ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
29-03-2024, 13:43
378,182 กระทู้ ใน 21,926 หัวข้อ โดย 9,412 สมาชิก
สมาชิกล่าสุด: MAN4U
ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด (รุ่นแรก)  |  ทั่วไป  |  สภากาแฟ  |  เห็นเรื่องนี้ในไทยรัฐแล้วขำก๊ากให้กับความมั่วเลย 0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
หน้า: 1 ... 4 5 6 7 8 9 10 [11] 12 13 14 15 16
เห็นเรื่องนี้ในไทยรัฐแล้วขำก๊ากให้กับความมั่วเลย  (อ่าน 69083 ครั้ง)
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #500 เมื่อ: 16-08-2007, 23:08 »

ในข้อความที่ยกมา อ่านได้ความว่าไปเจอ C14 ในตัวอย่างที่ไม่ใช่สิ่งมีชีวิต
อย่างเช่นเพชร และเนื่องจาก C14 จะสลายตัวหมดภายในเวลา 1 แสนปี
การพบ C14 หลงเหลืออยู่ก็เลยสรุปว่าอายุตัวอย่างไม่เกิน 1 แสนปีน่ะครับ

สองแสนห้าหมื่นปีเขาบอกว่าถึงแม้ใช้เครื่องมือที่มีความไวสูง ก็ไม่มีโอกาสจะตรวจพบได้เลยครับ..
บันทึกการเข้า

********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #501 เมื่อ: 16-08-2007, 23:10 »

เพชรที่บอก มันเป็นความเชื่อไม่ใช่หรือ จะรู้ได้ยังไงว่ามันอายุเท่าโลก
เท่าที่ตจำได้ มันตรวจได้เฉาพะที่เป็นสิ่งมีชีวิตนี่ และที่สำคัญ half-live
ของ C14 มันเท่าไหร่ครับ ถ้ามันไม่นาน มันก็บอกไม่ได้นะ

เปิดเว็บบอกว่า 5730 ปี อย่างนี้ ถ้านานมากๆ มันก็ผิดพลาดได้มากนะ
จะมาอ้างว่า ไม่เกิดแสนปี ไม่ได้หรอก ฟอสซิล เขาใช้อะไรตรวจ C14
อย่างเดียวหรือ?



ปัญหาคือเท่าที่อ่านผ่านมา พบว่ามีการวัดอายุจากสภาพแวดล้อมเปรียบเทียบด้วย.

พืชสังเคราะห์แสงด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ สิ่งมีชีวิตที่ตาย และชั้นบรรยากาศ

แลกเปลี่ยนปริมาณคาร์บอนกับที่พบในระบบเปิดด้วยครับ เขาวัดได้เป็นล้านปีจากการคำนวณโดยมีสมุติฐานตั้งต้นว่าโลกมีอายุสีพันหกร้อยล้านปีครับ

จากแร่ธาตุทุกชนิดที่มีในโลก คงเป็นการคำนวณที่ซับซ้อน บนสมมุติฐานโลกมีธาตุทุกชนิดอยู่นานแล้วตั้งแต่เริ่ม

เอาสิ่งมีชีวิตที่ยังอยู่เปรียบเทียบกับที่ตายไปแล้ว เปรียบเทียบกับอายุโลก ฯลฯ

บันทึกการเข้า

Solidus
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3,381



« ตอบ #502 เมื่อ: 16-08-2007, 23:12 »

สนใจเรื่องการวัดอายุวัตถุ ติดต่อสอบถามได้ที่ ส่วนวิจัยซากดึกดำบรรพ์และพิพิธภัณฑ์ธรณีวิทยา 02-2023746
บันทึกการเข้า
Solidus
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3,381



« ตอบ #503 เมื่อ: 16-08-2007, 23:16 »

ส่วนสถานที่ดังต่อไปนี้เป็นสถานที่หลอกลวงผู้คนในสายตาของคุณ Q เนื่องจากบอกว่ามีอายุเป็นล้านปี จะปล่อยให้หน่วยงานรัฐหลอกลวงประชาชนต่อไปแบบนี้รึครับคุณ Q 

บันทึกการเข้า
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #504 เมื่อ: 16-08-2007, 23:16 »

สนใจเรื่องการวัดอายุวัตถุ ติดต่อสอบถามได้ที่ ส่วนวิจัยซากดึกดำบรรพ์และพิพิธภัณฑ์ธรณีวิทยา 02-2023746

คิดว่าเข้าใจดีก็อธิบายสิครับ 
บันทึกการเข้า

Solidus
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3,381



« ตอบ #505 เมื่อ: 16-08-2007, 23:17 »

คิดว่าเข้าใจดีก็อธิบายสิครับ 
ไว้อธิบายหลังที่คุณอธิบายคำถามที่ผมถามไว้ก่อนเถอะครับ
บันทึกการเข้า
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #506 เมื่อ: 16-08-2007, 23:19 »

ส่วนสถานที่ดังต่อไปนี้เป็นสถานที่หลอกลวงผู้คนในสายตาของคุณ Q เนื่องจากบอกว่ามีอายุเป็นล้านปี จะปล่อยให้หน่วยงานรัฐหลอกลวงประชาชนต่อไปแบบนี้รึครับคุณ Q 



เรื่องสีติดทนมากๆนี่ ก็ไม่เข้าใจจริงๆครับ
บันทึกการเข้า

jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #507 เมื่อ: 16-08-2007, 23:21 »

สองแสนห้าหมื่นปีเขาบอกว่าถึงแม้ใช้เครื่องมือที่มีความไวสูง ก็ไม่มีโอกาสจะตรวจพบได้เลยครับ..

นั่นสิครับ.. แต่ทำไมคุณ Q ไม่ตอบคำถามผมเสียทีล่ะครับ?

คราวก่อนที่ผมถามไว้คือสรุปว่าช่วง Phanerozoic รวมกันไม่เกิน 250,000 ปี ใช่ไหม
และต่อมาคือคือสรุปว่าโลกอายุไม่เกิน 100,000 ปีใช่ไหม

ตอบผมสิคุณ Q ... ใช่ หรือว่า ไม่ใช่ ?
บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #508 เมื่อ: 16-08-2007, 23:24 »

นั่นสิครับ.. แต่ทำไมคุณ Q ไม่ตอบคำถามผมเสียทีล่ะครับ?

คราวก่อนที่ผมถามไว้คือสรุปว่าช่วง Phanerozoic รวมกันไม่เกิน 250,000 ปี ใช่ไหม
และต่อมาคือคือสรุปว่าโลกอายุไม่เกิน 100,000 ปีใช่ไหม

ตอบผมสิคุณ Q ... ใช่ หรือว่า ไม่ใช่ ?

ผมต้องการหลักฐานที่เชื่อถือได้หักล้างมากกว่า
บันทึกการเข้า

********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #509 เมื่อ: 16-08-2007, 23:26 »



โครงกระดูกมนุษย์ปัจจุบัน ที่มีอายุไม่นานนักก่อนยุคมีตัวหนังสือ หายไปไหนหมด

มันดูมีความเชื่อมโยงกว่าใช่หรือไม่ละครับ..
บันทึกการเข้า

Solidus
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3,381



« ตอบ #510 เมื่อ: 16-08-2007, 23:30 »

สถานที่หลอกลวงประชาชนอีกแห่งหนึ่งของประเทศไทย รับรองว่าเป็นเรื่องจริงโดยคุณ Q 

ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว
บันทึกการเข้า
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #511 เมื่อ: 16-08-2007, 23:33 »

ผมต้องการหลักฐานที่เชื่อถือได้หักล้างมากกว่า

รู้สึกเป็นเวรกรรมของผมจริงๆ ถามคุณ Q มาตั้งแต่บ่าย 3 โมงครึ่ง
แค่คำถามง่ายๆ แต่ร่วม 8 ชั่วโมงแล้วยังไม่ได้คำตอบอะไรเลย 
บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #512 เมื่อ: 16-08-2007, 23:36 »

รู้สึกเป็นเวรกรรมของผมจริงๆ ถามคุณ Q มาตั้งแต่บ่าย 3 โมงครึ่ง
แค่คำถามง่ายๆ แต่ร่วม 8 ชั่วโมงแล้วยังไม่ได้คำตอบอะไรเลย 

หลักฐานมีน้อยมากจะสรุปเป็นล้านปี ผมควรถามหาว่าทำไมเชื่อกันมากกว่า
บันทึกการเข้า

jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #513 เมื่อ: 16-08-2007, 23:37 »

เอาอย่างนี้นะครับ คุณ Q ต้องการหลักฐานหักล้างประเด็นไหนครับ
ในเมื่อคุณไม่ตั้งโจทย์ให้ผมก่อน เช่น ตั้งว่าโลกอายุไม่เกิน 1 แสนปี
ผมจะได้ไปหาหลักฐานมาหักล้างได้ว่า โลกน่าจะอายุมากกว่านั้น

คุณสรุปมาสิครับว่าจะคุยกันที่อายุโลกกี่ปี ผมจะได้คุยต่อเสียที
บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
Solidus
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3,381



« ตอบ #514 เมื่อ: 16-08-2007, 23:37 »

รู้สึกเป็นเวรกรรมของผมจริงๆ ถามคุณ Q มาตั้งแต่บ่าย 3 โมงครึ่ง
แค่คำถามง่ายๆ แต่ร่วม 8 ชั่วโมงแล้วยังไม่ได้คำตอบอะไรเลย 
ไม่ต้องห่วงครับ ขนาดผมถามไปเป็นอาทิตย์แล้วยังไม่ได้คำตอบเลยครับ 
บันทึกการเข้า
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #515 เมื่อ: 16-08-2007, 23:40 »



เซลล์ของสิ่งมีชิวตที่ฝ่อไปแล้วตายแล้ว เอาไว้ฟ้าช็อตหนักๆทำให้กลับมีชีวิตได้หรือไม่ครับ..
บันทึกการเข้า

jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #516 เมื่อ: 16-08-2007, 23:42 »

หลักฐานมีน้อยมากจะสรุปเป็นล้านปี ผมควรถามหาว่าทำไมเชื่อกันมากกว่า

เอาอย่างนี้แล้วกัน .. ผมขออนุญาตสรุปเองว่าคุณ Q เชื่อว่าอายุโลกไม่เกิน 1 ล้านปี
และเชื่อว่าตลอดช่วง Phanerozoic มีระยะเวลารวมกันไม่เกิน 250,000 ปี ตามข้อมูล
ในเอกสารที่คุณ Q ยกมาให้ดู

..ถ้าคุณ Q ไม่แย้งอะไรมา ถือว่ายอมรับข้อสรุปของผมโดยปริยาย..

จะได้คุยกันต่อเสียทีนะครับ เดี๋ยวผมจะเผลอหลับคาคีย์บอร์ดเสียก่อน  
บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #517 เมื่อ: 16-08-2007, 23:45 »

ไม่ต้องห่วงครับ ขนาดผมถามไปเป็นอาทิตย์แล้วยังไม่ได้คำตอบเลยครับ 

ช่วยกันหาสิครับ..โครงกระดูกคนสัก เจ็ดแปดพันปียังหายาก คงเข้าใจได้ยากว่าที่เขาคิดว่าโครงกระดูกมีอายุหลายล้านปี

เขาคำนวณแบบไหน ถามหาข้อมูลการคำนวณแบบที่ผมยกมาให้ดูกันก็ไม่มี..ที่ยกมาแตกต่างกันตรงความไวของเครื่องมือในการตรวจจับครับ

แล้วไม่เข้าใจครงไหนละครับ เชื่อไม่เชื่ออีกเรื่องหนึ่ง
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 16-08-2007, 23:50 โดย ********Q******** » บันทึกการเข้า

********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #518 เมื่อ: 16-08-2007, 23:48 »

เอาอย่างนี้แล้วกัน .. ผมขออนุญาตสรุปเองว่าคุณ Q เชื่อว่าอายุโลกไม่เกิน 1 ล้านปี
และเชื่อว่าตลอดช่วง Phanerozoic มีระยะเวลารวมกันไม่เกิน 250,000 ปี ตามข้อมูล
ในเอกสารที่คุณ Q ยกมาให้ดู

..ถ้าคุณ Q ไม่แย้งอะไรมา ถือว่ายอมรับข้อสรุปของผมโดยปริยาย..

จะได้คุยกันต่อเสียทีนะครับ เดี๋ยวผมจะเผลอหลับคาคีย์บอร์ดเสียก่อน  

ผมต้องการทราบวิธีคำนวณของคนที่เชื่อว่ามีหลักฐานเป็นล้านปีครับ พิจารณาความเป็นไปได้..ของสมมุติฐาน หากมีหลักฐานที่เชื่อได้นะครับ
บันทึกการเข้า

jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #519 เมื่อ: 16-08-2007, 23:55 »

ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่ไหน?
555 ล้อเล่นครับ.. ความสำเร็จก็อยู่ที่นี่นั่นเอง 

คุณ Q ไม่แย้งมา.. เท่ากับว่าผมได้รับคำตอบแล้ว
ในที่สุดก็จะได้คุยต่อแล้วครับทุกๆ ท่าน 
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 16-08-2007, 23:57 โดย jerasak » บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #520 เมื่อ: 17-08-2007, 00:02 »

ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่ไหน?
555 ล้อเล่นครับ.. ความสำเร็จก็อยู่ที่นี่นั่นเอง 

คุณ Q ไม่แย้งมา.. เท่ากับว่าผมได้รับคำตอบแล้ว
ในที่สุดก็จะได้คุยต่อแล้วครับทุกๆ ท่าน 

คุยแนวไหนละครับ แฟนตาซีหรืออิง ข้อเท็จจริงที่รัดกุมครับ..

ไว้มาอ่านต่อดีกว่า....ผมเริ่มง่วงเหมือนกันละ
บันทึกการเข้า

jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #521 เมื่อ: 17-08-2007, 00:06 »

ผมต้องการทราบวิธีคำนวณของคนที่เชื่อว่ามีหลักฐานเป็นล้านปีครับ พิจารณาความเป็นไปได้..ของสมมุติฐาน หากมีหลักฐานที่เชื่อได้นะครับ

ต้องการหลักฐานเป็นล้านปี ก็เอาอันนี้ไปเลยครับ "หุบเขาแกรนแคนยอน"
มีชั้นหินในช่วง Phanerozoic ระหว่าง Cambrian ถึง Permian period
ซึ่งตามลำดับธรณีกาล คืออายุ 570 ล้านปี มาถึง 245 ล้านปีก่อน

ชั้นหินทั้งหมดในช่วงนี้เป็น "หินตะกอน" ความหนารวมกันร่วม 1 กิโลเมตร
เต็มไปด้วย Index Fossil จำนวนมากตลอดความหนาของชั้นหินทั้งหมด
และขอย้ำว่าเป็น "หิน" นะครับไม่ใช่ "ดินตะกอน"

ชั้นหินทั้งหมดข้างต้น ตลอดลงไปถึงชั้นลึกกว่าถูกแม่น้ำโคโรลาโดกัดเซาะ
ลึกลงไปถึงกว่า 1500 เมตร ซึ่งเกิดจากการยกตัวขึ้นของพื้นที่บริเวณนั้น
อย่างต่อเนื่อง ทำให้ทางน้ำมีแรงกัดเซาะในทางลึกอย่างสูง

บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #522 เมื่อ: 17-08-2007, 00:10 »

ถ้าถือตามข้อสรุปในงานวิจัยที่ว่าช่วง Phanerozoic มีอายุรวมกันไม่เกิน 250,000 ปี

ก็เท่ากับว่า Grand Canyon ต้องสะสมตัวกลายเป็นชั้นหินตะกอนหนากว่า 1 กิโลเมตร
และถูกแม่น้ำโคโรลาโดกัดเซาะลงไปลึกกว่า 1500 เมตร ภายในเวลาทั้งหมดแค่เพียง
250,000 ปีเท่านั้น

สำหรับผมคิดว่าเป็นไปไม่ได้ครับ ทั้งนี้โดยไม่ต้องดูการตรวจสอบสารรังสีอะไรทั้งสิ้น
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 17-08-2007, 00:12 โดย jerasak » บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
Can ไทเมือง
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 13,486



เว็บไซต์
« ตอบ #523 เมื่อ: 17-08-2007, 00:16 »

ใกล้จะถึงเรื่อง "โลกร้อน" ยังครับ อิ อิ

ตามอ่านก็ได้ความรู้ดี
บันทึกการเข้า

Solidus
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3,381



« ตอบ #524 เมื่อ: 17-08-2007, 00:17 »

ช่วยกันหาสิครับ..โครงกระดูกคนสัก เจ็ดแปดพันปียังหายาก คงเข้าใจได้ยากว่าที่เขาคิดว่าโครงกระดูกมีอายุหลายล้านปี

เขาคำนวณแบบไหน ถามหาข้อมูลการคำนวณแบบที่ผมยกมาให้ดูกันก็ไม่มี..ที่ยกมาแตกต่างกันตรงความไวของเครื่องมือในการตรวจจับครับ

แล้วไม่เข้าใจครงไหนละครับ เชื่อไม่เชื่ออีกเรื่องหนึ่ง

กลับไปอ่านลิงค์ใน #478 แล้วก็ไปค้นคว้าเรื่องกายวิภาคเพิ่มด้วยนะครับ
บันทึกการเข้า
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #525 เมื่อ: 17-08-2007, 00:19 »

และต้องนึกด้วยนะครับว่า Grand Canyon ไม่ได้มีชั้นหินทั้งหมดในช่วง Phanerozoic
ยังมีชั้นหินที่อยู่สูงกว่า Permian อีก ตามลำดับธรณีกาลคืออีกประมาณ 250 ล้านปี

เอาแค่ในช่วง Jurassic อย่างเดียว เช่น ชั้นหินตะกอนที่ภูกระดึงของเราก็หนาเข้าไป
อีกเป็นกิโลเมตรแล้วล่ะครับ ยังไม่นับช่วงอื่นๆ เลย

บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #526 เมื่อ: 17-08-2007, 00:29 »

เอาเท่าที่เห็นข้อมูลของ Grand Canyon รวมกับ ภูกระดึง
ชั้นหินตะกอนช่วง Phanerozoic น่าจะมีความหนารวมกัน
ทั้งหมดร่วมๆ 3 กิโลเมตร ชั้นหินขนาดนี้จะเกิดได้ในเวลา
เพียงแค่ 2 แสนกว่าปี .. ผมไม่เชื่อว่าเป็นไปได้ครับ

ยิ่งถ้าจะสรุปว่าโลกอายุไม่เกิน 1 แสนปี ผมนึกไม่ออกเลย
ว่าจะให้ชั้นหินทั้งหมดเกิดในเวลาแค่ 1 แสนปีได้ยังไง


ข้อสังเกตที่ว่าตรวจพบ Carbon 14 ในตัวอย่างต่างๆ นั้น
จึงควรหาคำอธิบายมากกว่าว่ามี Carbon 14 ได้อย่างไร

ไม่ใช่ไปสรุปว่าโลกเราอายุแค่ไม่เกิน 1 แสนปีนะครับ
บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #527 เมื่อ: 17-08-2007, 00:36 »

เอาเท่าที่เห็นข้อมูลของ Grand Canyon รวมกับ ภูกระดึง
ชั้นหินตะกอนช่วง Phanerozoic น่าจะมีความหนารวมกัน
ทั้งหมดร่วมๆ 3 กิโลเมตร ชั้นหินขนาดนี้จะเกิดได้ในเวลา
เพียงแค่ 2 แสนกว่าปี .. ผมไม่เชื่อว่าเป็นไปได้ครับ

ยิ่งถ้าจะสรุปว่าโลกอายุไม่เกิน 1 แสนปี ผมนึกไม่ออกเลย
ว่าจะให้ชั้นหินทั้งหมดเกิดในเวลาแค่ 1 แสนปีได้ยังไง


ข้อสังเกตที่ว่าตรวจพบ Carbon 14 ในตัวอย่างต่างๆ นั้น
จึงควรหาคำอธิบายมากกว่าว่ามี Carbon 14 ได้อย่างไร

ไม่ใช่ไปสรุปว่าโลกเราอายุแค่ไม่เกิน 1 แสนปีนะครับ

ก็ว่าไปครับ.. เปลือกหอยในชั้นหินอาจจะเก่ามากนะครับ คะเนด้วยสายตาอายุเท่าไหรครับ..

เปลือกโลกตรงที่เอามายกตัวปีละกี่เซนครับ?
บันทึกการเข้า

********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #528 เมื่อ: 17-08-2007, 00:39 »

กลับไปอ่านลิงค์ใน #478 แล้วก็ไปค้นคว้าเรื่องกายวิภาคเพิ่มด้วยนะครับ

มีของจริง ฝากน้องๆไปผ่าก็ได้ครับ..ถ้าเป็นคน ไม่ไช่ลิงนะครับ
บันทึกการเข้า

jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #529 เมื่อ: 17-08-2007, 00:54 »

ส่วนการกำหนดอายุทางธรณีวิทยาและโบราณคดีนั้น ก็พัฒนาขึ้นจากงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์
เช่นจากเว็บของธรณีวิทยา จุฬาฯ ก็อ้างอิงไว้หลายตัว

- Thermoluminescence-TL (Wintle and Huntley, 1982; Aitken, 1985; Takashima and Honda, 1989)
- Optically stimulated luminescence-OSL (Huntley, Godfrey-Smith, and Thewalt,1985; Aitken,1998)
- Amino acid racemisation (Miller and Brigham-Grette, 1989; Wehmiller and Miller, 2000)
- Fission track (Wagner and Van den haute,1992; Dumitru, 2000)
- U-series (Ivanovich and Harmon, 1992; Schwarcz, 1997; Ku, 2000)
- Electron spin resonance-ESR (Ikeya, 1993; Gr?n, 2001)
- Radiocarbon (Taylor, 1997; Hedges, 2000), dendrochronology (Kuniholm, 2001)
- K/Ar and 40Ar/ 39Ar (McDougall and Harrison, 1999)
- อะไรอื่นๆ อีกเยอะแยะ ฯลฯ


ซึ่งการกำหนดอายุจากแต่ละวิธี ก็มีความเหมาะสมกับตัวอย่างแตกต่างกันไป
และมีความแม่นยำแตกต่างกัน ขึ้นกับช่วงอายุของตัวอย่างที่ต้องการตรวจสอบ
การใช้ Carbon14 จัดอยู่ในกลุ่ม Radiocarbon ซึ่งใช้ได้แม่นยำแค่หลักหมื่นปี
ความเหมาะสมในการใช้งาน dating ในช่วงต่างๆ ก็ดูได้ตามแผนภาพ

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 17-08-2007, 00:56 โดย jerasak » บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #530 เมื่อ: 17-08-2007, 00:58 »

หรือจากแผนผังนี้อาจจะดูง่ายกว่าอีกหน่อย

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 17-08-2007, 01:01 โดย jerasak » บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #531 เมื่อ: 17-08-2007, 01:02 »

ส่วนกราฟนี้เป็นค่าความผิดพลาดโดยประมาณ ในแต่ละเทคนิคการกำหนดอายุ

บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #532 เมื่อ: 17-08-2007, 01:05 »

เว็บธรณีวิทยา จุฬาฯ เขามีอธิบายการ dating แต่ละวิธีเอาไว้พอสมควร ถ้าใครสนใจก็ตามไปอ่านกันเองนะครับเพราะยาวมาก

http://www.geo.sc.chula.ac.th/EATGRU%20Hompage/Luminescence%20laboratory/Luminescence%20dating.htm
บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #533 เมื่อ: 17-08-2007, 01:12 »



ผมเสริมให้ นะครับหินตะกอนแสดงว่าเคยถูกน้ำท่วมถึงครับ

แล้วก็แสนเซ็นติเมตร เท่ากับหนึ่งกิโลเมตร..
บันทึกการเข้า

jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #534 เมื่อ: 17-08-2007, 01:32 »

ก็ว่าไปครับ.. เปลือกหอยในชั้นหินอาจจะเก่ามากนะครับ คะเนด้วยสายตาอายุเท่าไหรครับ..

เปลือกโลกตรงที่เอามายกตัวปีละกี่เซนครับ?


ยังไม่ต้องดูเปลือกหอยหรอกครับ ดูแค่ขนาดของความหนาชั้นหินตะกอนหลายกิโลเมตร
ก็น่าจะรู้แล้วว่าไม่ได้เกิดพร้อมกันในเวลาสั้นๆ

ยังไม่นับเรื่องพอเกิดเป็นชั้นหินแล้ว Grand Canyon ต้องมีเวลาในการยกตัวขึ้นและถูก
ทางน้ำกัดเซาะจนกลายเป็นหุบเหวลึกกว่า 1500 เมตรเข้าไปอีก


และต้องระลึกไว้ด้วยนะครับว่าที่เห็นใหญ่โตขนาดนั้นคือ "หินตะกอน" มีส่วนของ "หินทราย"
ซึ่งเกิดจากเศษหินที่สึกกร่อนมาจาก "หินเดิม" ที่เกิดขึ้นก่อนหน้านี้อีก ต้องใช้เวลาเท่าไหร่
ภูเขาหินเดิมถึงจะสึกกร่อนจนกลายเป็นทรายมาสะสมตัวเป็นหินทรายมหาศาลขนาดนี้?

และในส่วนของ "หินปูน" ก็เกิดจากการตกผลึกของแร่ธาตุในน้ำเนื่องจากเกิดสภาพน้ำทะเล
แห้งงวดลงเข้มข้นจนในที่สุดสะสมตัวกลายเป็นชั้นหินปูน หรืออาจเกิดจากการสะสมตัวของ
ปะการังที่ตายทับถมกัน ต้องใช้เวลาเท่าไหร่กว่าจะสะสมกลายเป็นหินปูนหนามากขนาดนั้น
เรื่องนี้ไม่ใช่เหมือนการสะสมตัวของขี้เลนขี้โคลนตามแม่น้ำที่สะสมตัวหนาได้ง่ายๆ

---

เรื่องเปลือกโลกตรงนั้นยกตัวปีละกี่เซนติเมตร ก็อยู่ที่ว่าคุณ Q คิดว่าทั้งหมด 1500 เมตร
ใช้เวลายกตัวกี่ปี สมมุติว่าชั้นหินตะกอนทั้งหมดใช้เวลาก่อตัวก่อนยกตัว 2 แสนปีนะครับ
ก็จะเหลือเวลาแค่ 50,000 ปี เท่ากับ Grand Canyon ต้องยกตัวถึงปีละ 3 เซนติเมตร
ต่อเนื่องกันตลอด คิดว่าเป็นไปได้ไหมล่ะครับ?

แต่ถ้าคิดว่าชั้นหินใช้เวลาก่อตัวเร็วกว่า 2 แสนปี ตีเสียว่าแค่ 1 แสนปีก็ก่อตัวเสร็จแล้ว
Grand Canyon ก็จะมีเวลายกตัว 150,000 ปีตกปีละ 1 เซนติเมตร (ก็ยังเวอร์อยู่นะ)
แต่ถามว่าเวลาแค่ 1 แสนปีชั้นหินจะทันก่อตัวได้หนาเป็นกิโลเมตรเลยหรือครับ


ยิ่งถ้าเอาสมมุติฐานว่าโลกอายุไม่เกิน 1 แสนปีมาจับ ยิ่งไปกันใหญ่เลยเพราะเหลือเวลา
แค่ช่วงละไม่กี่หมื่นปี หินเดิมสึกกร่อน 3 หมื่นกว่าปี หินตะกอนก่อตัว 3 หมื่นกว่าปี ชั้นหิน
ยกตัวถูกกัดเซาะอีก 3 หมื่นกว่าปี  มันจะเป็นไปได้หรือครับ.. ผมไม่เชื่อ
 Mr. Green
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 17-08-2007, 01:47 โดย jerasak » บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #535 เมื่อ: 17-08-2007, 01:36 »


ผมเสริมให้ นะครับหินตะกอนแสดงว่าเคยถูกน้ำท่วมถึงครับ

แล้วก็แสนเซ็นติเมตร เท่ากับหนึ่งกิโลเมตร..


ถ้าคุณ Q จะอ้างโยงไปเรื่องน้ำท่วมโลก..

น้ำท่วมจากฝนตก 40 วัน เข้าใจว่าท่วมอยู่แค่ประมาณปีเดียว
ทำให้เกิดชั้นหินตะกอนหนาเป็นกิโลเมตรเลยหรือครับ

มันจะโอเวอร์ไปนะครับผมว่า 
บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #536 เมื่อ: 17-08-2007, 01:45 »

อยากจะยกตัวอย่างเรื่องการสึกกร่อนของหินให้ดูสักหน่อย
เอาตัวอย่างที่เราพอจะรู้อายุอ้างอิงได้นะครับ

พีระมิดคีออปส์ ที่อียิปต์ อายุประมาณ 4600 ปี ณ ตอนนี้
เป็นกองหินปูนสูงประมาณแค่ 150 เมตรเท่านั้น ถ้านับเป็น
สิ่งก่อสร้างก็นับว่าใหญ่ แต่ถ้าเทียบกับภูเขาก็เล็กนิดเดียว

ทั้งที่ตากแดด ตากลม ตากฝน แถมอาจโดนพายุทรายอีก
ผ่านมา 4600 ปีแล้ว ไม่เห็นว่าจะสะดุ้งสะเทือนอะไรเลย
ที่เห็นชัดก็แค่ยอดแหลมข้างบนหายไปนิดเดียวเท่านั้น

แล้วถ้าจะให้ภูเขาหินจริงๆ ที่สูงเป็นกิโลเมตรสึกกร่อนลง
จนกลายเป็นทรายถูกพัดพามาสะสมเกิดเป็นหินทรายใหม่
จะต้องใช้เวลาเท่าไหร่ แค่ไม่กี่หมื่นปีจะไหวหรือ?
บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
irq5
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,149



« ตอบ #537 เมื่อ: 17-08-2007, 02:11 »

   ดึกกันจังเลย

เอาเรื่อง C14 ก่อนนะครับ

C14 จะสะสมในตัวของสิ่งมีชีวิตอยู่แล้ว

และจะเริ่มสลายพลังงานเมื่อสิ่งมีชีวิตนั้นตายลง

การตรวจ C14 ของซากสิ่งมีชีวิตก็จะเทียบด้วยว่าไม่มีการรบกวนโดย รอบข้าง

กล่าวคือ จะตรวจ C14 ได้ ต่อเมื่อเจอ C14 เฉพาะในร่อยรอยซากเท่านั้น

หากพบมี C14 กระจายบริเวณนั้นถือว่าตรวจสอบแล้วไม่ได้รับผลที่แท้จริง

 
บันทึกการเข้า

.:MMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMddMMMs..
.:MMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMssMMMMs..
.:Mddddddddddddddddddddddddddo+ddddNs..
.:M................................................hs..
.:M.............//:................//:.............hs..
.:M...........:MMs.............NMd............hs..
.:M................................................hs..
.:M................................................hs..
.:M.............yNNNNNNNNNN................hs..
.:M.................................................hs..
.:dyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyho..

....W..W::W:...AAA...NN...N...TTTTT..EEEEE...DDD..........
.....Ww.wW...AAAA..N..N..N......T.....EEE......D....D.......
.....-W...W...A......A N....NN......T.....EEEEE...DDD..........
. . . . . . . . . . . . thaksin shinawatra
อธิฏฐาน
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: หญิง
กระทู้: 1,912


รักษาประเทศชาติ เป็นหน้าที่ของชาวไทยทุกคน


« ตอบ #538 เมื่อ: 17-08-2007, 09:57 »


ยังไม่จบหรือคะ ตาแฉะแล้ว
บันทึกการเข้า

หยุด...สัมปทานอุทยานแห่งชาติ
http://www.oknation.net/blog/sandstone
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #539 เมื่อ: 17-08-2007, 11:19 »

ยังไม่ต้องดูเปลือกหอยหรอกครับ ดูแค่ขนาดของความหนาชั้นหินตะกอนหลายกิโลเมตร
ก็น่าจะรู้แล้วว่าไม่ได้เกิดพร้อมกันในเวลาสั้นๆ

ยังไม่นับเรื่องพอเกิดเป็นชั้นหินแล้ว Grand Canyon ต้องมีเวลาในการยกตัวขึ้นและถูก
ทางน้ำกัดเซาะจนกลายเป็นหุบเหวลึกกว่า 1500 เมตรเข้าไปอีก


และต้องระลึกไว้ด้วยนะครับว่าที่เห็นใหญ่โตขนาดนั้นคือ "หินตะกอน" มีส่วนของ "หินทราย"
ซึ่งเกิดจากเศษหินที่สึกกร่อนมาจาก "หินเดิม" ที่เกิดขึ้นก่อนหน้านี้อีก ต้องใช้เวลาเท่าไหร่
ภูเขาหินเดิมถึงจะสึกกร่อนจนกลายเป็นทรายมาสะสมตัวเป็นหินทรายมหาศาลขนาดนี้?

และในส่วนของ "หินปูน" ก็เกิดจากการตกผลึกของแร่ธาตุในน้ำเนื่องจากเกิดสภาพน้ำทะเล
แห้งงวดลงเข้มข้นจนในที่สุดสะสมตัวกลายเป็นชั้นหินปูน หรืออาจเกิดจากการสะสมตัวของ
ปะการังที่ตายทับถมกัน ต้องใช้เวลาเท่าไหร่กว่าจะสะสมกลายเป็นหินปูนหนามากขนาดนั้น
เรื่องนี้ไม่ใช่เหมือนการสะสมตัวของขี้เลนขี้โคลนตามแม่น้ำที่สะสมตัวหนาได้ง่ายๆ

---

เรื่องเปลือกโลกตรงนั้นยกตัวปีละกี่เซนติเมตร ก็อยู่ที่ว่าคุณ Q คิดว่าทั้งหมด 1500 เมตร
ใช้เวลายกตัวกี่ปี สมมุติว่าชั้นหินตะกอนทั้งหมดใช้เวลาก่อตัวก่อนยกตัว 2 แสนปีนะครับ
ก็จะเหลือเวลาแค่ 50,000 ปี เท่ากับ Grand Canyon ต้องยกตัวถึงปีละ 3 เซนติเมตร
ต่อเนื่องกันตลอด คิดว่าเป็นไปได้ไหมล่ะครับ?

แต่ถ้าคิดว่าชั้นหินใช้เวลาก่อตัวเร็วกว่า 2 แสนปี ตีเสียว่าแค่ 1 แสนปีก็ก่อตัวเสร็จแล้ว
Grand Canyon ก็จะมีเวลายกตัว 150,000 ปีตกปีละ 1 เซนติเมตร (ก็ยังเวอร์อยู่นะ)
แต่ถามว่าเวลาแค่ 1 แสนปีชั้นหินจะทันก่อตัวได้หนาเป็นกิโลเมตรเลยหรือครับ


ยิ่งถ้าเอาสมมุติฐานว่าโลกอายุไม่เกิน 1 แสนปีมาจับ ยิ่งไปกันใหญ่เลยเพราะเหลือเวลา
แค่ช่วงละไม่กี่หมื่นปี หินเดิมสึกกร่อน 3 หมื่นกว่าปี หินตะกอนก่อตัว 3 หมื่นกว่าปี ชั้นหิน
ยกตัวถูกกัดเซาะอีก 3 หมื่นกว่าปี  มันจะเป็นไปได้หรือครับ.. ผมไม่เชื่อ
 Mr. Green


มันเกิดขึ้นพร้อมๆกันทุกเหตุการณ์ครับ..จากน้ำเชี่ยวและคลื่นทรายในน้ำครับ ค่อนข้างเฉียบพลันในการสะสมตะกอนและกัดเซาะจากน้ำ ไม่ได้เกิดจากลม



Figure 2. Grand Canyon in cross-section showing the names given to the different rock units by geologists.



http://www.answersingenesis.org/creation/v15/i1/flood.asp

Sand waves have been observed on certain parts of the ocean floor and in rivers, and have been produced in laboratory studies. Consequently, it has been demonstrated that the sand wave height is related to the water depth.15 As the water depth increases so does the height of the sand waves which are produced. The heights of the sand waves are approximately one-fifth of the water depth. Similarly, the velocities of the water currents that produce sand waves have been determined.

Thus we have the means to calculate both the depth and velocity of the water responsible for transporting as sand waves the sand that now makes up the cross beds of the Coconino Sandstone. The thickest sets of cross beds in the Coconino Sandstone so far reported are 30 feet (9 metres) thick.16 Cross beds of that height imply sand waves at least 60 feet (18 metres) high and a water depth of around 300 feet (between 90 and 95 metres). For water that deep to make and move sand waves as high as 60 feet (18 metres) the minimum current velocity would need to be over 3 feet per second (95 centimetres per second) or 2 miles per hour. The maximum current velocity would have been almost 5.5 feet per second (165 cm or 1.65 metres per second) or 3.75 miles per hour. Beyond that velocity experimental and observational evidence has shown that flat sand beds only would be formed.

Now to have transported in such deep water the volume of sand that now makes up the Coconino Sandstone these current velocities would have to have been sustained in the one direction perhaps for days. Modern tides and normal ocean currents do not have these velocities in the open ocean, although deep-sea currents have been reported to attain velocities of between 50 cm and 250 cm (2.5 metres) per second through geographical restrictions. Thus catastrophic events provide the only mechanism, which can produce high velocity ocean currents over a wide area.

Hurricanes (or cyclones in the southern hemisphere) are thought to make modern sand waves of smaller size than those that have produced the cross beds in the Coconino Sandstone, but no measurements of hurricane driven currents approaching these velocities in deep water have been reported. The most severe modern ocean currents known have been generated during a tsunami or ‘tidal wave’. In shallow oceans tsunami-induced currents have been reported on occasion to exceed 500 cm (5 metres) per second, and currents moving in the one direction have been sustained for hours.19 Such an event would be able to move large quantities of sand and, in its waning stages, build huge sand waves in deep water. Consequently, a tsunami provides the best modern analogy for understanding how large-scale cross beds such as those in the Coconino Sandstone could form.

Noah's Flood?
We can thus imagine how the Flood would deposit the Coconino Sandstone (and its equivalents), which covers an area of 200,000 square miles (518,000 square kilometres) averages 315 feet (96 metres) thick, and contains a volume of sand conservatively estimated at 10,000 cubic miles (41,700 cubic kilometres). But where could such an enormous quantity of sand come from? Cross beds within the Coconino dip consistently toward the south, indicating that the sand came from the north. However, along its northern occurrence, the Coconino rests directly on the Hermit Formation, which consists of siltstone and shale and so would not have been an ample source of sand of the type now found in the Coconino Sandstone. Consequently, this enormous volume of sand would have to have been transported a considerable distance, perhaps at least 200 or 300 miles (320 or 480 kilometres). At the current velocities envisaged sand could be transported that distance in a matter of a few days!

Thus the evidence within the Coconino Sandstone does not support the evolutionary geologists interpretation of slow and gradual deposition of sand in a desert environment with dunes being climbed by wandering four-footed vertebrates. On the contrary, a careful examination of the evidence, backed up by experiments and observations of processes operating today indicates catastrophic deposition of the sand by deep fast-moving water in a matter of days, totally consistent with conditions envisaged during the Flood.




« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 17-08-2007, 11:29 โดย ********Q******** » บันทึกการเข้า

********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #540 เมื่อ: 17-08-2007, 11:34 »

  ดึกกันจังเลย

เอาเรื่อง C14 ก่อนนะครับ

C14 จะสะสมในตัวของสิ่งมีชีวิตอยู่แล้ว

และจะเริ่มสลายพลังงานเมื่อสิ่งมีชีวิตนั้นตายลง

การตรวจ C14 ของซากสิ่งมีชีวิตก็จะเทียบด้วยว่าไม่มีการรบกวนโดย รอบข้าง

กล่าวคือ จะตรวจ C14 ได้ ต่อเมื่อเจอ C14 เฉพาะในร่อยรอยซากเท่านั้น

หากพบมี C14 กระจายบริเวณนั้นถือว่าตรวจสอบแล้วไม่ได้รับผลที่แท้จริง

 



ขอบคุณครับ..เข้าใจว่าสะสมได้จากอาหาร และน้ำ การหายใจและขับถ่าย ขับออกได้บางส่วน
บันทึกการเข้า

********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #541 เมื่อ: 17-08-2007, 11:39 »

ใกล้จะถึงเรื่อง "โลกร้อน" ยังครับ อิ อิ

ตามอ่านก็ได้ความรู้ดี



โลกร้อนคงมีผลต่อระบบนิเวศน์ของสิ่งมีชีวิตในโลกไม่น้อย

ทำให้ปริมาณของสิ่งมีชีวิตต่างๆเปลี่ยนไป..
บันทึกการเข้า

varada
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: หญิง
กระทู้: 1,193



เว็บไซต์
« ตอบ #542 เมื่อ: 17-08-2007, 13:55 »

โห..........ทู้นี้ไปถึงใหนต่อใหนกันแล้วเนี่ย ยังไม่จบอีกเหรอ
ขอแนะนำให้ตั้งห้องหว้ากอขึ้นมาอีกห้องเลยค่า
บันทึกการเข้า
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #543 เมื่อ: 17-08-2007, 15:56 »

โห..........ทู้นี้ไปถึงใหนต่อใหนกันแล้วเนี่ย ยังไม่จบอีกเหรอ
ขอแนะนำให้ตั้งห้องหว้ากอขึ้นมาอีกห้องเลยค่า


คิดว่าคงจะจบไม่นานนี้แล้วล่ะครับคุณ varada
ขออภัยที่วิญญาณหว้ากอเก่าเข้าสิงนะครับ
 
บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #544 เมื่อ: 17-08-2007, 15:56 »


มันเกิดขึ้นพร้อมๆกันทุกเหตุการณ์ครับ..จากน้ำเชี่ยวและคลื่นทรายในน้ำครับ ค่อนข้างเฉียบพลันในการสะสมตะกอนและกัดเซาะจากน้ำ

ไม่ได้เกิดจากลม




Figure 2. Grand Canyon in cross-section showing the names given to the different rock units by geologists.

http://www.answersingenesis.org/creation/v15/i1/flood.asp

...

Noah's Flood?
We can thus imagine how the Flood would deposit the Coconino Sandstone (and its equivalents), which covers an area of 200,000

square miles (518,000 square kilometres) averages 315 feet (96 metres) thick, and contains a volume of sand conservatively estimated

at 10,000 cubic miles (41,700 cubic kilometres). But where could such an enormous quantity of sand come from? Cross beds within

the Coconino dip consistently toward the south, indicating that the sand came from the north. However, along its northern occurrence,

the Coconino rests directly on the Hermit Formation, which consists of siltstone and shale and so would not have been an ample

source of sand of the type now found in the Coconino Sandstone. Consequently, this enormous volume of sand would have to have

been transported a considerable distance, perhaps at least 200 or 300 miles (320 or 480 kilometres). At the current velocities

envisaged sand could be transported that distance in a matter of a few days!

Thus the evidence within the Coconino Sandstone does not support the evolutionary geologists interpretation of slow and

gradual deposition of sand in a desert environment with dunes being climbed by wandering four-footed vertebrates. On the contrary, a

careful examination of the evidence, backed up by experiments and observations of processes operating today indicates catastrophic

deposition of the sand by deep fast-moving water in a matter of days, totally consistent with conditions envisaged during the Flood.



บทความที่คุณ Q ยกมาเขาพูดถึงแค่การก่อตัวของชั้นหินทราย (Coconino Sandstone) ซึ่งอยู่เกือบบนสุดของ
ชั้นหินแกรนแคนยอนนะครับ  ซึ่งผมอ่านแล้วก็ยังไม่เชื่อว่าชั้นหินทรายหนาร่วม 100 เมตร และกว้างกว่าประเทศไทย
จะเกิดจากกระแสน้ำพัดอย่างรุนแรงแค่ไม่กี่วันเท่านั้น  ที่ในบทความบอกว่าเกี่ยวเนื่องกับปรากฎการณ์น้ำท่วมโลก

ผมยังตามไปอ่านเจอทฤษฎีว่าชั้นหิน Grand Canyon ทั้งหมดเกิดขึ้นภายในเวลา แค่ 5 พันปีอีกด้วย ซึ่งผม
ก็สงสัยว่าน้ำท่วมโลกมันท่วมแค่ปีเดียวไม่ใช่หรือ  ถ้าบอกว่า Grand Canyon เกิดจากน้ำท่วมโลกก็ต้องท่วม
นานตั้ง 5 พันปีแล้วมันจะ match กันได้อย่างไร  ตกลงน้ำท่วมอยู่กี่ปีแน่ครับ?

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 17-08-2007, 15:58 โดย jerasak » บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #545 เมื่อ: 17-08-2007, 15:59 »

และเอาเฉพาะชั้นทราย Coconino ที่ในบทความประมาณว่ามีปริมาณอย่างน้อย 41,700 ลูกบากศ์กิโลเมตร ..
ย้ำว่า "กิโลเมตร" นะครับ  ทรายปริมาณมหาศาลขนาดนี้ต้องเกิดจากการสึกกร่อนของภูเขาขนาดมหึมา
ประมาณขนาดเป็นทรงสี่เหลี่ยมง่ายๆ ก็กว้างยาวข้างละ 120 กิโลเมตร สูงประมาณกว่า 2.7 กิโลเมตร
นึกง่ายๆ ก็เกือบสิบเท่าตึกใบหยก 2 (สูงกว่าดอยอินทนนท์เสียอีกและอันนี้เป็นทรงสี่เหลี่ยมตันๆ นะครับ
ไม่ใช่แค่ยอดแหลมๆ แบบภูเขาทั่วไป คิดเฉพาะพื้นที่ฐานก็เกือบ 10 เท่ากรุงเทพมหานคร เข้าไปแล้ว)

ลองเทียบกับพีระมิดคีออปส์ที่ผมเคยยกตัวอย่าง ขนาดฐานพีระมิดกว้างยาวแค่ 230 เมตร ด้านบนเล็กลงเรื่อยๆ
สูงแค่ครึ่งเดียวของตึกใบหยก 2 เท่านั้น ผ่านมา 4600 ปีส่วนยอดยังสึกไปนิดเดียว แล้วถ้าจะให้ภูเขาหินใหญ่
ขนาดที่ว่าสึกกลายเป็นทรายทั้งหมดต้องใช้เวลาเท่าไหร่ กว่าจะถูกพัดพามาสะสมตัวเป็นชั้นหินทราย Coconino ?

ชั้นหินทราย Coconino ก็เป็นชั้นที่อยู่เกือบบนสุด เหตุการณ์น้ำท่วมครั้งเดียวทำให้เกิดชั้นหินดินดานและหินปูน
ข้างล่างลงไปอีกเป็นกิโลเมตรมันจะเป็นไปได้หรือ ผมอยากให้สังเกตด้วยว่าช่วงรอยต่อ Cambrian-Devonian
มีการแทรกด้วยชั้น Dolomite ซึ่งเป็นหินปูนแมกนีเซียมสูงหนากว่า 100 m. แสดงถึงการเปลี่ยนองค์ประกอบ
ของน้ำทะเล เทียบกับชั้นหินด้านบนด้านล่างที่เป็นหินปูนธรรมดา เรื่องแบบนี้เกิดจากน้ำท่วมครั้งเดียวไม่ได้
และในส่วนของชั้นหินทรายก็ประกอบไปด้วยซิลิกา ซึ่งเป็นคนละชั้นกับคาร์บอเนตในหินปูน ถ้าเกิดร่วมกันจริง
ต้องมีการปนกันของหินปูนเข้าไปในหินทราย จะไม่แยกออกมาเป็นชั้นๆ การแยกเป็นชั้นๆ บ่งชี้ว่าชั้นหินเกิดขึ้น
คนละช่วงเวลา เหมือนกับวงปีต้นไม้ที่คุณ Q เคยยกตัวอย่าง

อีกประการหนึ่งผมไม่เห็นมีการพูดถึง turbidites ในชั้นหินทราย Coconino ซึ่งถ้าหากมีการพัดพาของกระแสน้ำ
อย่างรุนแรงในเวลาไม่กี่วันจริง เราจะไม่ได้ชั้นทรายที่สะอาดแต่จะต้องมีตะกอนขนาดเล็กใหญ่ผสมปนเปกันมา
นอกจากนี้ถามว่ามีการพูดถึงชั้น conglomerates หรือ breccias ที่เกิดจากการกัดเซาะรุนแรงของกระแสน้ำเชี่ยว
ปรากฏอยู่บ้างหรือไม่  ซึ่งถ้ามีจริงๆ ผู้วิจัยน่าจะต้องอ้างอิงถึงเพราะเป็นลักษณะบ่งชี้สำคัญที่เถียงกันไม่ได้
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 18-08-2007, 19:30 โดย jerasak » บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #546 เมื่อ: 17-08-2007, 16:00 »

เรื่อง "การกัดเซาะจากน้ำ" ถ้าคุณ Q จะหมายถึงการกัดเซาะ Grand Canyon ของแม่น้ำโคโรลาโดว่าเกิดขึ้น
ในช่วงเดียวกันกับการก่อตัวของ Grand Canyon อันนั้นเป็นไปไม่ได้นะครับ ต้องมีการสะสมตัวของตะกอน
เสร็จก่อนแล้วเซ็ตตัวกลายเป็นชั้นหิน (ภายในไม่กี่วัน?) พอเป็นหินแล้วแม่น้ำถึงจะมากัดเซาะชั้นหินลงไปครับ
จะกัดเซาะก่อนแล้วกลายเป็นหินก็ไม่ได้  และเขามีการประเมินไว้ว่าด้วยอัตรากัดเซาะของแม่น้ำโคโรลาโด
จะผ่า Grand Canyon ได้ขนาดนี้ต้องใช้เวลาอย่างเร็วคือกว่า 7 หมื่นปี และข้อมูลปัจจุบันเชื่อว่าใช้เวลาถึง
70 ล้านปีเพราะเป็นการกัดเซาะตามการยกตัวของชั้นหิน และเป็นไปได้ว่าแม่น้ำอยู่ในตำแหน่งนี้นิ่งๆ มาแล้ว
ถึง 5 ล้านปี

เรื่องตะกอนสะสมแข็งตัวเป็นชั้นหิน Grand Canyon แล้วถูกแม่น้ำกัดเซาะเสร็จภายใน 5 พันปีผมไม่เชื่อครับ

ผมเชื่อทฤษฎีเดิมที่ว่าชั้นหินทราย Coconino เกิดในช่วงที่พื้นที่แกรนแคนยอนแห้งลงเป็นทะเลทรายมากกว่า
ซึ่งสลับกับช่วงเวลาที่เป็นน้ำตื้นที่ทำให้เกิดชั้นหินดินดาน(shale) หินทรายแป้ง (siltstone) และช่วงเวลา
ที่เป็นทะเลที่ทำให้เกิดชั้นหินปูน (limestone) บางครั้งมีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของน้ำทะเลทำให้เกิด
เป็นหินปูน Dolomite แบบนี้สมเหตุสมผลมากกว่าครับ



และที่สำคัญที่สุดคุณ Q อธิบายได้ไหมครับว่าทำไม Fossil ในแต่ละชั้นหินของ Grand Canyon ถึงแยกกัน
อย่างเป็นระเบียบเรียบร้อยตามอายุในลำดับธรณีกาล ไม่มีการพบ Index Fossil อายุเก่าปนกับอายุใหม่
ถ้าชั้นหินทั้งหมดเกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน ก็ต้องมี Fossil ปนกันจริงไหมครับ?

นอกจากนี้ถ้าชั้นหินช่วง Phanerozoic ระหว่าง Cambrian ถึง Permian period เกิดขึ้นพร้อมกันจากน้ำท่วมโลก
ชั้นหินก่อนนั้นช่วง Pre-cambrian ก็ต้องพบ Fossil สิ่งมีชีวิตที่อยู่ก่อนโดนน้ำท่วมเช่นสัตว์มีกระดูกสันหลังต่างๆ
แต่ทำไม่ไม่พบเลยล่ะครับ หลักๆ มีแต่ร่องรอย stromatolites ที่บ่งชี้ถึงสิ่งมีชีวิตยุคแรกเริ่มของโลก


คุณ Q อธิบายเรื่องหลักฐาน Fossil ที่เกิดอย่างเป็นระเบียบตามลำดับธรณีกาลเหล่านี้ได้ไหมครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 17-08-2007, 16:29 โดย jerasak » บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
Solidus
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3,381



« ตอบ #547 เมื่อ: 17-08-2007, 16:48 »

บทความที่คุณ Q ยกมาเขาพูดถึงแค่การก่อตัวของชั้นหินทราย (Coconino Sandstone) ซึ่งอยู่เกือบบนสุดของ
ชั้นหินแกรนแคนยอนนะครับ  ซึ่งผมอ่านแล้วก็ยังไม่เชื่อว่าชั้นหินทรายหนาร่วม 100 เมตร และกว้างกว่าประเทศไทย
จะเกิดจากกระแสน้ำพัดอย่างรุนแรงแค่ไม่กี่วันเท่านั้น  ที่ในบทความบอกว่าเกี่ยวเนื่องกับปรากฎการณ์น้ำท่วมโลก

ผมยังตามไปอ่านเจอทฤษฎีว่าชั้นหิน Grand Canyon ทั้งหมดเกิดขึ้นภายในเวลา แค่ 5 พันปีอีกด้วย ซึ่งผม
ก็สงสัยว่าน้ำท่วมโลกมันท่วมแค่ปีเดียวไม่ใช่หรือ  ถ้าบอกว่า Grand Canyon เกิดจากน้ำท่วมโลกก็ต้องท่วม
นานตั้ง 5 พันปีแล้วมันจะ match กันได้อย่างไร  ตกลงน้ำท่วมอยู่กี่ปีแน่ครับ?


คุณ jerasak ต้องเข้าใจนะครับว่ามีพวกที่บิดเบือนพระคัมภีร์อยู่เยอะ เช่น เขาบอกว่าเห็นไหมน้ำท่วมจริง แล้วก็ยกแหล่งอ้างอิงมา แต่แหล่งอ้างอิงนั้นกลับบอกว่าน้ำท่วมก่อนโนอาห์จะเกิดอีก 
บันทึกการเข้า
irq5
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,149



« ตอบ #548 เมื่อ: 17-08-2007, 17:19 »

 

คุณ Q เจอบั๊ก จาก Link Reference ซะแล้วเหรอเนี่ย
บันทึกการเข้า

.:MMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMddMMMs..
.:MMMMMMMMMMMMMMMMMMMMMssMMMMs..
.:Mddddddddddddddddddddddddddo+ddddNs..
.:M................................................hs..
.:M.............//:................//:.............hs..
.:M...........:MMs.............NMd............hs..
.:M................................................hs..
.:M................................................hs..
.:M.............yNNNNNNNNNN................hs..
.:M.................................................hs..
.:dyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyyho..

....W..W::W:...AAA...NN...N...TTTTT..EEEEE...DDD..........
.....Ww.wW...AAAA..N..N..N......T.....EEE......D....D.......
.....-W...W...A......A N....NN......T.....EEEEE...DDD..........
. . . . . . . . . . . . thaksin shinawatra
********Q********
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 8,520


I'm Looking At You.


เว็บไซต์
« ตอบ #549 เมื่อ: 17-08-2007, 17:50 »



คุณ Q เจอบั๊ก จาก Link Reference ซะแล้วเหรอเนี่ย

ไม่ใช่ครับ พอดีเจอลูกหนี้เช็คเด้งอะครับ เรื่องจริงเสียด้วย..วิวัฒนาการของลูกหนีครับ

ระมัดระวังกันมากๆก็ดีครับ..เพราะเป็นชีวิตจริง
บันทึกการเข้า

หน้า: 1 ... 4 5 6 7 8 9 10 [11] 12 13 14 15 16
    กระโดดไป: