ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
09-07-2025, 04:49
378,182 กระทู้ ใน 21,926 หัวข้อ โดย 9,412 สมาชิก
สมาชิกล่าสุด: MAN4U
ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด (รุ่นแรก)  |  ทั่วไป  |  สภากาแฟ  |  จับตา "วิกฤติแหนมเนือง" เวียดนาม vs ทุนสำรองฯ จีน 1,700,000,000,000 แล้ว ! 0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
หน้า: [1]
จับตา "วิกฤติแหนมเนือง" เวียดนาม vs ทุนสำรองฯ จีน 1,700,000,000,000 แล้ว !  (อ่าน 4003 ครั้ง)
AsianNeocon
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3,277


中華萬歲﹗ LONG LIVE CHINA!


เว็บไซต์
« เมื่อ: 10-06-2008, 16:17 »



Vietnam's crisis unlikely in China
By Xin Zhiming (China Daily)
Updated: 2008-06-10 09:07

China is unlikely to suffer a crisis similar to the financial woes in Vietnam and the possibility of it triggering another Asian turmoil is slim, analysts said.

Moreover, other Asian countries may use their foreign exchange reserves to help Vietnam to tide over the crisis, said Zhuang Jian, senior economist with the Asian Development Bank in Beijing.

Vietnam's economy, the recent darling of international investors, is sliding into a boom-and-bust cycle as it is battered by double-digit inflation, surging trade deficit, a diving stock market and depreciating currency.

Analysts anticipate the worst-case scenario to be a deadly flight of capital and a balance of payment crisis. But even if that happened, the crisis will not recur in China as the two countries are starkly different in terms of major economic features, said Zhao Xijun, finance professor of the Renmin University of China.

Surging international prices of commodities such as grain and oil have stoked Vietnam's domestic inflation, a problem that China is also suffering. But Vietnam has its own intrinsic economic defects, said Zhao.

In recent years, the Vietnamese government has encouraged foreign investment and exports to boost growth. But it has failed to prevent speculative foreign capital from investing in stocks and real estate, which has led to soaring assets prices. "Unlike China, Vietnam has not clearly defined foreign capital going into the assets market," Zhao said.

As the US economy is believed to have bottomed out and the dollar stabilizes, flight of foreign capital has caused an abrupt assets price tumble.

"It's quite easy for foreign capital to flow out of Vietnam, while in China the costs of capital withdrawal would be much higher," said Sun Lijian, economist with the Fudan University.

The reduced foreign demand as a result of the US economic downturn has dampened Vietnam's exports, undermining its economy.

When the Vietnamese economy showed signs of overheating last year, its policymakers failed to take timely measures to cool it down, said Zhuang. Vietnam started to implement a tightening policy only from the second quarter of this year, compared with China's preemptive tightening since the second half of last year.

The Vietnamese government has now decided to stop many investment projects to cool the economy. The planned investment volume of those projects is about 16 percent of the country's pre-set target for this year, according to local media reports.

The nations in the region have learnt their lesson from the 1997-98 Asian financial crisis, accumulating foreign exchange and reforming the domestic economic structures, significantly reducing their vulnerability to such crises, Zhuang said.
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 11-06-2008, 15:46 โดย ความจริงเป็นสิ่งไม่ตาย 泰国现实 » บันทึกการเข้า

พรรณชมพู
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 5,073


« ตอบ #1 เมื่อ: 10-06-2008, 18:32 »

http://www.manager.co.th/IndoChina/ViewNews.aspx?NewsID=9510000067314

มาแล้ว “คุณพ่อ IMF” ชงยาขมรอเวียดนาม!

เศรษฐกิจเวียดนามกำลังผันแปรอย่างรวดเร็วมาก จากเพียงไม่กี่เดือนก่อนหน้าที่ยังเป็น “สุดยอด” ในสายตานักลงทุนต่างชาติ ได้กลายมาเป็นสิ่งที่ทุกฝ่ายเริ่มกังขา และกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ IMF (International Monetary Fund) ได้ยื่นมือเสนอวิธีการแก้ไข
       
       การเข้าไปยุ่งเกี่ยวของไอเอ็มเอฟได้นำความหลังเก่าๆ เมื่อ 10 ปีที่แล้ว กลับมาหลอกหลอนหลายประเทศในเอเชียอีกครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศไทย ที่ทนกล้ำกลืนยาขมของไอเอ็มเอฟนานหลายปี ต้องปิดธนาคาร และสถาบันการเงินหลายสิบแห่ง หนี้เสียในระบบคั่งค้างมาจนทุกวันนี้
       
       การเข้าควบคุมเศรษฐกิจไทยของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ทำให้สถาบันแห่งนี้เคยได้รับการขนานนามจากนักการเมืองของไทยว่า “คุณพ่อไอเอ็มเอฟ”
       
       นายเบเนดิค บิงแฮม (Benedic Bingham) ผู้แทนไอเอ็มเอฟประจำเวียดนาม กล่าวเมื่อวันศุกร์ว่า เวียดนามควรจะใช้นโยบายการเงินการคลังที่เคร่งครัดรัดกุม เพื่อแก้ไขปัญหา “เศรษฐกิจโอเวอร์ฮีต” รัฐบาลควรขึ้นอัตราดอกเบี้ย ปรับปรุงภาคการธนาคารและผลักดันการปฏิรูปตลาด
       
       เจ้าหน้าที่ไอเอ็มเอฟ ได้เสนอดังกล่าวในการประชุมระหว่างรัฐบาล กับกลุ่มประเทศผู้บริจาคและนักลงทุน หลังจากสำนักจัดความน่าเชื่อถือหลายแห่งได้ปรับเศรษฐกิจเวียดนามเข้าสู่แดนลบ
       
       "เงื่อนไขต่างๆ ทางเศรษฐกิจ ได้เข้าสู่ความยุ่งยากอย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้นในปีที่ผ่านมา ด้วยเศรษฐกิจที่ร้อนแรงภายใต้สภาพแวดล้อมด้านการเงินระดับโลกที่อ่อนตัวลง” นายบิงแฮมกล่าวที่เมืองซาปา (Sapa) ทางตอนเหนือเวียดนาม
       
       เงินเฟ้อทะยานขึ้นถึง 25% ในเดือน พ.ค.เทียบกับเดือนเดียวกันเมื่อปี 2550 โดยมีราคาน้ำมันกับราคาอาหารเป็นตัวฉุด การขาดดุลพุ่งขึ้นถึง 14,400 ล้านดอลลาร์ ในช่วง 5 เดือนแรกของปีนี้
       
       นายบิงแฮม บอกว่า เงินเฟ้อ เงินทุนที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ว การใช้จ่ายด้านการคลัง รวมทั้งการลงทุนของภาครัฐที่ขยายตัวอย่างสูง ล้วนเป็นปัจจัยทำให้เกิดปัญหาดุลชำระเงินในปัจจุบัน
       
       นอกจากนั้น ยังมีข้อบ่งชี้ทางเศรษฐกิจหลายประการ ว่า นักลงทุนเริ่มมีความกังวล โดยชี้ไปยังตลาดหุ้นของประเทศ ที่นักลงทุนขาดความเชื่อมั่น
       
       เจ้าหน้าที่ไอเอ็มเอฟ กล่าวอีกว่า ปัญหาตลาดหุ้นกับตลาดอสังหาริมทรัพย์ที่ทรุดตัวอย่างรุนแรงนี้ยังทำให้เกิดแรงกดดันต่อค่าเงินด่งด้วย

 
 
ภาพถ่ายวันที่ 8 มิ.ย. 2551-- "ซิกโคล่" หรือ รถสามล้อถีบกำลังผ่านป้ายโฆษณาอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของธนาคารแห่งหนึ่งในนครโฮจิมินห์ ธนาคารแห่งรัฐกำหนดอัตรามาตรฐานที่ 12% และ ออกพันธบัตรดูดซับเงินออกจากตลาดสกัดกั้นเงินเฟ้อ ทำให้ขาดสภาพคล่องรุนแรงในระบบ ธนาคารแห่งต่างๆ เปิดศึกดอกเบี้ยแย่งลูกค้าเงินฝาก (ภาพ: AFP) 
 
       นักวิเคราะห์จำนวนหนึ่งยังไม่เห็นด้วยกับไอเอ็มเอฟทั้งหมด แต่ก็เห็นพ้องกันว่า สถานการณ์ในปัจจุบันอาจจะทำให้เศรษฐกิจของคอมมิวนิสต์เวียดนามหันเหไปทางใดก็ได้ หากไม่มีการจัดการกับปัญหาต่างๆ อย่างระมัดระวัง
       
       ปีที่แล้วทุกสารทิศเยินยอเวียดนามกำลังจะเป็น “เสือ” ตัวใหม่เนื่องจากเศรษฐกิจโตเร็วขยายตัวถึง 8% เป็นอันดับ 2 ในเอเชียรองจากจีนเท่านั้น
       
       แต่เวลาเพียงข้ามปีเวียดนามต้องเผชิญหน้ากับปัญหาเงินเฟ้ออย่างรุนแรงจากหลักเดียวเพิ่มขึ้นเป็นสอง ขาดดุลการค้าเพิ่มทวี ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ตกลงเกือบ 2 ใน 3 ท่ามกลางความวิตกกังวลเกี่ยวกับค่าเงินด่ง (Dong) และชะตากรรมของระบบธนาคาร
       
       สำนักจัดความน่าเชื่อถือสแตนดาร์ดแอนด์พัวร์ส (Standard & Poor's) รวมทั้งธนาคารเพื่อการลงทุนอีกหลายแห่ง ต่างทบทวนฐานะเศรษฐกิจของเวียดนามไปในแดนลบ
       
       ภาพรวมทั้งหมดนี้ยิ่งเลวร้ายหนักขึ้นไปอีก เมื่อเกิดขึ้นในยุคที่กำลังวิตกกันไปทั่วว่า เศรษฐกิจถดถอยในสหรัฐฯ อาจจะทำให้การค้าของทั้งโลกปั่นป่วนและจะทำให้เกิดปัญหาไปทั่ว
       
       สถานบันวิจัย Aseambanker Research บอกว่า ภาพที่เลวร้ายที่สุดอาจจะเป็นว่าเวียดนามจะเผชิญปัญหาเงินทุนไหลออก ทำให้เกิดปัญหาขาดดุลชำระเงินฉับพลัน ซึ่งจะผลักไสให้เวียดนามเข้าสู่อ้อมอกของไอเอ็มเอฟ
       
       นายอดัม เลอ เมซูริเอร์ (Adam Le Mesurier) ได้เขียนบทวิเคราะห์ให้แก่บริษัทที่ปรึกษา DSG Asia ระบุว่า เวียดนามอาจจะต้องเตรียมใช้นโยบายเพื่อขานรับวิธีการแบบไอเอ็มเอฟภายใน 6 เดือนข้างหน้านี้ ซึ่งรวมทั้งการจัดการกับการเงินการคลังอย่างรัดกุมและลดค่าเงินด่ง
       
       แต่บรรดาตัวแทนประเทศผู้บริจาคกับนักลงทุนจากสารทิศ ซึ่งประชุมกันเมื่อสัปดาห์ที่แล้วยังคงเชื่อมั่น และมองเศรษฐกิจเวียดนามในแง่บวก โดยชี้ไปที่ภาคส่งออกที่ยังเข้มแข็งทั้งอาหารและน้ำมันดิบ การลงทุนจากต่างประเทศยังไหลเข้าไม่หยุดยั้ง การท่องเที่ยวขยายตัวต่อเนื่อง
       
       ต่างชาติยังคงมองตลาดใหญ่ประชากร 85-86 ล้านคนอย่างเป็นบวก รวมทั้งมองเห็นพลังคนวัยแรงงานหนุ่มสาวซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ
       
       “มันเป็นเรื่องง่ายที่จะกล่าวอ้างว่า เวียดนามได้เปลี่ยนจาก 'เด็กโปสเตอร์' เป็น 'เด็กมีปัญหา'...” นายฌอน ดอยล์ (Sean Doyle) ตัวแทนสหภาพยุโรปประจำเวียดนามกล่าว อันสะท้อนคำพูดของนักวิเคราะห์ของสำนักเอกชนรายหนึ่ง
       
       ** สถานการณ์พลิกผัน **
       
       เมื่อเวียดนามเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก ในเดือน ม.ค.2550 ทุนจากทั่วโลกหลั่งไหลเข้าไปใช้แรงงานราคาถูกในดินแดนที่เรียกว่า “จีนน้อย” (Mini China)
       
       นักลงทุนรายย่อยในประเทศทุ่มเงินเข้าตลาดหลักทรัพย์โฮจิมินห์ และศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ฮานอยเก็งกำไร รัฐบาลขยายโครงการลงทุนของภาครัฐออกไปอย่างกว้างขวาง ทำให้เงินแพร่สะพัดในระบบ
       
       แต่กังหันเศรษฐกิจเริ่มหมุนไม่ตรงทิศทางเมื่อสัก 6 เดือนก่อนหน้านี้
       
       อัตราเงินเฟ้อขยายเป็นเลข 2 หลัก อันเป็นช่วงที่รัฐบาลได้พยายามผลักดันให้เงินทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment) ได้มีการใช้จ่ายใช้เข้าสู่ภาคเศรษฐกิจราว 6,000 ล้านดอลลาร์ ซึ่งคิดเป็นประมาณ 8.4% ของผลผลิตมวลรวมภายในประเทศหรือ จีดีพี
       
       เมื่อเริ่มปีใหม่ 2551 ราคาสินค้าในตลาดก็เริ่มขยับตัวด้วยความเร็วสูง นำหน้าโดยราคาสินค้าหมวดอาหารและน้ำมันเชื้อเพลิง ความเดือดร้อนแพร่ลามอย่างรวดเร็ว คนงานก่อการนัดหยุดงานกว่า 300 ครั้งในไตรมาสแรกของปีนี้ขอค่าแรงเพิ่ม

       นักวิเคราะห์ของธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ (HSBC) กล่าวว่า ปัญหาค่าจ้าง-ราคา กำลังอยู่ในขั้นเริ่มแรกเท่านั้น แต่สถานการณ์จะแย่ลงอีกมากหากปัญหานี้ฝังแน่นอยู่ในระบบเศรษฐกิจ ซึ่งเขาเชื่อว่าเงินเฟ้ออาจจะทะยานขึ้นถึง 30% หากไม่สามารถควบคุมราคาสินค้าได้
       
       สัญญาณเตือนอีกตัวหนึ่งดังขึ้น เมื่อมูลค่าการนำเข้าที่พุ่งทะยานไปข้างหน้าได้ทำให้ตัวเลขขาดดุลเพิ่มขึ้นเป็น 14,400 ล้านดอลลาร์ในเดือน พ.ค.จาก 12,000 ล้านดอลลาร์ตลอดปี 2550 ทั้งปี
       
       ตลาดหลักทรัพย์เข้าสู่ตาจน เมื่อเกิดสภาวะขาดสภาพคล่องอย่างรุนแรง จากมาตรการดอกเบี้ยและการควบคุมการปล่อยกู้ของธนาคารพาณิชย์ และความเชื่อมั่นของนักลงทุนอันตรธานไป
       
       ตลาดหลักทรัพย์เวียดนามที่เคยเป็น “ตลาดหุ้นดีที่สุดของโลก” เมื่อปีที่แล้ว เป็นตลาดที่การประกอบการ “แย่ที่สุด” ในปีนี้
       
       สัปดาห์ที่แล้ว VN-index ดิ่งลงต่ำกว่าแนวรับทางจิตวิทยา 400 จุดเป็นครั้งแรก ดัชนีหุ้นเวียดนามทรุดลงอีก 1.5% หรือ -5.84 จุดเมื่อตลาดปิดการซื้อขายวันศุกร์ ทำให้ดัชนีเหลืออยู่เพียง 384.24 จุด
       
       ดัชนี VN-index เคยทะยานขึ้นสูงถึง 1,170 จุดในเดือน มี.ค.2550 ก่อนจะค่อยๆ ดิ่งหัวลง และเศรษฐกิจต้องเผชิญปัญหาเงินเฟ้อรุนแรง
       
       นักลงทุนท้องถิ่นจำนวนมากหันไปซื้อทองเก็บเอาไว้แทน หลังจากค่าเงินด่งในตลาดแลกเปลี่ยนที่ไม่เป็นทางการทรุดลงเรื่อยๆ เมื่อเทียบกับดอลลาร์ โดยอัตราทรุดลงเป็น 18,500 ด่งต่อดอลลาร์ปลายสัปดาห์ที่แล้ว จากอัตราแลกเปลี่ยนทางการ 16,060 ด่ง
       
       นักวิเคราะห์ของธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด กล่าวว่า เงินด่งกำลังถูกดดันอย่างหนัก ปัญหานี้จะยังไม่ได้รับการแก้ไขจนกว่าตัวเลขขาดดุลการค้าจะลดลง
 
--------------------------

คิวต่อไป จีน ค่ะ 
บันทึกการเข้า
Cherub Rock
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4,183


น้องๆ ช่วยไปบอกผู้หญิงคนนั้นที ว่าเลิกมองผมได้แล้ว


« ตอบ #2 เมื่อ: 10-06-2008, 18:36 »

 
แบบนี้เรียก ฟองสบู่แตกหรือเปล่า 



ต้มยำกุ้ง แฮมเบเกอร์ แหนมเนือง

ของจีนต้องเป็น ก๋วยเตี๋ยว Noodle crisis 

บันทึกการเข้า

"นายกรัฐมนตรีกำลังใช้รัฐสภาประกอบพิธีกรรมสถาปนาอำนาจของตนเองโดยเห็นรัฐสภาเป็นเพียงแค่ตรายาง และปล่อยให้มีการทำร้ายประชาชนถือว่าหมดความชอบธรรมแล้ว" รสนา โตสิตระกูล
พรรณชมพู
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 5,073


« ตอบ #3 เมื่อ: 10-06-2008, 19:24 »


แบบนี้เรียก ฟองสบู่แตกหรือเปล่า 

ต้มยำกุ้ง แฮมเบเกอร์ แหนมเนือง

ของจีนต้องเป็น ก๋วยเตี๋ยว Noodle crisis 

ในเวียดนาม อาจจะต้องเรียกว่า โฮตกหลุม

ส่วนของจีน เรียกว่า เหมาลงท่อ   
บันทึกการเข้า
Limmy
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,346


« ตอบ #4 เมื่อ: 10-06-2008, 20:00 »


หน้าฉากดูดี รัฐมีความพร้อม แต่ในความเป็นจริง Facilities ไม่ดีเลย โรงงานเพื่อนผมอยู่นอกโฮจิมินต์ออกไปแค่ 20 กิโลเมตร ไฟดับอาทิตย์ละสองวัน
บันทึกการเข้า
พรรณชมพู
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 5,073


« ตอบ #5 เมื่อ: 10-06-2008, 20:05 »

หน้าฉากดูดี รัฐมีความพร้อม แต่ในความเป็นจริง Facilities ไม่ดีเลย โรงงานเพื่อนผมอยู่นอกโฮจิมินต์ออกไปแค่ 20 กิโลเมตร ไฟดับอาทิตย์ละสองวัน

พักแรกๆ ก็เห็นคลั่งกันว่า เวียดนามจะแซงหน้าไทย

วันนี้เขาแซงจริงๆ หม้อเฝอแตก ก่อน หม้อต้มยำกุ้ง   
บันทึกการเข้า
AsianNeocon
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3,277


中華萬歲﹗ LONG LIVE CHINA!


เว็บไซต์
« ตอบ #6 เมื่อ: 10-06-2008, 22:38 »


คิวต่อไป จีน ค่ะ 


โถ น่าสงสาร ลุ้นวันลุ้นคืนจะให้จีนแตก ลุ้นมากี่ปีแล้ว

โครงสร้างเศรษฐกิจจีน พึ่งตนเองและพอเพียงมากกว่าที่คิด  สิ่งของพื้นฐานเกือบทุกอย่างทำเองใช้เองหมด  ตั้งแต่ ดาวเทียมพยากรณ์อากาศ เครื่องเจาะอุโมงค์ รถโฟร์คลิฟต์ รถยนต์ แอร์ ฮีตเตอร์ ปุ๋ย  เครื่องมือแพทย์ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ สะพานข้ามอ่าวหังโจวที่เพิ่งสร้างเสร็จนั่นก็เครื่องมือจีน วิศวกรจีน ออกแบบเอง สร้างเองทั้งหมด

ที่สำคัญจีนเกินดุลทุกอย่าง ทั้งดุลการค้า ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลการชำระเงิน  และทางการเพิ่งจะสั่งให้เพิ่มกันสำรองธนาคารอีกชั้น  ทุนสำรองอีก 1,200,000,000,000 ดอลล่าร์ ถ้ารวมฮ่องกงกับไต้หวันก็จะกลายเป็น 1,600,000,000,000 อย่างน้อย และมีการกระจายความเสี่ยงไปลงทุนในประเทศต่างๆ กว้านซื้อเหมืองแร่ 7 ย่านน้ำ (ในขณะที่เวียดนามมีแค่ 2 หมื่นกว่าล้าน)

ถ้าจีนแตก ก็คือ แตกทั้งเอเชีย  คุณจะได้กลับไปขี่ควายพอเพียงสมใจ
บันทึกการเข้า

AsianNeocon
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3,277


中華萬歲﹗ LONG LIVE CHINA!


เว็บไซต์
« ตอบ #7 เมื่อ: 11-06-2008, 09:07 »

พักแรกๆ ก็เห็นคลั่งกันว่า เวียดนามจะแซงหน้าไทย

วันนี้เขาแซงจริงๆ หม้อเฝอแตก ก่อน หม้อต้มยำกุ้ง   

หึ หึ วันนี้ชิงประกาศลดค่าเงินตัวเองไปแล้ว  อย่างน้อยเวียดนามก็ไม่โง่หอบเงินทุนสำรองไปต่อสู้กับนักเก็งกำไร แล้วก็ไม่มีนักกินเมืองปูดข่าวให้เศรษฐีหน้าเหลี่ยมเอาไปตีกินหรอก น่าเวทนากว่าเยอะ
บันทึกการเข้า

พรรณชมพู
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 5,073


« ตอบ #8 เมื่อ: 11-06-2008, 14:53 »

โถ น่าสงสาร ลุ้นวันลุ้นคืนจะให้จีนแตก ลุ้นมากี่ปีแล้ว

โครงสร้างเศรษฐกิจจีน พึ่งตนเองและพอเพียงมากกว่าที่คิด  สิ่งของพื้นฐานเกือบทุกอย่างทำเองใช้เองหมด  ตั้งแต่ ดาวเทียมพยากรณ์อากาศ เครื่องเจาะอุโมงค์ รถโฟร์คลิฟต์ รถยนต์ แอร์ ฮีตเตอร์ ปุ๋ย  เครื่องมือแพทย์ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ สะพานข้ามอ่าวหังโจวที่เพิ่งสร้างเสร็จนั่นก็เครื่องมือจีน วิศวกรจีน ออกแบบเอง สร้างเองทั้งหมด

ที่สำคัญจีนเกินดุลทุกอย่าง ทั้งดุลการค้า ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลการชำระเงิน  และทางการเพิ่งจะสั่งให้เพิ่มกันสำรองธนาคารอีกชั้น  ทุนสำรองอีก 1,200,000,000,000 ดอลล่าร์ ถ้ารวมฮ่องกงกับไต้หวันก็จะกลายเป็น 1,600,000,000,000 อย่างน้อย และมีการกระจายความเสี่ยงไปลงทุนในประเทศต่างๆ กว้านซื้อเหมืองแร่ 7 ย่านน้ำ (ในขณะที่เวียดนามมีแค่ 2 หมื่นกว่าล้าน)

ถ้าจีนแตก ก็คือ แตกทั้งเอเชีย  คุณจะได้กลับไปขี่ควายพอเพียงสมใจ



ถ้าจีนแตก ก็คือ แตกทั้งเอเชีย  คุณจะได้กลับไปขี่ควายพอเพียงสมใจ

สำคัญตนผิด  คิดว่าตนเป็นศูนย์กลางของจักรวาล หากตนเองพินาศ คนอื่นก็คงอยู่ไม่ได้

เป็นความคิดของเด็กอมมือ หาดูได้ตามสถานที่ทำงานทั่วๆไป หรือตามกลุ่มนักเรียนที่ทำกิจกรรม

อนุบาลเหลือเกิน 
บันทึกการเข้า
AsianNeocon
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3,277


中華萬歲﹗ LONG LIVE CHINA!


เว็บไซต์
« ตอบ #9 เมื่อ: 11-06-2008, 15:57 »


ถ้าจีนแตก ก็คือ แตกทั้งเอเชีย  คุณจะได้กลับไปขี่ควายพอเพียงสมใจ

สำคัญตนผิด  คิดว่าตนเป็นศูนย์กลางของจักรวาล หากตนเองพินาศ คนอื่นก็คงอยู่ไม่ได้

เป็นความคิดของเด็กอมมือ หาดูได้ตามสถานที่ทำงานทั่วๆไป หรือตามกลุ่มนักเรียนที่ทำกิจกรรม

อนุบาลเหลือเกิน 

หึ หึ เมื่อวานบอกว่า ทุนสำรอง 1,200,000,000,000 ดอลล่าร์ นั่นเก่าไปแล้วตอนนี้ 1,700,000,000,000 ไปแล้ว โดยยังไม่รวมฮ่องกง และไต้หวัน

ตอนนี้จีนกำลังมองว่าจะเอาเงินไปทำอะไรดี นอกจากการกว้านซื้อเหมืองแร่ บ่อน้ำมันทั่วโลก แล้วเอาทรัพยากรที่ไปกวาดต้อนมา ไปปรับปรุงสาธารณูปโภคในมณฑลที่ยังเจริญน้อย

สรุปว่า โอกาสจีนฟองสบู่แตกมีน้อยมาก

ส่วนบางประเทศก็มัวแต่ฟาดฟัน ชิงอำนาจกันอยู่นั่นแหละ ประชาชนซวยอย่างเดียว




An embarrassment of riches
Jun 10th 2008
From the Economist Intelligence Unit ViewsWire


China's foreign reserves are growing at a staggering rate

Despite China's efforts to bring down its huge foreign-exchange reserves, they have hit another record high of US$1.76trn at the end of April. News reports say China is now accumulating reserves at a rate of US$100m per hour. Such a fast build-up raises a host of questions. What should or can China do about the skyrocketing reserves? Will policymakers again be forced to carry out a one-off revaluation of the renminbi? Are excessively large reserves stoking domestic inflation?

Before tackling these questions, China's foreign reserves must first be put into perspective. First, the reserves would have been even larger had the government not spent a portion of them to recapitalise state-owned banks before their overseas listings and to create the China Investment Corp (CIC), the country's US$200bn sovereign wealth fund. Second, at present levels the reserves can pay for about a year and half's worth of China's imports. In general, economists recommend a country to maintain enough reserves to pay for only 3-6 months of imported goods and services. Third, China's foreign debts—US$347bn as of the end of 2007—are less than 20% of its reserves. The country's foreign reserves, by any measure, are needlessly large.
Ineffective strategies

It is also clear that China's existing strategies to slow reserves accumulation have been ineffective. Cuts in export subsidies have not conspicuously shrunk China's massive trade surplus or export earnings so far. The appreciation of the renminbi against the US dollar in the past three years has not made much of a dent either. For the past couple of years the Chinese government has also been actively encouraging domestic firms and citizens to go abroad to acquire foreign assets or to travel and study, but the reserves' upwards march has continued.

In the absence of more drastic actions, it seems certain China's foreign reserves will top US$2trn within this year. The trade surplus is likely to persist, and reserve assets, after all, are generating interest incomes. The key concern for Chinese policymakers is the impact of foreign-currency inflows on domestic inflation. So far, the People's Bank of China (PBC, the central bank) has succeeded in largely sterilising increases in reserves and in maintaining relatively strict capital controls. However, as money keeps gushing into the country, these efforts are becoming more challenging. To contain excessive money supply, the PBC has also hiked banks' reserve-requirement ratio 16 times over the past two years. But in the end there is a limit to how much the PBC can curb bank lending or prevent some of the reserves from seeping into the domestic economy.

The early travails of the CIC are further evidence of the difficulty of managing such large foreign reserves. The need to diversify their holdings away from US Treasuries and other Western governments' debt was the key motive for forming China's first sovereign wealth fund. But the CIC's headline-grabbing but so far loss-making investments in the Blackstone Group, a US private-equity fund, and Morgan Stanley, a US investment bank, have drawn a flood of criticism in China. While the CIC's timing of these two transactions may have been plain bad luck, few Chinese have faith in its ability to generate a decent rate of return consistently. (It has not escaped people's notice that most key positions at the CIC are filled by political appointees, not investment professionals.)

China seems to have only two options if it seriously wants to reduce the level of foreign reserves. It can either accelerate the renminbi's appreciation or relax capital controls more. The latter action is unlikely this year. The plunge in China's stockmarket has made any policy that would encourage capital outflows politically untenable. China may adopt a much stronger renminbi policy. Some policymakers, though, apparently also want to reintroduce export subsidies for sectors most hurt by the currency appreciation that has already taken place. For example, to redress widespread textile-job losses, the government may allow a 2% increase in export-tax rebates for the industry. But then, it makes little sense to accelerate currency appreciation while giving exporters a helping hand. The reality is that China has run out of politically feasible means to bring down its reserves.

Consequently, China will face higher inflation. Indeed, as the speed of reserves accumulation shows no sign of slowing, the Chinese government may be tempted to mobilise some of the money for social purposes. For instance, it may give more subsidies to the poor to counter the inevitable (upwards) adjustment in state-regulated petrol and electricity prices. If so, the government must be extra careful as to not throw all fiscal prudence out the window. Otherwise, its tolerance level for inflation will be even more sorely tested in the coming months.


http://www.economist.com/displayStory.cfm?source=hptextfeature&story_id=11526752
บันทึกการเข้า

aiwen^mei
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,732



« ตอบ #10 เมื่อ: 12-06-2008, 20:12 »

เหวอ แต่คงไม่ส่งผลกระทบไปทั่วเหมือนวิกฤติต้มยำกุ้งมั้ง  Surprised

ปีที่แล้วก็คิดเหมือนกันค่ะว่า อีกไม่ช้าไม่นาน จีนคงไม่แคล้วเดินตามรอยฟองสบู่แตกเหมือนบ้านเรา และอีกหลายประเทศ
แต่ตอนนี้ต้องประเมินใหม่ เพราะมีปัจจัยหลายอย่างที่จีนต่างจากหลายประเทศที่เจอวิกฤติมาแล้ว

วัดกันว่า ฝีมือรัฐของประเทศใดเจ๋งกว่ากัน เมกาพี่เบิ้มยังเจอวิกฤติซับไพรม์ แต่ส่งผลกระทบรุนแรงน้อยกว่านักวิเคราะห์คาดเหมือนกัน





บันทึกการเข้า

有缘千里来相会,无缘对面不相逢。
หน้า: [1]
    กระโดดไป: