ทางออก
บุคคลทั่วไป
|
|
« ตอบ #12 เมื่อ: 17-09-2008, 09:45 » |
|
หนทางแก้ปัญหาให้กับประเทศไทย ก่อนอื่นต้องมาวิเคราะห์ถึงกลุ่ม 2 กลุ่ม คือ ๑. ฝ่ายที่โน้มเอียงไปทางพันธมิตรประชาธิปัตย ๒.ฝ่ายเป็นกลางไม่ต้องการความวุ่นวาย ๓.ฝ่ายที่เป็นน.ป.กพลังประชาชน ๑.๑ ๘๐ % อยู่ทางภาคใต้และกรุงเทพมหานคร ๒.๑ คิดเป็น 35 %ของประชากร ๓.๑ ๘๐ % อยู่ภาคเหนือและอิสาน ๑.๒ คิดเป็นจำนวน 18,720,000.คน หมายรวมพรรคร่วม ล้านคน 18.7 %ของประเทศ ๒.๒ คิดเป็นจำนวน11,060,000.คน ๓.๒ คิดเป็นจำนวน33,258,000คน. ๑.๓ คูณ 80% = 14,976,000.-ล้านคน ล้านคน11.06%ของประเทศ 33.26% ของประเทศ. ก.ท.มใต้ที่เหลือ3744000 ๓.๓ คูณ80%ฝ่าย ๓ เป็น26,606,400.-คน. +11060000+อิสานเหนือที่เหลือ ๓.๔ คิดเป็น 42.23 % (ยืดหยุ่นอาจถึง...... 45%)ของประเทศ 6651600 = 21,455,600.-ล้านคน ๑.๔ คิดเป็น 23.77 % (ยืดหยุ่นอาจถึง 25%) ของประเทศ ๒.๓ คิดเป็น 34 % (ยืดหยุ่นอาจถึง 35%) ของประเทศ ( อ้างอิงประมาณการลงประชามติรัฐธรรมนูญพ.ศ 2549 และประมาณการโดยเฉลี่ยของการเลือกตั้งเลือกตั้งทุกครั้งที่ผ่านมา ) *** สรุปว่าเลือกตั้งคราวต่อๆไปก็อาจจะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ฝั่งพันธมิตร 23.77 + 34 = 57.77 หรือฝั่งรัฐบาล 42.23 + 34 = 76.23
จำนวนประชากรของประเทศไทย หน่วย : พันคน ภาค 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 กรุงเทพฯและปริมณฑล 9,309 9,401 9,529 9,669 9,815 9,637 9,785 9,948 10,065 เหนือ 12,125 12,101 12,124 12,153 12,089 11,842 11,884 11,891 11,872 ตะวันออกเฉียงเหนือ 21,379 21,405 21,494 21,609 21,660 21,267 21,328 21,377 21,386 กลาง 2,964 2,967 2,985 3,003 3,008 2,930 2,942 2,957 2,963 ตะวันออก 4,141 4,181 4,242 4,301 4,350 4,273 4,334 4,402 4,443 ตะวันตก 3,591 3,607 3,624 3,650 3,658 3,591 3,628 3,653 3,654 ใต้ 8,153 8,217 8,312 8,416 8,500 8,433 8,517 8,600 8,655 รวม 61,662 61,879 62,309 62,800 63,080 61,974 62,418 62,829 63,038 1. เหลืองบวก ฟ้า= 18,720,000.คน 2. ชมพู+ เทา= 33,258,000คน 3. เขียวเป็นกลางรวมถึงพรรคร่วม= 11,060,000.คน ที่ 31 ธันวาคม 2550 ดังต่อไปนี้
ลำดับ จังหวัด จำนวนราษฎร ชาย หญิง รวม ทั่วประเทศ 31,095,942 31,942,305 63,038,247 1 กรุงเทพมหานคร 2,727,574 2,988,674 5,716,248 2 จังหวัดกระบี่ 206,048 204,586 410,634 3 จังหวัดกาญจนบุรี 421,707 413,575 835,282 4 จังหวัดกาฬสินธุ์ 487,574 489,934 977,508 5 จังหวัดกำแพงเพชร 361,523 364,471 725,994 6 จังหวัดขอนแก่น 869,386 883,028 1,752,414 7 จังหวัดจันทบุรี 248,842 255,161 504,003 8 จังหวัดฉะเชิงเทรา 323,500 335,466 658,966 9 จังหวัดชลบุรี 607,029 626,417 1,233,446 10 จังหวัดชัยนาท 162,947 174,200 337,147 11 จังหวัดชัยภูมิ 557,725 561,872 1,119,597 12 จังหวัดชุมพร 240,186 241,112 481,298 13 จังหวัดเชียงราย 605,963 619,050 1,225,013 14 จังหวัดเชียงใหม่ 817,524 846,875 1,664,399 15 จังหวัดตรัง 300,154 310,178 610,332 16 จังหวัดตราด 110,876 109,667 220,543 17 จังหวัดตาก 270,657 260,271 530,928 18 จังหวัดนครนายก 122,765 125,731 248,496 19 จังหวัดนครปฐม 401,245 429,725 830,970 20 จังหวัดนครพนม 347,294 349,811 697,105 21 จังหวัดนครราชสีมา 1,264,118 1,288,776 2,552,894 22 จังหวัดนครศรีธรรมราช 749,036 757,961 1,506,997 23 จังหวัดนครสวรรค์ 526,476 547,207 1,073,683 24 จังหวัดนนทบุรี 484,838 539,353 1,024,191 25 จังหวัดนราธิวาส 352,404 359,113 711,517 26 จังหวัดน่าน 240,800 236,581 477,381 27 จังหวัดบุรีรัมย์ 766,889 769,181 1,536,070 28 จังหวัดปทุมธานี 428,791 468,052 896,843 29 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 248,290 246,298 494,588 30 จังหวัดปราจีนบุรี 225,786 229,202 454,988 31 จังหวัดปัตตานี 314,836 322,970 637,806 32 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 367,673 393,039 760,712 33 จังหวัดพะเยา 239,393 247,186 486,579 34 จังหวัดพังงา 123,837 123,050 246,887 35 จังหวัดพัทลุง 246,777 255,786 502,563 36 จังหวัดพิจิตร 271,896 282,844 554,740 37 จังหวัดพิษณุโลก 414,311 427,372 841,683 38 จังหวัดเพชรบุรี 220,847 235,214 456,061 39 จังหวัดเพชรบูรณ์ 496,858 500,673 997,531 40 จังหวัดแพร่ 227,772 238,104 465,876 41 จังหวัดภูเก็ต 150,473 165,025 315,498 42 จังหวัดมหาสารคาม 463,945 472,060 936,005 43 จังหวัดมุกดาหาร 168,517 167,590 336,107 44 จังหวัดแม่ฮ่องสอน 131,667 123,137 254,804 45 จังหวัดยโสธร 270,840 268,702 539,542 46 จังหวัดยะลา 234,166 236,525 470,691 47 จังหวัดร้อยเอ็ด 653,594 654,995 1,308,589 48 จังหวัดระนอง 94,437 86,350 180,787 49 จังหวัดระยอง 288,098 295,372 583,470 50 จังหวัดราชบุรี 407,338 424,100 831,438 51 จังหวัดลพบุรี 380,361 390,252 770,613 53 จังหวัดลำพูน 197,719 207,438 405,157 54 จังหวัดเลย 311,517 304,021 615,538 55 จังหวัดศรีสะเกษ 721,032 721,979 1,443,011 56 จังหวัดสกลนคร 556,088 556,976 1,113,064 57 จังหวัดสงขลา 647,820 677,095 1,324,915 58 จังหวัดสตูล 141,870 142,612 284,482 59 จังหวัดสมุทรปราการ 547,341 579,599 1,126,940 60 จังหวัดสมุทรสงคราม 93,526 100,686 194,212 61 จังหวัดสมุทรสาคร 228,254 241,680 469,934 62 จังหวัดสระแก้ว 271,670 267,467 539,137 63 จังหวัดสระบุรี 305,056 310,700 615,756 64 จังหวัดสิงห์บุรี 103,166 112,487 215,653 65 จังหวัดสุโขทัย 295,317 309,984 605,301 66 จังหวัดสุพรรณบุรี 409,096 433,488 842,584 67 จังหวัดสุราษฎร์ธานี 480,958 489,466 970,424 68 จังหวัดสุรินทร์ 686,246 686,426 1,372,672 69 จังหวัดหนองคาย 453,868 448,750 902,618 70 จังหวัดหนองบัวลำภู 250,386 247,217 497,603 71 จังหวัดอ่างทอง 136,962 147,444 284,406 72 จังหวัดอำนาจเจริญ 184,913 184,002 368,915 73 จังหวัดอุดรธานี 765,723 764,963 1,530,686 74 จังหวัดอุตรดิตถ์ 229,639 235,638 465,277 75 จังหวัดอุทัยธานี 161,146 165,829 326,975 76 จังหวัดอุบลราชธานี 895,369 890,340 1,785,709
หัวข้อความ ต้องการ ของปัญหา ต่างๆ
ฝ่าย ๑.พันธมิตร ฝ่าย ๓.รัฐบาล วิธีแก้ไขปัญหา ป.ล หมายเหตุ ๑.การเมืองใหม่ แต่งตั้ง 70 เลือกตั้ง 30 มีเหตุผลเพราะ1.แต่งตั้งโดยการ คัดสรรจากสาขาอาชีพต่างๆเสมือน การเลือกตั้งอยู่แล้วจะได้บุคคลากร จากหัวกระทิและมีคุณธรรมไม่มีผล ประโยชน์แอบแฝงเพราะไม่ต้องใช้ เงินเลือกตั้งมา ควรผ่อนปรนให้มีการ แต่งตั้งดังกล่าวโดยวิธีการ เลือกตั้งจากสาขาอาชีพนั้นๆ อาชีพอะไรก็ไปเลือกคนๆนั้น แต่อยู่ที่ว่าใครเป็นผู้เสนอชื่อหรือ โดยการสมัครใจเองและต้องไปแก้ กฏหมายรัฐธรรมนูญก่อน เรียกตัวแทนฝ่ายประสานงาน ทั้ง 2 ฝ่าย มาเจรจาหาข้อตกลง และ70/30,50/50 เสนอเข้ากรรมมาธิการแก้ ไขรัฐธรรมนูญให้มีการลง ประชามติ ต้องยอมรับทุกๆฝ่ายที่เคยกระทำ. ผิดไม่ควรมีนิรโทษกรรม จะเป็นตัวอย่างไม่ดี ต่อชนรุ่นหลัง ๒.ไม่รับข้อเสนอการคัดสรรรัฐบาล ควรยอมรับก่อนเพราะมาจากการเลือกตั้งของเสียงส่วนใหญ่ หรือรัฐบาลยอมยุบสภาเลือกตั้ง ใหม่แต่ผลคงไม่ต่างกันนอกจากแก้ข้อ๑.เสียก่อน เหมือนดังข้อ ๑คือการเจรจากัน เมื่อสรุปได้แล้วต้องยึดถือตลอด ๓.คิดแก้รัฐธรรมนูญ คัดค้านเต็มที่ไม่ยอมให้แก้ไข เนื่องจากเห็นว่าฝ่ายร่างไม่เป็นกลาง ควรเจรจาตั้งคณะ กรรมาธิการและลงประชามติ ต้องลงประชามติ ประชามติ ประชามติ ประชามติ ประชามติ ประชามติ
|