ฉบับเต็มดูได้ที่นี่
http://www.atimes.com/atimes/Southeast_Asia/HJ11Ae01.htmlผมติดตามงานนาย Mike Vatikiotis กับ Shawn Crispin มาตั้งแต่สมัยอยู่กับ FEER ก่อนที่จะแปลงสภาพตัวเองจากนิตยสารข่าวรายสัปดาห์เป็นวารสารวิชาการ จะเห็นว่า 2 คนนี้ค่อนข้างจะเข้าใจประเทศไทยและเอเชียมากกว่า วารสารเศรษฐกิจการเมืองที่พรีเซ้นต์ตัวเองว่ามีระดับกว่าอย่าง The Economist แต่ไม่รู้เรื่องอะไรเลย
เขาบอกว่า มีแนวโน้มอย่างหนึ่งเกิดขึ้นในเอเชีย ก็คือ ประชาชนจะจงชังการฉ้อราษฎร์บังหลวงและให้ความสำคัญกับความซื่อสัตย์มากขึ้น และพร้อมจะใช้ลัดวงจรกฎหมาย แม้ว่าตัวเองจะต้องสูญเสียอิสรภาพบางประการก็ตาม เพื่อไล่ผู้นำที่เลวและสร้างความแตกแยกออกไป
Popular impatience (การหมดความอดทนของประชาชน)What then does this popular impatience with due process say about freedom and democracy in Asia ?
First of all, it suggests that legitimacy is not about ballots and numbers but about moral authority. In the absence of strong and fair courts of law, people judge their leaders according to their moral standing; you lose that and you lose your mandate. You will be challenged in the street because you cannot be challenged fairly in court or removed by your peers. People mistrust institutions such as courts and parliament because there is the perception that those with power and money can subvert them. Freedom is not yet perceived to be guaranteed by institutions of law.
ประการแรก "ความชอบธรรม" ไม่ได้เพียงแค่การหย่อนบัตรเลือกตั้งและคะแนนเสียงเท่านั้น แต่ต้องเป็นเรื่องของ "จริยธรรม" ด้วย ในสถานการณ์ที่ศาลสถิตยุติธรรมไม่มีความเข้มแข็งและยุติธรรมพอ ประชาชนก็จะตัดสินผู้นำตัวเองบนพื้นฐานของหลักจริยธรรม หากคุณไม่มีจริยธรรม คุณก็หมดสิทธิ์ปกครอง คุณจะถูกท้าทายบนท้องถนนเพราะคุณไม่สามารถเผชิญความท้าทายในศาลหรือถูกขับออกในสภาได้ ประชาชนสูญเสียความเชื่อมั่นในศาลและสภานิติบัญญัติ เพราะมองเห็นว่า ทั้งคู่ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอำนาจและเงินตรา ประชาชนเห็นว่า องค์กรทางกฎหมายไม่สามารถรับประกัน "เสรีภาพ" แก่พวกเขาได้The people of Bangkok welcomed the tanks with roses, even though in the process of removing the government the army abrogated the most liberal constitution the Thais have ever had. That's because the constitution, liberal as it was, had not been implemented properly. Few of the mechanisms built into the charter to check the abuse of power worked.
ชาวกรุงเทพฯ ต้อนรับรถถังด้วยดอกกุหลาบ แม้จะรู้ทั้งรู้ว่าในการยึดอำนาจ ทหารจะต้องยุบองค์กรเกี่ยวกับเสรีภาพที่เขาเคยได้รับ นี่เป็นเพราะว่า ตลอดมา รัฐธรรมนูญไม่ได้ถูกใช้อย่างปกติวิสัย กลไกตรวจสอบการใช้อำนาจอย่างไม่เป็นธรรมตามรัฐธรรมนูญทำงานแทบจะไม่ได้เลยFear and insecurity were other major reasons people supported this coup. Thaksin was defiant in the face of popular protests. He hid behind alleged plots to assassinate him and veiled threats of violence. A growing number of Thais feared the possibility of a society torn apart and divided, leading to violence. The army was seen as protecting freedom.
ความกลัวและความรู้สึกว่าไม่มั่นคง คือ อีกเหตุผลที่ทำให้ประชาชนต้องหันมาสนับสนุนการยึดอำนาจ ทักษิณเมินการประท้วงของประชาชน ทักษิณเลี่ยงประเด็นแผนการลอบสังหารตัวเอง และยังข่มขู่ว่าจะก่อความรุนแรง คนไทยจำนวนมากขึ้นกลัวว่า สังคมจะแตกแยกเป็นเสี่ยงๆ จนนำไปสู่ความรุนแรง เขามองว่ากองทัพกำลังพิทักษ์เสรีภาพAll this leads us to consider whether freedom has its limits in an Asian context: Are people content with leadership that can be trusted - and by the same token, discontented when it cannot? Although it was fashionable in the 1990s for some Asian intellectuals and politicians to argue that people were willing to trade individual freedom for economic prosperity under enlightened leadership, events at the end of the decade, most notably in Indonesia, suggested that individuals value their freedom and understand the value of their vote.
นี่ทำให้เราเริ่มหันมามองว่า "เสรีภาพ" มีข้อจำกัดของมันในสิ่งแวดล้อมแบบเอเชีย ประชาชนพอใจในผู้นำที่มีความน่าเชื่อถือและในอีกด้านไม่พอใจเมื่อผู้นำขาดความน่าเชื่อถือหรือไม่?? ในยุคปี 1990 มีนักคิดเอเชียบางคนเสนอว่า ประชาชนยอมเสียเสรีภาพเพื่อแลกกับเศรษฐกิจที่รุ่งเรืองภายใต้ผู้นำเก่งกาจ แต่ว่าที่ชัดที่สุด ในอินโดนีเชีย ก่อนจะสิ้นยุค 1990 เหตุการณ์ในอินโดชี้ว่า ประชาชนเลือกเสรีภาพ มากกว่าและเข้าใจในคุณค่าของเสียงที่เลือกเข้าไปThere was no question that Indonesians with little or no education living in remote villages at the back end of Java knew what they were voting for two years ago when they voted for the first time in direct presidential elections. It is wrong to suggest that ordinary citizens will put primordial ties of religion and ethnicity before anything else when they vote for leadership if their sense of national identity is strong enough. The lesson: don't question the understanding and desire for freedom even at the lowest levels of traditional society.
ชาวอินโดที่การศึกษาน้อยในหมู่บ้านห่างไกล รู้ว่าเขาเลือกตั้งไปทำไม บทเรียนคือ ไม่ต้องสงสัยว่าแม้แต่คนรากแก้วก็ต้องการเสรีภาพHowever, the reality today, reinforced by efforts in two emerging democracies, Thailand and Taiwan, to overthrow legitimately elected governments is that freedom is still viewed subjectively - meaning that it is not a zero-sum game. People will tolerate the suspension of freedoms to gain in other areas such as security, clearing up corruption, and national unity. Notably, the majority of the millions who voted in Indonesia's 2004 presidential elections were under-educated and living in rural areas; those who supported the Thai coup and who want to oust a democratically elected leader in Taiwan are urban and educated.
แต่ว่า ... ในความเป็นจริงของวันนี้ ในไทยและไต้หวัน ก็คือ "เสรีภาพ" เป็นเรื่องของนามธรรม คือมันคำนวณออกมาชัดเจนเป็นตัวเลขไม่ได้ ประชาชนยอมเสียเสรีภาพชั่วคราวได้เสมอ หากว่าพวกเขาได้ "ความมั่นคง" "การกวาดล้างการคดโกง" "ความสามัคคี" กลับคืนมา ในอินโดฯเสียงที่โหวดเลือกประธาธิบดีส่วนมากมาจากต่างจังหวัดซึ่งมีการศึกษาไม่มาก ในไทยและไต้หวันกลุ่มที่ต้องการโค่นล้มผู้นำที่มาจากการเลือกตั้งเป็นพวกชนชั้นกลางในเมือง และได้รับการศึกษาThe lesson from all this is to accept that democracy is imperfect but necessary. Democracy's institutional weaknesses in the Asian context leave the door open to its subversion in the interests of equally basic elements of governance such as honesty, transparency and security. Confusing oscillation between demands for democracy and equally strident demands for honesty and stability doesn't mean that Asians want less freedom; it just shows that they won't be fooled.
บทเรียนจากสิ่งเหล่านี้คือ เราต้องยอมรับว่าประชาธิปไตยนั้นไม่สมบูรณ์แบบ แต่ก็ยังจำเป็น องค์กรประชาธิปไตยที่อ่อนแอทำให้เปิดช่องให้ถูกล้ม เพื่อแลกกับความซื่อตรง โปร่งใส และความมั่นคง
การที่ชาวเอเชียต้องการประชาธิปไตย ในขณะที่ตะโกนโวยวายเพรียกหาความซื่อสัตย์และเสถียรภาพ ไม่ได้หมายความว่าชาวเอเชียไม่ต้องการเสรีภาพ นั่นแสดงว่า ชาวเอเชียไม่ได้โง่ให้ถูกหลอกต่างหากอยากให้ นายใจ นายศิโรตม์ นายวรเจตน์ นายสมเกียรติ (เจียมตัวซะบ้าง) ได้อ่านเสียจริง จะิวิเคราะห์อะไรก็ควรพูดถึงเหตุ ปัจจัยแวดล้อมให้รอบด้านด้วย เพราะประชาธิปไตย ต้องมีแง่มุมในด้าน "จริยธรรม" "ยุติธรรม" ด้วย
(เพิ่ม หลังจากอ่านความเห็นคุณปุถุชน ลืมได้ไง) นาย G W Bush แห่งอเมริกา และ นาง Helen Clark แห่งนิวซีแลนด์ น่าจะอ่านบทความนี้ด้วย
หน.พรรคเก่าแก่พรรคหนึ่ง ใช้คำๆหนึ่งตอบมา เพราะผมต่อว่าแกไปว่าต้องให้สนับสนุนการทำงานของคณะปฏิรูปฯ อย่าบ้าเลือกตั้ง แกใช้คำว่า I understand the dynamics. หลังจากนั้นก็มีข่าวสมาชิกพรรคแก ออกมาเรียกร้องให้คณะปฏิรูปฯและรัฐบาลใหม่ รื้อฟื้นคดีเก่าๆที่ค้างคาออกมาสะสางเสีย แกใช้คำนี้ออกมาได้ แปลว่าแกไม่ได้ "หัวสี่เหลี่ยม" ครับ