้ว การคืนเงินก่อนกำหนดเป็นการแสดงว่า เราหายจากโรคเน่าแล้ว ไม่ต้องทำตัวตามหมอสั่งก็ได้ สรุปได้ว่า ทำให้ประเทศรอดได้ในสภาวะที่ประสบปัญหาที่คาดไม่ถึงทั้งในและนอกประเทศ โดยไม่ต้องพะวงว่า ถ้าเอาเงินคงคลัง มาใช้แล้วจะไม่มีจ่ายหนี้ไอเอ็มเอฟได้ตามกำหนด เพราะว่าจ่ายหนี้ไปก่อนแล้ว ถ้าบังเอิญเน่าอีก ยังสามารถแบกหน้าไปกู้ไอเอ็ม เอฟได้อีกรอบ เพราะงวดก่อนประพฤติตัวเป็นลูกหนี้ที่ดีนั่นเอง 3. ชอบแถต้องเลิกอ้างว่าเกิดในสมัยทักษิณ ดังนั้นเป็นผลงานของทักษิณ เพราะไม่สมเหตุสมผล ถามกลับว่าอะไรร้ายๆ ที่เกิดในสมัยทักษิณ ก็ถือเป็นผลงานทักษิณด้วยหรือไม่
- ทำไงได้ผลงานดีๆ มันดันเกิดในสมัยทักษิณ จะให้บอกว่าเป็นผลงานการวางนโยบายของพระยามโนปกรณ์นิติธาดาคงไม่ไหว 1. รู้ไหมครับว่าเงื่อนไขการจ่ายคืนเงินกู้ IMF เขากำหนดจ่ายคืนยังไง ถึงมาบอกว่ารัฐบาลชวนไม่ยอมจ่าย? 2. รู้ไหมว่าเงินที่กู้มานั้นเขาเอาไปทำอะไร อยู่ที่ไหน ได้ดอกผลยังไง มากกว่าดอกเบี้ยเงินกู้หรือเปล่า?โทษทีที่ไม่ได้เข้าไปตอบกระทู้นั่น เพราะไม่ได้กดดู นึกว่าเป็น if clause ประเภทในอดีต จัดทำเพื่อบำบัดความเซ็งเป็ดส่วนตัวเท่านั้น 1. ธนาคารแห่งประเทศไทยได้เบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศภายใต้ความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ และมิตรประเทศไปแล้วจำนวน 12,054 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และจะไม่มีการเบิกจ่ายเพิ่มเติมอีก โดยมีเงื่อนไขและ ตารางการชำระคืนต้นเงินกู้ ดังนี้ - เงินกู้จากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ มีระยะเวลาปลอดชำระคืนเงินต้น 3 ปี จะถึงกำหนดชำระคืนครั้งแรก ในเดือนตุลาคม 2543 จำนวนประมาณ 200 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และสำหรับรัฐบาลของมิตรประเทศได้กำหนด ให้เริ่มชำระคืนในไตรมาสแรก ของปี 2544 จำนวนประมาณ 300 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ทั้งนี้ การกู้เงินจากทั้งสอง แหล่งจะสิ้นสุดการชำระหนี้ในไตรมาสที่ 2 และ 3 ของปี 2547 ตามลำดับ 2. ไม่รู้
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #144 เมื่อ: 23-09-2007, 21:40 » |
|
ข้อ 2. ใช้ในการรักษาระดับทุนสำรองระหว่างประเทศเท่านั้น 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #145 เมื่อ: 24-09-2007, 08:51 » |
|
เรื่องที่ไม่ได้เกิดในอดีตและพิสูจน์ไม่ได้ว่าถ้าเกิดในอดีตจะมีผลดีกว่าข้อเท็จจริงของเหตุการณ์หรือเปล่า 1. การลอยตัว ค่าเงินบาท แทนที่จะลดค่าเงินบาทในสมัยนั้น ถือ เป็นวิสัยทัศน์ ที่โง่เง่าจริงๆ 2. หากรัฐบาลในขณะนั้น...อดทน แล้วไปประกาศเอา ณ วันที่ลงนาม กับ IMF (อีกเดือนเดียว) เพื่อให้ตลาดรับรู้ว่า เราจะมีทุนสำรองเพียงพอ สำหรับ ใช้หนี้ต่างประเทศ[/color] ผมพูดเรื่องนี้ หลายครั้ง....การลอยตัว ค่าเงินบาท แทนที่จะลดค่าเงินบาทในสมัยนั้น ถือ เป็นวิสัยทัศน์ ที่โง่เง่าจริง ๆ....ทนงค์ นี่มันหมู หรือ แกล้งโง่ ให้ต่างชาติ หรือใคร ก็ไม่รู้ เข้ามายำเมืองไทยเล่น จนตาย แบบสำเพ็งไฟใหม้......การลอยตัวค่าเงินบาท ในขณะ ที่ มีความตื่นตระหนก เรื่อง เงินทุนสำรองลดลงอย่างรวดเร็ว.....เป็นเรื่องที่น่าจะรู้ดีว่า จะมีความเสียหายเกิดขึ้นแบบไม่มีขีดจำกัด....เราไม่สามารถประเมินได้เลยว่า เงินบาทจะไปหยุดอยู่ตรงที่เท่าไร...30 หรือ 100 บาท.....ต่อ 1 ดอลล่าห์.....ประเทศไทย ตอนนั้น มีหนี้ต่างประเทศ ประมาณ เก้าหมื่นกว่าล้านเหรียญ.....ลองคิดดูว่า ไอ้หนี้ พวกนั้นมันจะเป็นเท่าไหร่...เมื่อ เงินบาท เปลี่ยนจาก 26 บาท เป็น 56 บาทต่อ 1 ดอลล่าห์....แล้ว พวกเฮดฟันด์ หรือใคร ก็ไม่รู้ ที่มันเก็บเงิน ดอลล่าห์ ไว้ก่อนหน้านี้ มันจะรวยไปเท่าไหร่....คนที่เคยเล่นหุ้น จะเข้าใจ เวลาที่คนไล่ซื้อหุ้น หรือ มีข่าวร้าย หรือ ดีมาก ๆ ก็ตามแต่ จะมีการซื้อขายแบบไม่ลืม หู ลืมตา ....จน ตลาดหลักทรัพย์ ต้องออกกฏ ไฟแดงขึ้น เพื่อหยุด ตลาด...แต่ ของทนงค์ มันไม่มีไฟแดง อ่ะ ไปได้เรื่อย ๆ .แล้วแต่พวกพี่ เฮดฟันด์ เค้าจะพอใจ .......เคยเข้าตลาดหุ่นป่ะ.......อีกอย่าง การประกาศ ลอยตัวค่าเงินบาท โดยไม่มีแผนรองรับ..เช่น การสนับสนุนจาก IMF มันเป็นจุดอ่อนอยู่แล้ว .....หากรัฐบาลในขณะนั้น...อดทน แล้วไปประกาศเอา ณ วันที่ลงนาม กับ IMF (อีกเดือนเดียว).....เพื่อให้ตลาดรับรู้ว่า เราจะมีทุนสำรองเพียงพอ สำหรับ ใช้หนี้ต่างประเทศ...ก็ย่อมจะเป็นผลดีกว่า เย๊อะเลยจ๊ะ ....เนี่ย น๊ะ วิสัยทัศน์ พระเอกทนงค์.........อ่านให้หมด.......เออจริงว่ะ...มันคล้าย If clause.........แต่ที่เหลือ มันเรื่องจริง ทั้งหมดเลยใช่ ป่ะ......อันนี้เป็นของความเห็น 135 3. หากรัฐบาลในตอนนั้น ตัดสินใจ ขยายแบนด์...หรือ ลอยค่าเงินบาท ...มันดีกว่า ไม่ทำอะไรเลยยังไง[/color] เมื่อเราแพ้เรื่องการโจมตีค่าเงินบาทแล้ว การตัดสินใจลอยค่าเงินบาทย่อมเป็นเรื่องที่ถูกต้อง เพราะถ้าโดน โจมตีต่อไม่เลิก เราไม่มีทุนสำรองเพียงพอแล้ว เรื่องแค่นี้เองทำไมคิดไม่ออก สงสัยเจ๊งหุ้นหรือเจ๊งเงินฝาก ไฟแนนซ์ตอนนั้นอะดิ เลยแค้นไม่หาย คิดถึงส่วนรวมมั่งดิ คนเจ๊งก็เป็นพวก speculator เสี่ยงเป็นชีวิตจิตใจ กันทั้งนั้น ส่วนพวกที่ซวยไปด้วยก็เป็นพนักงานในบริษัทเหล่านั้น แต่ภายหลังก็ฟื้นขึ้นมาได้ซะเยอะ เพราะ โครงสร้างการบริหารจัดการประเทศมันเปลี่ยนแบบพลิกในปี 2544 สมัยรัฐบาลอะไรหว่า เก่งจัง อันนี้ สงสัยอ่านหนังสือไม่รู้เรื่อง.....มิน่าถีงได้หัวปักหัวปำ......ผมหมายถึงไอ้บทความ"จินตนาการน้ำแตก"..ข้างล่างตรงตัวแดง ๆ ข้อบกพร่องของโครงสร้างระบบการบริหารการเงินอันนำไปสู่วิกฤตการณ์และความไม่มีประสิทธิภาพ ในการตัดสินใจเชิงนโยบาย
วิกฤตการณ์เศรษฐกิจไทยครั้งนี้ มีจุดเริ่มมาจากการก่อหนี้ของภาคเอกชน แต่การดำเนินนโบายการเงินของรัฐก็มีส่วนทำให้ปัญหาการก่อหนี้บานปลาย อย่างแทบจะไม่มีขีดจำกัด
ขั้นตอนของความเพลี่ยงพล้ำในการดำเนินนโยบายการเงิน ลำดับได้ดังต่อไปนี้
1. ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) อาจเลือกที่จะไม่ให้เปิดตลาดเงินทุนเสรีตั้งแต่ พ.ศ. 2533 แต่ ธปท. ก็เลือกที่จะให้เปิด การตัดสินใจให้เปิดครั้งนั้น นับว่าเป็นผลพวงของแนวนโยบายที่เป็นมาโดยต่อเนื่องเป็นระยะยาวนาน และสะท้อนความต้องการ ของฝ่ายการเมืองในขณะนั้นอย่างเต็มที่ เมื่อนายวิจิตรเข้ามารับตำแหน่งเป็นผู้ว่าการ ก็สานต่อนโยบายนั้นอย่างขะมักเขม้น ถึงขั้นเปิดวิเทศธนกิจ ซึ่งก็ได้รับความเห็นชอบจากทุกฝ่าย 2. เมื่อ ธปท. เลือกที่จะเปิดตลาดเงินทุนให้เสรีแล้ว ธปท. ก็ควรเลือกที่จะให้อัตราแลกเปลี่ยนยืดหยุ่นมากกว่านี้ แต่ ธปท. ก็เลือกที่จะ รักษาช่วง (band) อัตราแลกเปลี่ยนที่แคบมากไว้ จะมาเริ่มพิจารณาก็ในเดือนเมษายน 2539 ซึ่งสายไปเสียแล้ว เพราะหลังจากนั้น อีกไม่กี่เดือน ปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ก็รุนแรงจนทำให้ ธปท. กลัวที่จะดำเนินการใดๆ อีกต่อไป เพราะเกรงว่าจะส่งสัญญาณผิด ให้กับตลาด 3. เมื่อ ธปท. เลือกที่จะรักษาช่วงอัตราแลกเปลี่ยนที่แคบไว้เช่นนั้น ก็หมายความว่าแนวนโยบายทางด้านอุปสงค์รวมจะต้อง มีความระมัดระวัง (conservative) เป็นพิเศษ โดยเฉพาะในระยะตั้งแต่ พ.ศ. 2537 เป็นต้นมา นโยบายการคลังเป็นเรื่องของรัฐบาล และรัฐสภาก็จริงอยู่ แต่ ธปท. ก็มิได้ผลักดันอย่างจริงจัง ให้รัฐบาลมีนโยบายเกินดุลซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในช่วงนั้น ส่วนนโยบายการเงิน ที่ดึงปริมาณเงินในประเทศก็ไร้ผล เพราะถูกลบล้างด้วยเงินกู้จาก ต่างประเทศที่ไหลเข้ามาอย่างต่อเนื่อง 4. เมื่อ ธปท. ไม่สามารถใช้นโยบายการคลังหรือการเงินได้ ก็ควรจะใช้มาตรการไม่ให้เงินกู้ไหลเข้าประเทศอย่างมากมายเสียตั้งแต่ต้น แต่มาตรการที่ประกาศเป็นมาตรการที่อ่อน และนำมาใช้เมื่อสายไปแล้ว คือหลังจากไทยมีหนี้สินระยะสั้นในระดับสูงมากเกินไปเสียแล้ว หายโง่กันยังจ๊ะ เหอ เหอ  หายโง่ยังจ๊ะ เหอ ๆ ......ตกลงผมเขียน ตั้งสิบยี่สิบบรรทัด มี อันที่ เป็น if clause มีแค่นั้นใช่ม่ะ.....ที่เหลือ อีก สิบกว่า บรรทัด คุณแก๊ส ยอมรับว่าเป็นเรื่องจริงหมดเลยเหรอ....เอ๊ย !!!! ทำไมยอมรับกันง่าย ๆ งั้นอ่ะ..... "คิดถึงส่วนรวมมั่งดิ คนเจ๊งก็เป็นพวก speculator เสี่ยงเป็นชีวิตจิตใจ กันทั้งนั้น ส่วนพวกที่ซวยไปด้วยก็เป็นพนักงานในบริษัทเหล่านั้น ".......อ้นนี้ fact .....ต้องเห็นแก่ส่วนรวมมั่ง..ไม่ใช่เห็นแก่นักโกงชาติ......ส่วนที่เหลือในประโยคเดียวกัน...ขี้คุยท้างน้าน....เด๋ว คุยไปเรื่อย จะเปิดกระโหลกให้หายโง่ ว่า ทักษิณ มันคุยข่ม เรื่อง ใช้หนี้ IMF ......ตัวเลขกระจอก ๆ ไม่กี่ล้าน เหรียญ 
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 24-09-2007, 08:56 โดย 55555 »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #146 เมื่อ: 24-09-2007, 09:00 » |
|
ตกลงผมเขียน ตั้งสิบยี่สิบบรรทัด มี อันที่ เป็น if clause มีแค่นั้นใช่ม่ะ.....ที่เหลือ อีก สิบกว่า บรรทัด คุณแก๊ส ยอมรับว่าเป็นเรื่องจริงหมดเลยเหรอ....เอ๊ย !!!! ทำไมยอมรับกันง่าย ๆ งั้นอ่ะ.....[/b]  หาได้สามบรรทัดเองที่เป็น if clause ที่เหลือมันเป็น nonsense clause ต่างหาก พ่นไรมาไม่รู้ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #147 เมื่อ: 24-09-2007, 09:11 » |
|
ฮ่า ๆ แถไม่ออกดิ...  3. เมื่อ ธปท. เลือกที่จะรักษาช่วงอัตราแลกเปลี่ยนที่แคบไว้เช่นนั้น ก็หมายความว่าแนวนโยบายทางด้านอุปสงค์รวมจะต้อง มีความระมัดระวัง (conservative) เป็นพิเศษ โดยเฉพาะในระยะตั้งแต่ พ.ศ. 2537 เป็นต้นมา นโยบายการคลังเป็นเรื่องของรัฐบาล และรัฐสภาก็จริงอยู่ แต่ ธปท. ก็มิได้ผลักดันอย่างจริงจัง ให้รัฐบาลมีนโยบายเกินดุลซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในช่วงนั้น ส่วนนโยบายการเงิน ที่ดึงปริมาณเงินในประเทศก็ไร้ผล เพราะถูกลบล้างด้วยเงินกู้จาก ต่างประเทศที่ไหลเข้ามาอย่างต่อเนื่อง ไหนคนมีคนฉลาด ลองบอก ไอ้ บทข้างงบนวิเคราะห์นี่ หน่อยดิ...มั้นจริงยังไง 5555อันนี้ใช่จินตนาการน้ำแตก..ป่าว.....เมื่อเราแพ้เรื่องการโจมตีค่าเงินบาทแล้ว การตัดสินใจลอยค่าเงินบาทย่อมเป็นเรื่องที่ถูกต้อง เพราะถ้าโดน โจมตีต่อไม่เลิก เราไม่มีทุนสำรองเพียงพอแล้ว เรื่องแค่นี้เองทำไมคิดไม่ออก สงสัยเจ๊งหุ้นหรือเจ๊งเงินฝาก ไฟแนนซ์ตอนนั้นอะดิ เลยแค้นไม่หาย คิดถึงส่วนรวมมั่งดิ คนเจ๊งก็เป็นพวก speculator เสี่ยงเป็นชีวิตจิตใจ กันทั้งนั้น ส่วนพวกที่ซวยไปด้วยก็เป็นพนักงานในบริษัทเหล่านั้น แต่ภายหลังก็ฟื้นขึ้นมาได้ซะเยอะ เพราะ โครงสร้างการบริหารจัดการประเทศมันเปลี่ยนแบบพลิกในปี 2544 สมัยรัฐบาลอะไรหว่า เก่งจัง
ตอนนั้นยังไม่เคยเข้าตลาดหุ้นครับ อันนี้ ดิ มันเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริง...หลังจากลอยตัวค่าเงินบาท....สงสัยตอนนั้นยังเป็นวุ้นอยู่มั๊ง ถีงไม่รู้เรื่อง 55555ผมพูดเรื่องนี้ หลายครั้ง....การลอยตัว ค่าเงินบาท แทนที่จะลดค่าเงินบาทในสมัยนั้น ถือ เป็นวิสัยทัศน์ ที่โง่เง่าจริง ๆ....ทนงค์ นี่มันหมู หรือ แกล้งโง่ ให้ต่างชาติ หรือใคร ก็ไม่รู้ เข้ามายำเมืองไทยเล่น จนตาย แบบสำเพ็งไฟใหม้......การลอยตัวค่าเงินบาท ในขณะ ที่ มีความตื่นตระหนก เรื่อง เงินทุนสำรองลดลงอย่างรวดเร็ว.....เป็นเรื่องที่น่าจะรู้ดีว่า จะมีความเสียหายเกิดขึ้นแบบไม่มีขีดจำกัด....เราไม่สามารถประเมินได้เลยว่า เงินบาทจะไปหยุดอยู่ตรงที่เท่าไร...30 หรือ 100 บาท.....ต่อ 1 ดอลล่าห์.....ประเทศไทย ตอนนั้น มีหนี้ต่างประเทศ ประมาณ เก้าหมื่นกว่าล้านเหรียญ.....ลองคิดดูว่า ไอ้หนี้ พวกนั้นมันจะเป็นเท่าไหร่...เมื่อ เงินบาท เปลี่ยนจาก 26 บาท เป็น 56 บาทต่อ 1 ดอลล่าห์....แล้ว พวกเฮดฟันด์ หรือใคร ก็ไม่รู้ ที่มันเก็บเงิน ดอลล่าห์ ไว้ก่อนหน้านี้ มันจะรวยไปเท่าไหร่....คนที่เคยเล่นหุ้น จะเข้าใจ เวลาที่คนไล่ซื้อหุ้น หรือ มีข่าวร้าย หรือ ดีมาก ๆ ก็ตามแต่ จะมีการซื้อขายแบบไม่ลืม หู ลืมตา ....จน ตลาดหลักทรัพย์ ต้องออกกฏ ไฟแดงขึ้น เพื่อหยุด ตลาด...แต่ ของทนงค์ มันไม่มีไฟแดง อ่ะ ไปได้เรื่อย ๆ .แล้วแต่พวกพี่ เฮดฟันด์ เค้าจะพอใจ .......เคยเข้าตลาดหุ่นป่ะ.......อีกอย่าง การประกาศ ลอยตัวค่าเงินบาท โดยไม่มีแผนรองรับ..เช่น การสนับสนุนจาก IMF มันเป็นจุดอ่อนอยู่แล้ว .....หากรัฐบาลในขณะนั้น...อดทน แล้วไปประกาศเอา ณ วันที่ลงนาม กับ IMF (อีกเดือนเดียว).....เพื่อให้ตลาดรับรู้ว่า เราจะมีทุนสำรองเพียงพอ สำหรับ ใช้หนี้ต่างประเทศ...ก็ย่อมจะเป็นผลดีกว่า เย๊อะเลยจ๊ะ ....เนี่ย น๊ะ วิสัยทัศน์ พระเอกทนงค์.........
หลังจาก ประกาศ ลอยตัวค่าเงินบาท.....เงินบาท ลอยตัวไม่หยุด กำลัง ทะยานขึ้นสู่ดาวอังคาร....บรรดาเจ้าหนี้ ต่างประเทศ ซึ่ง ไม่รู้ว่าเงินบาท จะไปหยุดตรงไหน...ลูกหนี้จะมีปัญญาจ่ายหรือปล่าว ก็เร่งเรียกหนี้คืน ...ยิ่ง เป็นปฏิกริยาเร่งให้ บรรดา แบ็งค์ ไฟแนนซ์ ขาดทุน ระเนระนาด.....ที่นี้ ละ พ่อคุณเอ๋ย..........
บรรดา สถาบันการเงิน ต้องเอาตัวรอด แบบ ตัวใคร ตัวมัน....เร่งลดสินเชื่อ เร่งลดวงเงิน...เร่งทวงหนี้ที่ยังไม่ถึงเวลาชำระ ขึ้นดอกเบี้ย เก็บค่าปรับจ่ายช้า ......แล้วไงต่อ......เช็คที่จ่ายออกไป ก็เริ่ม เด้ง จาก การค้าใหญ่ อย่างพวกวัสดุก่อสร้าง.....เมื่อเก็บเงินจากบริษัทฯ ก่อสร้างไม่ได้......บริษัท ฯ ค้าวัสดุก่อสร้าง ก็เริ่มเด้งต่อ ไปที่ ผู้ผลิต ..ผู้ผลิต ก็ไปเด้งต่อ ผู้ขายวัตถุดิบ......ไม่พอ ยังมีพวก ไม่เบี้ยว ไม่หนี่ ไม่จ่าย ลอยหน้า ลอยตาในสังคม.อีก...นีเป็นตัวอย่างเดียวน๊ะ เนี่ย.....คงไม่ต้องหาหลักฐานหรอก...อยากรู้เดินเข้าไปถามร้านค้าใกล้บ้านได้เลยจ๊ะ
หนักว่านั้น...ทนงค์ บอกปิดไฟแนนซ์ เพื่อหยุดการไหลออกของเงิน......อันนี้ ดาบสอง....ฟันคอขาดเลยจ๊ะ......ไม่ว่า จะปิด ชั่วคราวเพียงแค่ 1 สัปดาห์ หรือ 1 เดือน เครดิตไลน์ในตลาด ก็เละแล้วจ๊ะ....เคยเขียนเช็คล่วงหน้าป่ะ
ในบรรดา ไฟแนนซ์ ต่าง ๆ ถึงแม้ จะมีหนี้เน่า....แต่มีจำนวนไม่น้อย ที่ เป็นลูกค้าที่ดี.....พอปิดปุ๊บ....เงินก็หมุนเวียนไม่ได้.....แล้ว ลูกค้าที่ดี ๆ ไม่ได้เกี่ยว กับ ค่าเงิน ก็ซวยไปด้วย วงเงินสินเชื่อก็ปิดไปโดยปริยาย....ทีนี้ เลยเน่าทั้งเข่งไงจ๊ะ แล้วไม่ใช่ ไฟแนนซ์ เดียว โห 58 เลย...มันมั๊ยล่ะ เจ๋งจริง ๆ......เป็นไงวิสัยทัศน์ พระเอกทนงค์...ยอดม่ะ......ไม่ต้องหาหลักฐานน๊ะ...อย่างรู้สอบถามไฟแนนซ์ ข้างบ้าน..แต่น่าจะรู้น่า...ยกเว้น ตอนนั้นคุณแก๊ส จะยังเป็นวุ้นอยู่ ....5555
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
|
 |
« ตอบ #148 เมื่อ: 24-09-2007, 09:33 » |
|
ทำไมวนเวียนหลายรอบจัง อ่านที่ตอบไม่เข้าใจเหรอ 3. เมื่อ ธปท. เลือกที่จะรักษาช่วงอัตราแลกเปลี่ยนที่แคบไว้เช่นนั้น ก็หมายความว่าแนวนโยบายทางด้านอุปสงค์รวมจะต้อง มีความระมัดระวัง (conservative) เป็นพิเศษ
ข้อเท็จจริงในอดีตและแนวทางปฏิบัติเมื่อเลือกทางนั้น โดยเฉพาะในระยะตั้งแต่ พ.ศ. 2537 เป็นต้นมา นโยบายการคลังเป็นเรื่องของรัฐบาล และรัฐสภาก็จริงอยู่ แต่ ธปท. ก็มิได้ ผลักดันอย่างจริงจัง ให้รัฐบาลมีนโยบายเกินดุลซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในช่วงนั้น
ข้อเท็จจริงอีกแล้ว วิเคราะห์ไว้ว่าไม่ทำตามแนวทางปฏิบัติ คือ ให้รัฐบาลมีนโยบายเกินดุล ส่วนนโยบายการเงิน ที่ดึงปริมาณเงินในประเทศก็ไร้ผล เพราะถูกลบล้างด้วยเงินกู้จาก ต่างประเทศที่ไหลเข้ามาอย่างต่อเนื่อง
นี่ก็ข้อเท็จจริงอีก จินตนาการน้ำแตกอยู่ตรงไหนหว่า อ๋ออยู่ตรงข้างล่างนี่เอง ผมพูดเรื่องนี้ หลายครั้ง....การลอยตัว ค่าเงินบาท แทนที่จะลดค่าเงินบาทในสมัยนั้น ถือ เป็นวิสัยทัศน์ ที่โง่เง่าจริง ๆ....ทนงค์ นี่มันหมู หรือ แกล้งโง่ ให้ต่างชาติ หรือใคร ก็ไม่รู้ เข้ามายำเมืองไทยเล่น จนตาย แบบสำเพ็งไฟใหม้......การลอยตัวค่าเงินบาท ในขณะ ที่ มีความตื่นตระหนก เรื่อง เงินทุนสำรองลดลงอย่างรวดเร็ว.....เป็นเรื่องที่น่าจะรู้ดีว่า จะมีความเสียหายเกิดขึ้นแบบไม่มีขีดจำกัด....เราไม่สามารถประเมินได้เลยว่า เงินบาทจะไปหยุดอยู่ตรงที่เท่าไร...30 หรือ 100 บาท.....ต่อ 1 ดอลล่าห์.....ประเทศไทย ตอนนั้น มีหนี้ต่างประเทศ ประมาณ เก้าหมื่นกว่าล้านเหรียญ.....ลองคิดดูว่า ไอ้หนี้ พวกนั้นมันจะเป็นเท่าไหร่...เมื่อ เงินบาท เปลี่ยนจาก 26 บาท เป็น 56 บาทต่อ 1 ดอลล่าห์....แล้ว พวกเฮดฟันด์ หรือใคร ก็ไม่รู้ ที่มันเก็บเงิน ดอลล่าห์ ไว้ก่อนหน้านี้ มันจะรวยไปเท่าไหร่....คนที่เคยเล่นหุ้น จะเข้าใจ เวลาที่คนไล่ซื้อหุ้น หรือ มีข่าวร้าย หรือ ดีมาก ๆ ก็ตามแต่ จะมีการซื้อขายแบบไม่ลืม หู ลืมตา ....จน ตลาดหลักทรัพย์ ต้องออกกฏ ไฟแดงขึ้น เพื่อหยุด ตลาด...แต่ ของทนงค์ มันไม่มีไฟแดง อ่ะ ไปได้เรื่อย ๆ .แล้วแต่พวกพี่ เฮดฟันด์ เค้าจะพอใจ .......เคยเข้าตลาดหุ่นป่ะ.......อีกอย่าง การประกาศ ลอยตัวค่าเงินบาท โดยไม่มีแผนรองรับ..เช่น การสนับสนุนจาก IMF มันเป็นจุดอ่อนอยู่แล้ว .....หากรัฐบาลในขณะนั้น...อดทน แล้วไปประกาศเอา ณ วันที่ลงนาม กับ IMF (อีกเดือนเดียว).....เพื่อให้ตลาดรับรู้ว่า เราจะมีทุนสำรองเพียงพอ สำหรับ ใช้หนี้ต่างประเทศ...ก็ย่อมจะเป็นผลดีกว่า เย๊อะเลยจ๊ะ ....เนี่ย น๊ะ วิสัยทัศน์ พระเอกทนงค์.........
ในบรรดา ไฟแนนซ์ ต่าง ๆ ถึงแม้ จะมีหนี้เน่า....แต่มีจำนวนไม่น้อย ที่ เป็นลูกค้าที่ดี.....พอปิดปุ๊บ....เงินก็หมุนเวียนไม่ได้.....แล้ว ลูกค้าที่ดี ๆ ไม่ได้เกี่ยว กับ ค่าเงิน ก็ซวยไปด้วย วงเงินสินเชื่อก็ปิดไปโดยปริยาย....ทีนี้ เลยเน่าทั้งเข่งไงจ๊ะ แล้วไม่ใช่ ไฟแนนซ์ เดียว โห 58 เลย...มันมั๊ยล่ะ เจ๋งจริง ๆ......เป็นไงวิสัยทัศน์ พระเอกทนงค์...ยอดม่ะ......ไม่ต้องหาหลักฐานน๊ะ...อย่างรู้สอบถามไฟแนนซ์ ข้างบ้าน..แต่น่าจะรู้น่า...ยกเว้น ตอนนั้นคุณแก๊ส จะยังเป็นวุ้นอยู่ ....5555
บอกไม่ได้หรอกนะว่าถ้าไม่รีบปิด 58 ไฟแนนซ์นั่น เหตุการณ์จะเป็นอย่างไรต่อ เพราะไม่ใช่เจ้าตำรับจินตนาการน้ำแตก ชอบ if clause เกินวันละสองครั้ง ข้อมูลไม่มีใครบันทึกว่า หนี้ที่ดี หนี้ที่เน่า ที่แท้จริงในขณะนั้นเป็นอย่างไร พวกที่มีเงิน จ่ายหนี้แต่ไม่จ่ายกะให้ล้มแล้วมาประมูลซื้อถูกๆ ก็มี ทางตรงไม่ได้ก็ผ่านตัวกลางที่ซื้อก้อนใหญ่มากระจายก็มี เรื่องพวก นี้ไม่สามารถเดาผลลัพธ์แบบวิเคราะห์ผลบอลหลังเกมส์หรอก มันซับซ้อนกว่ากันมาก แต่โดยข้อเท็จจริงที่ได้ปิดไฟแนนซ์ นั้นแล้ว และขายสินทรัพย์เหมาล็อตแบบถูกแสนถูก ประเทศไทยก็ค่อยๆ โงหัวขึ้นได้ และเจริญพุ่งเห็นๆ ในสมัยรัฐบาล ทักษิณก่อนจะผ่อนลงในช่วงที่ประสบปัญหา ความแข็งแกร่งในระบบเศรษฐกิจเกิดจากการกระจายรายได้และโอกาสไป สู่ท้องถิ่น นี่พูดเป็นรอบที่ร้อยแล้วมั้ง เพราะว่านักธุรกิจกลุ่มเดิมจำนวนและความสามารถมันจำกัด ถ้าไม่ได้ทักษิณกระจาย ออกไปยังกลุ่มเอสเอ็มอีใหม่ๆ แล้ว คงต้องกลับไปอ้อนไอเอ็มเอฟอีกรอบสมัยโรคซาร์ หวัดนก สึนามิ โอ๊ยน้ำแตกเรยยย 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
55555
|
 |
« ตอบ #149 เมื่อ: 24-09-2007, 09:45 » |
|
" 2.เมื่อ ธปท. เลือกที่จะเปิดตลาดเงินทุนให้เสรีแล้ว ธปท. ก็ควรเลือกที่จะให้อัตราแลกเปลี่ยนยืดหยุ่นมากกว่านี้ แต่ ธปท. ก็เลือกที่จะ รักษาช่วง (band) อัตราแลกเปลี่ยนที่แคบมากไว้ จะมาเริ่มพิจารณาก็ในเดือนเมษายน 2539 ซึ่งสายไปเสียแล้ว เพราะหลังจากนั้น อีกไม่กี่เดือน ปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ก็รุนแรงจนทำให้ ธปท. กลัวที่จะดำเนินการใดๆ อีกต่อไป เพราะเกรงว่าจะส่งสัญญาณผิด ให้กับตลาด " แล้วถ้าขยายแบนด์หรือ ยือหยุ่นมันจะมีผลยังไง"บอกไม่ได้หรอกนะว่าถ้าไม่รีบปิด 58 ไฟแนนซ์นั่น เหตุการณ์จะเป็นอย่างไรต่อ เพราะไม่ใช่เจ้าตำรับจินตนาการน้ำแตก ชอบ if clause เกินวันละสองครั้ง ข้อมูลไม่มีใครบันทึกว่า หนี้ที่ดี หนี้ที่เน่า ที่แท้จริงในขณะนั้นเป็นอย่างไร พวกที่มีเงิน จ่ายหนี้แต่ไม่จ่ายกะให้ล้มแล้วมาประมูลซื้อถูกๆ ก็มี ทางตรงไม่ได้ก็ผ่านตัวกลางที่ซื้อก้อนใหญ่มากระจายก็มี เรื่องพวก นี้ไม่สามารถเดาผลลัพธ์แบบวิเคราะห์ผลบอลหลังเกมส์หรอก มันซับซ้อนกว่ากันมาก แต่โดยข้อเท็จจริงที่ได้ปิดไฟแนนซ์ นั้นแล้ว และขายสินทรัพย์เหมาล็อตแบบถูกแสนถูก ประเทศไทยก็ค่อยๆ โงหัวขึ้นได้ และเจริญพุ่งเห็นๆ ในสมัยรัฐบาล ทักษิณก่อนจะผ่อนลงในช่วงที่ประสบปัญหา ความแข็งแกร่งในระบบเศรษฐกิจเกิดจากการกระจายรายได้และโอกาสไป สู่ท้องถิ่น นี่พูดเป็นรอบที่ร้อยแล้วมั้ง เพราะว่านักธุรกิจกลุ่มเดิมจำนวนและความสามารถมันจำกัด ถ้าไม่ได้ทักษิณกระจาย ออกไปยังกลุ่มเอสเอ็มอีใหม่ๆ แล้ว คงต้องกลับไปอ้อนไอเอ็มเอฟอีกรอบสมัยโรคซาร์ หวัดนก สึนามิ โอ๊ยน้ำแตกเรยยย " ฮ่า.........ถ้าไม่รับปิด เกิดอะไรขึ้นไม่รู้ดิ....แต่ปิดไปแล้ว....มัน ก็เกิด อย่างที่ คุณแก๊ส เป็นวุ้นอยู่แหละ.....ก็จะคุยเรื่องที่ มันเป็น fact ไง....อุตสาห์ถอยให้ก้าวนึ่งแล้วน๊ะเนี่ย....จะได้มัน ๆ หน่อยหลังจาก ประกาศ ลอยตัวค่าเงินบาท.....เงินบาท ลอยตัวไม่หยุด กำลัง ทะยานขึ้นสู่ดาวอังคาร....บรรดาเจ้าหนี้ ต่างประเทศ ซึ่ง ไม่รู้ว่าเงินบาท จะไปหยุดตรงไหน...ลูกหนี้จะมีปัญญาจ่ายหรือปล่าว ก็เร่งเรียกหนี้คืน ...ยิ่ง เป็นปฏิกริยาเร่งให้ บรรดา แบ็งค์ ไฟแนนซ์ ขาดทุน ระเนระนาด.....ที่นี้ ละ พ่อคุณเอ๋ย..........
บรรดา สถาบันการเงิน ต้องเอาตัวรอด แบบ ตัวใคร ตัวมัน....เร่งลดสินเชื่อ เร่งลดวงเงิน...เร่งทวงหนี้ที่ยังไม่ถึงเวลาชำระ ขึ้นดอกเบี้ย เก็บค่าปรับจ่ายช้า ......แล้วไงต่อ......เช็คที่จ่ายออกไป ก็เริ่ม เด้ง จาก การค้าใหญ่ อย่างพวกวัสดุก่อสร้าง.....เมื่อเก็บเงินจากบริษัทฯ ก่อสร้างไม่ได้......บริษัท ฯ ค้าวัสดุก่อสร้าง ก็เริ่มเด้งต่อ ไปที่ ผู้ผลิต ..ผู้ผลิต ก็ไปเด้งต่อ ผู้ขายวัตถุดิบ......ไม่พอ ยังมีพวก ไม่เบี้ยว ไม่หนี่ ไม่จ่าย ลอยหน้า ลอยตาในสังคม.อีก...นีเป็นตัวอย่างเดียวน๊ะ เนี่ย.....คงไม่ต้องหาหลักฐานหรอก...อยากรู้เดินเข้าไปถามร้านค้าใกล้บ้านได้เลยจ๊ะ
หนักว่านั้น...ทนงค์ บอกปิดไฟแนนซ์ เพื่อหยุดการไหลออกของเงิน......อันนี้ ดาบสอง....ฟันคอขาดเลยจ๊ะ......ไม่ว่า จะปิด ชั่วคราวเพียงแค่ 1 สัปดาห์ หรือ 1 เดือน เครดิตไลน์ในตลาด ก็เละแล้วจ๊ะ....เคยเขียนเช็คล่วงหน้าป่ะ
ในบรรดา ไฟแนนซ์ ต่าง ๆ ถึงแม้ จะมีหนี้เน่า....แต่มีจำนวนไม่น้อย ที่ เป็นลูกค้าที่ดี.....พอปิดปุ๊บ....เงินก็หมุนเวียนไม่ได้.....แล้ว ลูกค้าที่ดี ๆ ไม่ได้เกี่ยว กับ ค่าเงิน ก็ซวยไปด้วย วงเงินสินเชื่อก็ปิดไปโดยปริยาย....ทีนี้ เลยเน่าทั้งเข่งไงจ๊ะ แล้วไม่ใช่ ไฟแนนซ์ เดียว โห 58 เลย...มันมั๊ยล่ะ เจ๋งจริง ๆ......เป็นไงวิสัยทัศน์ พระเอกทนงค์...ยอดม่ะ......ไม่ต้องหาหลักฐานน๊ะ...อย่างรู้สอบถามไฟแนนซ์ ข้างบ้าน..แต่น่าจะรู้น่า...ยกเว้น ตอนนั้นคุณแก๊ส จะยังเป็นวุ้นอยู่ ....5555
555 หมดปัญญาเถียง ไปจับผิดคำเล็กคำน้อย.....
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|