ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
29-03-2024, 18:37
378,182 กระทู้ ใน 21,926 หัวข้อ โดย 9,412 สมาชิก
สมาชิกล่าสุด: MAN4U
ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด (รุ่นแรก)  |  ทั่วไป  |  สภากาแฟ  |  ข่าวประชาสัมพันธ์ พระราชทานเพลิงศพ จอมพลถนอม กิตติขจร วันอาทิตย์ 25 นี้ 0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
หน้า: [1]
ข่าวประชาสัมพันธ์ พระราชทานเพลิงศพ จอมพลถนอม กิตติขจร วันอาทิตย์ 25 นี้  (อ่าน 2646 ครั้ง)
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,406



« เมื่อ: 22-02-2007, 08:35 »

วันอาทิตย์ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2550

13.00 น. เชิญโกศศพจากบ้านถกลสุขไปยังเมรุหลวง หน้าพลับพลาศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส

17.30 น. ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถเสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ พระราชทานเพลิงศพ

เผื่อใครจะไป หรือจะได้เลี่ยงรถติด แปะข่าวเฉยๆ ไม่ได้มีความคิดเห็นอะไรเล้ย
บันทึกการเข้า
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,406



« ตอบ #1 เมื่อ: 22-02-2007, 15:25 »


วันเกิด ๑๑ สิงหาคม ๒๔๕๔
เป็นบุตรขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อำพัน กิตติขจร) และคุณลิ้นจี่
ภริยาคือ ท่านผู้หญิง จงกล กิตติขจร
การศึกษา
- พ.ศ.๒๔๕๙ โรงเรียนวัดโคกพลู ศึกษาจนจบชั้นประถม ๓
- พ.ศ.๒๔๖๓ โรงเรียนนายร้อยทหารบก
- พ.ศ.๒๔๗๓ นักเรียนทำการนายร้อยประจำกองพันที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๘ จังหวัดเชียงใหม่
- พ.ศ.๒๔๗๗ โรงเรียนแผนที่ทหาร
- พ.ศ.๒๔๘๑ โรงเรียนทหารราบ
- พ.ศ.๒๔๙๙ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (รุ่นที่ ๑)
ประวัติรับราชการ
- พ.ศ.๒๔๗๓ รับพระราชทานยศนายร้อยตรี
- พ.ศ.๒๔๗๗ ประจำแผนกที่ ๑ กรมแผนที่ทหารบก รับพระราชทานยศนายร้อยโท
- พ.ศ.๒๔๗๘ ประจำกองบัญชาการกรมยุทธศึกษาทหารบก
- พ.ศ.๒๔๗๙ ครูแผนกวิชาทหาร กรมยุทธศึกษาทหารบก
- พ.ศ.๒๔๘๑ รับพระราชทานยศนายร้อยเอก นายทหารฝึกหัดราชการ
โรงเรียนทหารราบ ครูแผนกที่ ๒ กรมยุทธศึกษาทหารบก
- พ.ศ.๒๔๘๓ ผู้บังคับกองร้อยที่ ๔ (ปืนกลหลัก) กองพันทหารราบที่ ๓๔ กรมทหารราบที่ ๑๓
- พ.ศ.๒๔๘๔ ผู้บังคับการกองร้อยที่ ๔ (ปืนกลหนัก) กองพันทหารราบที่ ๓๔ กรมทหารราบที่ ๑๑
- พ.ศ.๒๔๘๖ รับพระราชทานยศพันตรี
- พ.ศ.๒๔๘๗ รับพระราชทานยศพันโท อาจารย์วิชาทหาร กรมยุทธศึกษาทหารบก
- พ.ศ.๒๔๘๙ อาจารย์วิชาทหารฝ่ายเทคนิค แผนกศึกษา โรงเรียนนายร้อยทหารบก และเป็นผู้บังคับกองร้อยที่ ๔ แผนกปกครองโรงเรียน
นายร้อยทหารบก
- พ.ศ.๒๔๙๐ ผู้บังคับกองร้อยที่ ๔ แผนกปกครองโรงเรียนนายร้อยทหารบก
ผู้บังคับการกรมทหารราบที่ ๒๑ จังหวัดลพบุรี
รับพระราชทานยศพันเอก
- พ.ศ.๒๔๙๑ ผู้บังคับการกรมทหารราบที่ ๑๑
- พ.ศ.๒๔๙๒ รองผู้บัญชาการกองพลที่ ๑ และรักษาราชการผู้บังคับการ กรมทหารราบที่ ๑๑
- พ.ศ.๒๔๙๓ ผู้บัญชาการกองพลที่ ๑ ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ ๑ ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกกรุงเทพฯ
- พ.ศ.๒๔๙๔ รับพระราชทานยศพลตรี รองแม่ทัพกองทัพที่ ๑
- พ.ศ.๒๔๙๗ แม่ทัพกองทัพที่ ๑ ผู้บัญชาการภาคทหารบกที่ ๑
- พ.ศ.๒๔๙๘ รับพระราชทานยศพลโท
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสหกรณ์
- พ.ศ.๒๕๐๐ ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
- พ.ศ.๒๕๐๑ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
รับพระราชทานยศพลเอก
- พ.ศ.๒๕๐๒ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
รับพระราชทานยศพลเรือเอก และพลอากาศเอก
- พ.ศ.๒๕๐๖ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก
- พ.ศ.๒๕๐๗ รับพระราชทานยศจอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ
- พ.ศ.๒๕๑๔ - ๑๕ นายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ
- พ.ศ.๒๕๑๕ - ๑๗ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
ราชการพิเศษ หรือตำแหน่งพิเศษ
- ราชการสนามกรณีสงครามมหาเอเชียบูรพา และราชการสนามกรณีสงครามเวียดนาม
- พ.ศ.๒๔๘๙ ราชองครักษ์พิเศษ
- พ.ศ.๒๔๙๑ ราชองครักษ์เวร
- พ.ศ.๒๔๙๕ นายทหารพิเศษ ประจำกรมทหารราบที่ ๑๑ รักษาพระองค์
- พ.ศ.๒๔๙๙ นายทหารพิเศษ ประจำกรมทหารช่างที่ ๑ รักษาพระองค์
- พ.ศ.๒๕๐๐ นายทหารพิเศษ ประจำกรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์
- พ.ศ.๒๕๐๓ นายทหารพิเศษ ประจำกรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถ
- พ.ศ.๒๕๐๖ นายทหารพิเศษ ประจำกรมทหารม้าที่ ๑ รักษาพระองค์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญที่ได้รับพระราชทาน
- พ.ศ.๒๔๖๘ เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ ๗
- พ.ศ.๒๔๗๗ เหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ
- พ.ศ.๒๔๘๓ จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย
- พ.ศ.๒๔๘๔ จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก
- พ.ศ.๒๔๘๖ เหรียญช่วยราชการเขตภายใน
- พ.ศ.๒๔๘๗ เหรียญจักรมาลา
- พ.ศ.๒๔๘๙ เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ ๙
- พ.ศ.๒๔๙๑ ตริตาภรณ์ช้างเผือก
- พ.ศ.๒๔๙๓ เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๘ ชั้นที่ ๓ และทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย
- พ.ศ.๒๔๙๕ ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก
- พ.ศ.๒๔๙๖ ประถมาภรณ์มงกุฎไทย
- พ.ศ.๒๔๙๗ เหรียญชัยสมรภูมิ (กรณีสงครามเกาหลี) และประถมาภรณ์ช้างเผือก
- พ.ศ.๒๔๙๘ เครื่องหมายเปลวระเบิดสำหรับประดับแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ (เกาหลี) และมหาวชิรมงกุฎ
- พ.ศ.๒๔๙๙ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก
- พ.ศ.๒๕๐๑ ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ
- พ.ศ.๒๕๐๒ เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๙ ชั้นที่ ๒
- พ.ศ.๒๕๐๔ ปฐมจุลจอมเกล้า
- พ.ศ.๒๕๐๕ เหรียญราชการชายแดน เหรียญชัยสมรภูมิ (สงครามมหาเอเชียบูรพา)
- พ.ศ.๒๕๐๗ เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๙ ชั้นที่ ๑
- พ.ศ.๒๕๐๘ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันมีศักดิ์รามาธิบดี ชั้นที่ ๑ เสนางคะบดี
- พ.ศ.๒๕๑๒ เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ ๑
- พ.ศ.๒๕๑๕ เหรียญกล้าหาญ เหรียญชัยสมรภูมิสงครามเวียดนามประดับเปลวระเบิด เหรียญฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ เหรียญที่ระลึกใน
การเสด็จพระราชดำเนินเยือนสหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป
เหรียญรัชฎาภิเษก เหรียญกาชาดสมนาคุณ ชั้นที่ ๑
ผลงานที่สำคัญ
- พ.ศ.๒๔๙๒ ปราบปรามกบฏวังหลวง
- ในด้านความมั่นคงของประเทศ ท่านได้เร่งพัฒนากองทัพให้แข็งแกร่ง ทันสมัย เช่น จัดให้มีการปรับปรุงระบบการฝึก โดยใช้อุปกรณ์จริง และได้ร่วมมือกับมิตรประเทศด้วยการส่งทหารไปร่วมรบ ในสงครามเวียดนาม เป็นต้น


ความดีความงามเพียบ
บันทึกการเข้า
สี่หามสามแห่
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,460



« ตอบ #2 เมื่อ: 22-02-2007, 17:36 »

55+

สงสัยจะลืม ตุลาทมิฬ
บันทึกการเข้า
The Last Emperor
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: หญิง
กระทู้: 6,714


« ตอบ #3 เมื่อ: 22-02-2007, 19:06 »

อืมมมม....เบื้องลึกเบื้องหลังเกี่ยวกับวันวิปโยคมีคนไทยไม่กี่คนที่ทราบความจริงว่าใครอยู่เบื้องหลังทำให้คนตายนับร้อยคน 'จารย์จ๊ะ' ขอสาปแช่งให้มันผู้นั้นจงตายhaภายในปีนี้เถิดเพี๊ยงงงงง  ประเทศไทยจะได้ไม่อยู่ในเงามืดอีกต่อไป!!!
บันทึกการเข้า
ชามู
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 536


ชามู ปลาวาฬตัวใหญ่ใจดี


« ตอบ #4 เมื่อ: 26-02-2007, 17:55 »

คุณ4หาม3แห่

อย่าไปตกกับดักที่ไอ้จาน(ไร)จ๊ะ มันวางไว้ครับ

เพราะผมไม่คิดว่าคนอย่างมันจะหวังดี เอาข่าวมาตัดแปะเพื่อบอกให้หลีกเลี่ยงรถติด
บันทึกการเข้า

สมาชิกหมายเลข #348

ชามู ปลาวาฬตัวใหญ่ใจดี
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,406



« ตอบ #5 เมื่อ: 26-02-2007, 20:42 »



พระราชทานเพลิงศพจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี

สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯมาทรงเป็นองค์ประธานในพิธีพระราชทานเพลิงศพจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี ณ เมรุหลวง วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์
http://www.matichon.co.th/matichon/matichon_detail.php?s_tag=01p0101260250
บันทึกการเข้า
somwang
สมาชิกสามัญขั้นที่ 3
****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 138


« ตอบ #6 เมื่อ: 26-02-2007, 23:08 »

ความดีของทรราชตัวแรก คือยังมีความเคารพสถาบัน....

ส่วนทรราชตัวล่าสุด ทรราชทักษิณ เป็นทรราชที่ชั่วร้ายที่สุดในจำนวน 3 ตัว...

วันตายคงได้ตายแบบนี้....อิอิ


* 00q3.jpg (76.82 KB, 430x322 - ดู 849 ครั้ง.)
บันทึกการเข้า

ตราบใดที่คนไทยยังมีพิธีจับปอบ ขูดต้นไม้ขอหวย หรือ กราบไหว้เจลลดไข้ ตราบนั้นคนไทยก็ยังได้ทักษิณเป็นนายกฯ
Dont cry for me:Thailand
สมาชิกสามัญขั้นที่ 2
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 74


« ตอบ #7 เมื่อ: 26-02-2007, 23:27 »

รู้สึกว่าหมอนี่ จะเป็น สุวิทย์ ยอดมณี อภิมหาเสนาบ่ดี แห่งรัฐบาลขิงด้วน

ที่บอกว่าจะเอา มาราโด๊นน่า มาเตะโชว์ นี่หว่า
บันทึกการเข้า
อยากประหยัดให้ติดแก๊ส
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,406



« ตอบ #8 เมื่อ: 08-03-2007, 15:49 »

Thanom's sometimes turbulent life

Field Marshal Thanom Kittikachorn (1912-2004)

The royally sponsored cremation ceremony for Thanom took place yesterday at the Debsirin Temple. He was the country's 10th prime minister, in 1958, and then again from 1963 to 1973.

He suffered a stroke in 2004 and received an urgent operation at Bangkok Hospital. His Majesty the King paid for his medical care for five months until Thanom died of infections.

Thanom's life:

1911: Born on August 11 in Tak province to Amphan and Linchee Kittikachorn.

1930: Graduates as a sub-lieutenant from the Military Academy.

1942: Battalion commander under the Japanese in World War II at the Burmese-Chinese border for more than a year.

1947: As a lieutenant-colonel, he takes part in a coup led by Colonel Sarit Thanarat and becomes a regimental commander and head of the Lop Buri military province. Later he is promoted to colonel, commanding the 11th Infantry Division.

1951: Appointed a non-elected MP, his first political role.

1953: Led the suppression of a rebellion in February, winning much praise and promotion to lieutenant-general. Represents Thailand at the ceremony to mark the end of the Korean War in July.

1955: Appointed deputy cooperatives minister while serving as commander of the First Region Army.

1957: Appointed defence minister in a caretaker government led by Pote Sarasin, which is installed after a military clique, headed by Field Marshal Sarit Thanarat, overthrows the government of Field Marshal Plaek Pibulsongkram.

1958: Becomes prime minister and defence minister, is appointed general and retains his seat as army commander-in-chief. He resigns as prime minister after nine months.

1959: Replaced by Sarit as prime minister, appointed deputy premier and defence minister in the new government, and also serves as armed forces deputy supreme commander.

1963: Appointed premier a day after Sarit's death. Also serves as army commander-in-chief.

1964: Promoted to field marshal, admiral of the fleet and air force marshal.

October 1968: Leads the Saha Prachathai Party.

February 1969: Re-appointed prime minister after the general election.

November 1971: Stages a coup against his own government, citing the need to suppress communist infiltration. Becomes chairman of the National Executive Council, which serves as a caretaker government for one year.

December 1972: Appointed prime minister for a fourth time, also serving as defence and foreign ministers. Public discontent rises amid demands for a general election.

October 1973: Student-led uprising against Thanom's administration leads to his downfall. He is exiled in the United States along with his son, Colonel Narong, and brother-in-law Field Marshal Praphas Charusathien - known as the 'Three Tyrants'.

1976: Returns to Thailand as a novice monk, triggering a student protest at Thammasat University. The far right, aided by the security forces, storms the campus and attacks students on October 6, killing many protesters.

Thanom and his former ruling partners never resume a role in politics. He made an effort to rehabilitate his image, arguing that he was not responsible for the 1973 violence and sought to recover his property that was seized when he was overthrown.

2004: Dies aged 92.
http://nationmultimedia.com/2007/02/26/national/national_30027889.php

บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
    กระโดดไป: