ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
11-01-2025, 15:55
378,182 กระทู้ ใน 21,926 หัวข้อ โดย 9,412 สมาชิก
สมาชิกล่าสุด: MAN4U
ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด (รุ่นแรก)  |  ทั่วไป  |  สภากาแฟ  |  คำต่อคำ by ‘Jakrapob’ ‘สายล่อฟ้า’จริงหรือไม่? ท้าเผชิญหน้าหวังพิสูจน์ในชั้นศาล 0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
หน้า: [1]
คำต่อคำ by ‘Jakrapob’ ‘สายล่อฟ้า’จริงหรือไม่? ท้าเผชิญหน้าหวังพิสูจน์ในชั้นศาล  (อ่าน 2998 ครั้ง)
oho
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 712


« เมื่อ: 14-05-2008, 16:35 »

คำต่อคำ by ‘Jakrapob’ ‘สายล่อฟ้า’จริงหรือไม่? ท้าเผชิญหน้า‘คุณเปรม’ หวังพิสูจน์กันในชั้นศาล     
Wednesday, 14 May 2008 
 
หมายเหตุ: เป็นเนื้อหาคำพูดของ “จักรภพ เพ็ญแข” ฉบับบรรยายเป็นภาษาอังกฤษ ต่อที่ประชุมชมรมนักข่าวต่างประเทศ เมื่อเดือนก.ย. 2550 หัวข้อ “ประชาธิปไตยกับระบบอุปถัมภ์ของไทย” ที่กำลังตกเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันมากว่า มีเนื้อหาบางช่วงบางตอนที่น่าสนใจและอันตรายอย่างยิ่ง โดยนายจักรภพเองได้อ้างว่า...มีความพยายามจะแปลเนื้อหาแบบผิดๆ เพื่อหาเรื่อง-ใส่ความกัน ซึ่งถือว่าไม่เป็นธรรม และเร็วๆนี้ หากจัดทำคำแปลเป็นภาษาไทยที่ถูกต้อง ก็จะนำมาเผยแพร่ ขณะที่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ก็ออกมาตอบโต้ว่า มีความพยายามเบี่ยงเบนประเด็นว่ามีปัญหาด้านการแปล แต่ความจริงไม่ใช่ เพราะพรรคประชาธิปัตย์มีหลายคนที่คุ้นเคยกับการใช้ภาษาอังกฤษ ก็เข้าใจในประเด็นการปาฐกถาครั้งนี้เป็นอย่างดี และเห็นว่า เป็นทัศนคติที่อันตราย โดยจะมีการนำเนื้อหาดังกล่าวส่งมอบให้นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี ได้พิจารณาด้วยตัวเอง

จึงเป็นเรื่องที่ต้องรอคอยกันต่อไปจากการถอดคำแปลของทั้งพรรคประชาธิปัตย์ และของนายจักรภพ ว่า “การแปล” เนื้อหานั้น “ผิดเพี้ยน-ใส่ความ” กันจริงหรือไม่ แต่ที่แน่ๆ คำพูดที่ถอดคำบรรยายเป็นภาษาอังกฤษ จากปากของ “จักรภพ เพ็ญแข” นั้นมีเนื้อหาดังนี้

....................................

A Talk by Jakrapob Penkae

At the Foreign Correspondence Club

September 2007


Jonathan, moderator

We’re very lucky to have him here to give us an insight into the alternative view to the one being portrayed by the CNS and their plan to return Thailand to democracy.
………..

Jakrapob

Thank you, Jonathan. Distinguished members and friends, well, I just want to be more specific on what I have just been through so you understand my situation. I just got out of Khun Prem’s jail. It’s not a general jail. It’s Khun Prem’s jail. It’s Khun Prem’s direct way of communicating to the public that he’s not to be touched. Who is Khun Prem, whom he represents, …...represents him, would be a part of what we can discuss tonight because it involves the current and future of Thailand’s democracy as you know because most of you have been already quite knowledgeable about Thailand and its complex and unnecessary headaches and situations in Thai politics. Jonathan gave me a huge issue on “Democracy and Patronage System of Thailand” as a part of a discussion on Thailand’s democratization. I’ll try to handle it in the best possible way.

In fact, considering the current situation of Thailand, no topic can be more relevant to Thailand these days. Current political crisis in my opinion is the clash between democracy and patronage system directly. It’s a head-on clash, and this would change Thailand and its foundations. The stake is very high for both sides, I mean, democracy and patronage. And if you take the result of the August 19th referendum seriously, you are observing the clash between the 56% and the 41% of the entire population. Never before that such a high number of people came out to say that we no longer need your patronage. It’s simply democracy that we want, not someone to pad in the back, not someone to say that, well, “I’ll make your life a little better but you should feel most grateful to us.” It’s the time that real changes should be the national right of the people of Thailand, no less than most people in a more developed land. I believe we can see this in a life time, the complete change that has started at this very moment.

Well, however, we have started off as a country in patronage system. Most of you who  read about Thailand and its brief history, because we decided to count our history 700 years ago and disregard the 300 years before that because it involved the southern complexity. That’s why the history was chosen to start 700 years ago in Sukhothai period where Sukhothai was the capital city of what would become Thailand. In Sukhothai, at least in one of the reigns of Sukhothai long history, we were led to know and believe that one of the Kings during Sukhothai period, King Ramkhamhaeng, at the time, to be more precisely “Great Brother” –er I’m sorry “Great Father Ramkhamhaeng” at the time because the idea of God-like monarch hasn’t arrived in this land yet during the Sukhothai period. So he was –or they were observed and regarded as “The Great Fathers” who could be benevolent to their people and gave the people what people needed at the time.

One of the noted examples was that Great Father Ramkhamhaeng, or King Ramkhamhaeng just to be in short, proposed to have a bell hung in front of his palace. And anybody with specific problems could come and ring the bell, and he or his people would come out and handle the problems. That was one of the first lessons the Thai students learn about Thai political regime that you have someone to depend upon. When we have problem, turn to someone who can help you. So before we know it, we are led into the patronage system because we ask about dependency before our own capability to do things. These are the very basic concept that makes Thai people different from many peoples around the world. So we started off like that. During the Sukhothai period we had Kings that did things like that. So people had duty to be loyal. People had duty to have faith in the system bestowed on them because that was the working system at the time and there was no competing system. In other word, there was not –there was no better idea how a kingdom could be run so that was the best system at the time.

Later on in Ayudhya period, that was the capital city of a land for 400 and some years. The God-like idea of monarch had been introduced with the Khmer civilization influence. The idea of a King as a demi-God, as a representative from the Hindu Gods and the Gods beyond these Hindu Gods had arrived in our land at the time. So the patronage system of helping people, or being dependable for people, had been changed into the state of protection. If you have loyalty to the King, unquestionable loyalty to the King, you would be protected. In order to show this protection more clearly, people who do otherwise must be punished. So this very system in Ayudhya period shows, or showed that there was an evolution of the system. Some people might call it regressive, some people would call it progressive. Whatever it might be in your opinion, it was a combination between the benevolence of the “Great Fathers” model and the “Great Leaders” model. In other words, Kings of Ayudhya were powerful and a concept of “power” were realized at the time that if people in power could be benevolent, you could benefit from that power as well. In other words, Ayudhya period taught Thai people to live with power, how to live with it, how to survive in it, and how not to be destroyed by it. But Ayudhya period also triggered the new relationships in our land, the master-slave relationship, the noble and commoners relationship. That was Ayudhya.

Then came Rattanakosin period. I would bypass the 12 years of Thonburi period. In Rattanakosin period in which we are now, the Chakri Dynasty was the starter of this so called Rattanakosin period. What it is is the combination of Ayudhya and the new skills of what I would like to call “knowledge management”. In other words, the glory of the Chief Father is combined with the power of Ayudhya period and the demi-God stature of the monarchs, has been added during Rattanakosin period with the so called “knowledge management”. Knowledge is power at the time, it was perceived so.

That’s why King Mongkut spoke English in his court. And he introduced science, and probably technologies, inventions, foreign goods that were completely unknown to Thai people at the time, as one of the sources of his power. King Mongkut was seen, not as a benevolent king, not as the best of Chief Father King, but as the Father of Science and Technology. He’s still regarded that way. So in other words, the system in Thailand has been to the point that leaders and rulers have been finding the best way possible at the time to convince people that they’re dependable. The source of their being dependable varies all the time like I described to you.

And then, here we are in the reign of the current King, King Bhumibhol or Rama IX. We have all of that combined. And because he reigns for so long of a time, 60 some years now, his being in Thailand has been promoted to the state of myth. People don’t know whether or not they’re talking about realities or belief about him. Because he reigns long enough that he could be all of those combined: the traditional King, the scientific King, the developing King, the working monarch, and now so, he can still be the guardian of the new invention to Thailand, democracy. So all of that have been in front of us that we have all those variables that we have to rearrange and put in a new order.

We missed some opportunities in the past like when Predee Panomyong, the civilian leader of the revolution of 1932, 2475 for Thai people, that the system was turned from absolute monarchy into constitutional monarchy. That was still in the reign of King Rama VII, King Prachathipok. Predee said later on, he seized power when he was 32 years old, and at the age of nearly 50, he was out of power completely and resided in Beijing for 10 years and then for the rest of his life in France. He never returned to Thailand, only his ashes. He said at the time that “When I had power, I don’t know what to do with it. When I grew up and know what to do with it, I no longer have power.” The idea of having things at a wrong time has been reminding us that we probably need a leader to rearrange all of that for us.

You see, all of that that I have said to you from the beginning, it leads to a strong belief among Thai people still that, with a benevolent reign like this, we don’t actually need democracy. We are led into believing that the best form of government is guided democracy, or democracy with His Majesty greatest guidance. It has a continual development of ideas and belief into the current situation in which I see as a clash or the clash between democracy and patronage system.

In other words, Thais are made to be comfortable with patronage system. We start to invent the term like ‘ไม่เป็นไร’ or ‘It doesn’t matter.’ or ‘It’s alright.’ because there’s no other way to say it. We invented the system of smiling anyway no matter what happens because smiles are the way out of a problem. There’s simply no other way at the time. And we invented some saying some belief like ‘ค่าของคนคือคนของใคร’ ‘A person’s value’s based on whom he belongs.’ something like that. So the ideas and the terms like these have been based on a feeling --the feeling that to be patronized is alright.

I went to the US as a student in 1992 and I could never understand at the time why people could be angered by being patronized. Some friends of mine responded angrily to me and to the people I saw them talking to, ‘Don’t patronize me.’ I never understood that because the state of being patronized is alright. The state of being flattered is fine because your life depends on others anyway. So to be patronized is not a sin, is not evil. But all that are coming to a big change. That’s why we are clashing now because there are enough people who come out and say that, ‘No, we don’t want it anymore of your damn patronage.’ The 41% that said no to the constitution drafted by the dictators and the dictators’ followers has been the result of the huge lobbying in the bureaucracy of heavy budget investment to turn the whole country to a ‘Yes’ country, you remember that; it’s just a week ago.  And some even believe that there are some irregularities involved in the process of campaigning of the constitution or the counting of the votes.

But with all of that, big brother tactics combined, they got only 56%. And that includes the big billboards around Bangkok, and probably outside Bangkok too --but I haven’t seen any. But I saw a lot of them along the Don Muang Toll Way from the old airport that say something like “Well, we the Thai people have to join the same boat. We have the same fate, we join the same boat.” But what is remarkable is the name that was put at the end of the statement.  It says ‘Yellow shirt people’. In other words, the ‘Yellow shirt people’ combined with all those tactics, you got only 56%. That is your big problem. Thailand is on the verge of change, if so. So what we’re talking about between democracy and patronage system is that people are coming out of age, I think.

I myself grew up in patronage system; I was pampered too. My father served in the air force and he later on became a commercial captain of Thai Airways when they first started the first bunch of local pilots. So he was paid in quite a high salary, enough to feed his family. And I wouldn’t have to go through the misery of life that he went through. He grew up in patronage system too. I treated my dinner for granted that they would always come to the table. I wouldn’t have a feeling of having dinner tonight and having nothing for tomorrow. But my father did experience all that. I grew up in that kind of system comfortably so. I started questioning the notion of patronage system later on when I became a full time journalist in a television, and started to probe Thailand and its society more seriously. I found that something is wrong. It took me years and some experience in the Taksin administration government to understand all of these.

Patronage system is problematic because it encourages inequality among individuals. And that’s the direct conflict to democracy. It encourages one person into thinking of depending on the other or others. It breeds endless number of slaves with a very limited number of masters. It prevents Thailand from coming out of age. That’s why, having been educated for so long of a time, having braved the world for so long of a time, never had any direct discrimination against any foreign cultures for so long of a time, many of us remain children. You can observe political fight in Thai politics and you would find most of them petty. It’s a child’s game –the way that they play of each other, or against each other. Because in a patronage system, you would remain children, you would remain somebody who depends on others. So no wonder pettiness is everywhere in Thailand.

You see one of the latest example happened to the Thai Rak Thai Party. You may have read the news. The election commission have a problem with the name of the new Thai Rak Thai Party. At the time Thai Rak Thai was transforming into a new party called ‘People’s Power Party’ or PPP. It was trying to play a trick of changing name or modifying name so people would know that it remains Thai Rak Thai. So they changed the name and the name was approved by the election commission. And then they found out that the modified name was abbreviated as TRT, just like Thai Rak Thai. They withdrew that endorsement, say that you can no longer use that name –it’s Thai Rak Thai again. My nightmare has returned. So in other words, this pettiness is a sample of how we play of each other in the 21st century.

So, Taksin, as Prime Minister that I came to work with and grew to like personally, came in and changed all that. Sleepwalkingly, Taksin has removed power patronage from the powers that be and turned it into public policies most people can benefit. I was with him so I knew that he didn’t launch those policies philosophically. He simply wanted to do his job. He wants to be liked. He wants to be loved. He wants to be a useful rich man. That’s simply the way he operates his money. But then his easy-going way has been in direct conflict with patronage system because it undid most of that –fast-- in only 5 years. People at grassroots started to feel that they have rights. They have the right to feel that they could be much better off than being a little better than last year. In other words, they simply was given a new choice. And Taksin didn’t do it to challenge anyone but some people felt challenged by what he did and what he has done.

When he won the election for the first time with the 377 seats in the Parliament of 500, it was never before and absolute majority. I could tell you behind the scene and off the microphone in future times that the private conversation that I –I’m sorry I couldn’t reveal tonight-- showed that there are some intimidation in the air right after the election result was known that Taksin won 377 seats among 500 in the Parliament. In other words, Taksin was not to be trusted because Taksin has violated the rules of being depending on others. He started to be a Prime Minister that doesn’t have to depend on anyone, and that is a sin in a patronage system. Taksin did right or wrong is up to the history to judge. You can drag him to court or you can…..justice –it doesn’t matter. But the matter is what he has put or imprinted in Thailand is something that people never felt before.


He almost did not do anything for the Bangkok people because he felt that they didn’t need him that much. If you ask Bangkok people, urbanized people, what Taksin had done to them, it could take them two weeks and they couldn’t come up with anything. But when you ask people at grassroots, they can cite ten items that they felt they were given under Taksin new system. Was Taksin patronizing them? In doing that, probably so, but he didn’t mean to do it that way. And I could tell you out of my personal observation of how he came up with that kind of policies. You know that he had planned that in the last two years of his second term, he would be in Thailand only 1/3 of the whole time. He would spend 2/3 of the last two years of his administration traveling the world. According to his word, he would be playing the role of ‘salesman’ for the country in the last two years, but he was deprived from that. He was overthrown while waiting to speak in the assembly in the United Nations. Right after the coup, September 19, 2006, we planned to launch a government in exile. But a telephone call from Bangkok changed all that. In my opinion, there was a mistake, we should have gone with a …… We should have made the CNS –the Surayut government—and the rest of them illegal. We should have made them illegitimate, like the Heng Samren Hun Sen regime of Cambodia years ago. We should have made that. But the telephone call changed all that. So what could we do? I am a small person in this vast entourage. I was at the time Deputy Secretary General to the Prime Minister –an equivalent to Deputy Chief of Staff in the President system of the US. But it was a small place so you could press for it. I would have pressed for government in exile. And if there would be a clash, a physical clash in Thailand –so be it.

So we’re talking in historical sense that even a Prime Minister who was put in power by the people, what he did was to release people from patronage system, but when the most crucial decision comes, even him, made the decision out of patronage system. So the deep root of the patronage system is here and it’s in direct conflict with democratization. We have to undo it. We have to personalize patronage system by saying that, well, who keeps patronizing people. And I believe that the time is near to do that. Once you were put in jail, it’s alright. We can do more time to realize your goal. It’s fine really.

The thing is that I was waiting for the second case that I’m charged with, the so called ‘wire tapping case’. On the 22nd of June, during our daily Sanam Luang protest stage, I was revealing a conversation of three people –a telephone conversation. Two of them were justice –one in the Supreme Court, one is in the Appeal Court. One was known to have a close relationship, presumably homosexual relationship with the powers that be. And they were talking to the sense that how we could manipulate the King’s statement to punish the Taksin administration and the Election Commissioners whom they believe to be siding with Taksin. And the rest of that is history if you follow the details in Thai news. In other words, they were forced to face the reality of how this patronage system which is the main element of aristocracy system of Thailand has been operated.


How they buddy each other and use this personal relationship which change things around. How they insult people by not endorsing the majority of the people. How they think that democracy has to be guided, still. So the tape itself would be a big case from now on. The police charge me and some of my colleagues of illegally wire tapping. It’s not the case. It was intentionally taped by the third person in the conversation that he would be coming out soon. He’s then the Permanent Secretary of the Prime Minister’s Office. So the case would be brought to court. My intention is not to approve whether or not I wiretapped, but I want to bring Khun Prem, General Prem, and the two judges to court. That would be my intention. Then I could be facing Khun Prem in court and ask him why such a great leader like himself decided to doubt the democracy like this. You were a great leader, Your Excellency, but you changed. So a once indispensable leader is now a leader at a very wrong time….. So Khun Prem symbolizes so many things. We learn from Khun Prem that a good person, when he gets real old --and it’s not the age that matters here, it’s the state of feeling old in the state of mind of not being adventurous anymore, of reversing to the old times, the good old times that he is comfortable with-- is no longer suitable to be influential the country.

So, I’m sorry I have so much of the time that I just want to say that the –what I found lately, in jail and out of jail, that democracy and patronage system are direct conflict. And the election which is upcoming on December 23rd would not resolve anything. The situation would be worse after the election because all of the tactics and covers would have been used up. And the real intention would be revealed why you couldn’t allow democracy in this country. When you went to Sanam Luang –if you did-- you would have the same feeling that I have that people in Thailand are no longer children. They are adults being forced into children’s costumes. They feel frustrated, physically and mentally, and they are struggling to get themselves out of that. I don’t know how they would come about but they will come. So I would end here. I hope that my opinions would attract some questions and some discussion after that. I would like to hear your opinion and your question so much. I want to know how you perceive Thailand because many of you have been in Thailand for so long of a time. Some of you are real Thailand lover –I don’t want to shatter that feeling. So I need to know what you actually feel about it at this point. Thank you very much.

Question :

At one point you said Thailand needed a leader to rearrange the current institutions at one point. I mean, you talk about the patronage system being unacceptable. Yet, you seem to think that Thailand can only be sorted out by a powerful leader –you’re referring to somebody like Khun Taksin that you worked underneath. Wasn’t it as much patronage under Taksin Shinawatra? Doesn’t he rely on patronage to bring people on board as well?

Answer :

It might not be him the leader I’m talking about. Actually, I should be referring to that as leadership instead of leader. What I meant to say is that things have been rearranged and put in the ‘right’ order by the force of the patronage system. But when people start to refuse that, they need a different kind of leadership to tell them to sing all these through. I don’t know any more than you do on what the new leadership would look like. But if you ask me, if I have to –to presume that I know and say something about it, I would say that the new leadership has to continue reducing the inequality of rights people in urbanized areas and the rest of the country have been put upon. In other words, the so called populist policies have to be the key to start making people believe that they have rights. And Khun Taksin, he’s reaching 60 now you know, and he’s quite a happy man, and he’s now happier than ever with the ‘Man City’. So I’m not even sure that Khun Taksin would want to take that role. He enjoys himself being a famous politician in Thailand. But according to him, if the owners don’t like what he did, a professional manager like him could be working for other companies. The kind of attitude is not really revolutionary. So the new leadership that I’m talking about is to be more revolutionary.

Question :

You’re talking about a leader being necessary. Isn’t it the best of thing if Thailand has fairly weak national leaders but start having much more dynamic politics at the local level? Beside you start waiting for a savior leader to come along. You’re surely thinking of the same sort of terms of patronage that was existing today.

Answer :

Oh no! I’m not waiting for the white knight to come and save all of us, no,no. What I’m saying is that this is the state of no white knight. I’m saying the opposite. This is the state of no white knight and yes the current state…..will not end like the May incident of 1992. There’s no one to end it because everyone is involved. You see that there’s no referee. So what would be happening from now on is really unknown. But I guess it would take -- it would take some people’s heavy hands, if you will. For example, to put it in a more tangible, touchable samples, appointed General Saprung’s attitudes, appoint Police General Sereepisut as Police Chief and you’ll see something. Actually you should have done that –they should have done that. They should have appointed the most dictatorial figures into positions that need to be democratized, and then we may see something that happens. When there was a revolution, the leaders of such incident is always unknown. So I don’t know who the leader.

Question :

Khun Jakrapob, something you said about –er—there was an attempt by Taksin to form a government in exile. I’m just curious, could you walk us through when he was planning to do so and when this call came from Thailand to ask him not to move ahead…..

Answer :

Well, I went to jail one time and I would try to refrain myself from doing the same thing again. Well what I could say here is –er—it was not him who came up with the idea of a government exile. It’s from some of us mean to it. And we informally approached certain countries, I don’t want to name countries, but not less than 10 countries on that same night, whether or not they would endorse our government in exile. And they said they would. .In other words, if he would have gone ahead with government exile, I think he would have succeeded. But that’s an ‘if’ clause. What do you call it? If certification? Who made that call–I’m sorry I couldn’t reveal right here but we….

Question :

Would his name begin with ‘P’?

Answer :

(Laugh) Well, it is very much in style, actually. Well, that call changed the idea he was considering it at the time. That was the time before he issued that emergency decree on MCOT, TV channel 9, the time you remember it, about 0920 pm. That was shortly before that. I was in Bangkok because we kind of knew that something would happen but he had to go any way. So he flew from New York to London. And it would be harder to form a government in exile in London as opposed to the United Nations. So I realized that he put an end to the idea but it didn’t come from him.

Question :

Khun Jakrapob, I forgot what you put the word exactly. You said something like ‘sleepwalkingness’ that –describing Taksin’s –what-er-evolution as hero of democracy, yah? Can you elaborate on that? Do you feel that he really had –I mean—was he really interested in promoting democracy in Thailand? And wasn’t he just monopolizing the patronage system? And if he did just sort of sleepwalk into this hero of democracy-er-image that you’re portraying here, I mean, is he really a democratic person? Is he a democratic politician really? And wasn’t this just a very accidental hero we’ve thought you’re promoting at the moment?

Answer :

He, he was a product, he is a product of patronage system and autocracy who tried to be more democratic than he might ever be. He battles all the time between being a liberal business person and a police officer. It is his internal conflict and you need to talk…..about that, not me. But the thing is that he’s good enough for me to work with because I need someone, we need someone to lead a way to the light at the end of the tunnel. If Thailand is deep in patronage system the way that the old timers had brought Thailand about, there’s no need for education. Why do we need to go to schools, I mean? To find some masters and you’ll do fine because you wouldn’t be allowed to show your education and your knowledge any way. If you want to have a country full of people with energy, and people who want to change things, you have to provide them with an equal time, I mean, of yourself, to express yourself in that society.

To answer Peter’s question, I believe that Khun Taksin has been trying to be democratic. People of his generation is hardly democratic. Even democratic fighters turn out to be very dictatorial when you work with them closely. Some democratic fighters in Thailand beat their wives. That’s terrible. What kind of democracy is that? So it is a battling between democracy and autocracy that he, along with the rest of his generation, has to do. I don’t presume to say what he is, but I’m saying that when I said he’s sleepwalking into changing policies, what I mean is that he did not intend to grasp power from the old patronage system. He did not know that the war was ongoing. He did not know that poor people have been owned by somebody else. That’s why he burst out some words without knowing how hurt it might be to people who heard it. He said at one point before I became spokesman. He said it. He said that I’m tired of this ‘poor man’s brokers’, people who talk about the poor and poverty all the time and didn’t do a damn thing about it. You know you couldn’t give people spirit instead of better life. You cannot give them projects that need results. So that’s how he operates his mind. That’s why I think that sometimes he’s sleepwalking in the sense that he did not know the impact of what he did. But he realized the impact of what he did later on. So what we’re talking about is a collective leadership actually. Taksin was not dictatorial. I was working with him. I would be the one who stepped away from him if he was. But he merely a person who stick to the gun and try to get the job done, no leader in Thailand was ever like that. So it was dictatorial in the minds of people because you stuck to your gun. You insisted that it had to be done under your leadership and that could be construed by some people as being dictatorial. But if you met him in person, you spend some time with him, you would know that he’s no –he’s not—he doesn’t have that grain in his body. So I’m not saying that he’s a superman but he’s better than the old leaders that I was told to respect. I would rather work underneath a half good commoner than an empty noble, you see.

Question (Simon) :

Khun Jakrapob, will you be contesting the upcoming election on December 23rd? If so which party will you be joining? And can you tell us anything about what that party stands for or may do to Thailand? If you decide that you will not be joining this election since you campaign against the constitution, will you be doing any other kind of action, …..or whatever, to, you know, make your political point?

Answer :

Well, thank you, Simon. We had 377 seats in the parliament and we was –we were overthrown. So maybe the victory in the election might not be the whole thing, or the whole point. So all of us, some of us who were campaigning at Sanam Luang are now considering whether or not we should be joining the election. If we would join the election, it means that we would need a new forum to reveal them all. The election campaign for us would be another Sanam Luang stage if we would join the election. But if we would not join the election, it would mean that we would find something outside the electoral process to do in order to protect the system itself if we can, the best way we can. We are not priding ourselves as being, you know, the guardian of anything, but we try, or we would try. The party we would belong, anything Thai Rak Thai, anything Thai Rak Thai. It could be called, you know, Thai Love Chinese, you know, I would belong to that party.

Question (Peter) :

Maybe I can throw a split question to both of you. From what we read, the PPP has lots of former Thai Rak Thai MPs and, I guess, enters the election campaign, something happens as a road runner. So, two-part question: (1) What do you think will be done to stop PPP from winning? And (2) What do you both think about the government or a government party led by Samak?

Answer :

Let me make sure that I got your question right. The first question, what would stop PPP from winning?

Question :

What is it to stop, what is going to be done to stop from winning?

Answer :

The tactics of the other side?

Question :

Yes. And the second one, what do you both think of a governing party or party in the government led by Samak. What sort of person do you think he is?

Answer :

Well, for the first question, they really try to –er –allocate more budget in Isarn. They had people like the former MP of Thai Rak Thai, Wiwattanachai Na Kalasin, coming out and declare that he would form the Isarn group and try to grasp as much votes as possible from PPP, or the former Thai Rak Thai party. This kind of tactics I don’t know –er –there could be a lot more. But I think that the main tactic would be to brand Taksin as an asshole –would be the major tactic. They would continue to do it and what else I think that covers it.

But for the second question, Samak came from the, the, well, if you use the western mode of thought, you would brand Samak as ultra righteous. But if you look closer at him and follow the stories, you would find that he just heavily in patronage system. I mean he is an ultra conservative who can surrender his position easily if asked that what he was….. But then he decided to defend Taksin this time in his early 70’s. He’s in his 70’s now you know. He’s no longer a young politician but he decided to jump in and defended Taksin this time.
บันทึกการเข้า
999
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2,022



« ตอบ #1 เมื่อ: 14-05-2008, 16:55 »



อ่านแล้วก็เป็นเชิงวิชาการ เป็นทัศนะที่คนต่างประเทศรับฟังได้เข้าใจ

และผมมองว่าเป็นประเด็นการดจมตีการเมืองของพรรคประชาธิปัตย์ อันเกิดจากคนแวดล้อมที่อยู่ในระบบ


อภิสิทธแห่งปชป.คยเสนอแนวคิด นายกฯตามมาตราเจ็ด เป็นการอาจเอื้้อมและอันตรายหรือไม่? ด้วยตรรกะแบบเดียวกัน
บันทึกการเข้า

qazwsx
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,359


นักธุรกิจและตำรวจ ต้องออกไปจากการเมือง


« ตอบ #2 เมื่อ: 14-05-2008, 17:12 »


อ่านแล้วก็เป็นเชิงวิชาการ เป็นทัศนะที่คนต่างประเทศรับฟังได้เข้าใจ

และผมมองว่าเป็นประเด็นการดจมตีการเมืองของพรรคประชาธิปัตย์ อันเกิดจากคนแวดล้อมที่อยู่ในระบบ


อภิสิทธแห่งปชป.คยเสนอแนวคิด นายกฯตามมาตราเจ็ด เป็นการอาจเอื้้อมและอันตรายหรือไม่? ด้วยตรรกะแบบเดียวกัน



ตั้งธงด่าพรรคป ปชป.+อภิสิทธิ์ ไว้ ก่อนโพสแสดง คคห.รึเปล่า ?
...หรือ "ก่อนอ่านกระทู้" ซะด้วยซ้ำ รึเปล่า ??

แล้วโยงไปยังการเรื่องทูลขอพระราชทานนายก ฯ ได้อย่างไร ??


ใจเย็น ๆ สักนิด  อ่านกระทู้แล้วคิดให้นาน ๆ สักหน่อยก่อนแสดง คคห.ก็ได้นะครับ
ไม่เช่นนั้นแล้ว  อาจจะทำให้คุณ Q กลายเป็น Commentator ประเภทที่ใคร ๆ ต่างบอกกันเป็นเสียงเดียวว่า

"มันพูด ( พิมพ์ ) อะไรของมันวะ ?"

บันทึกการเข้า

Kittinunn
Aloha007
Global Moderator
ขาประจำขั้นที่ 3
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3,127


ไปได้สวย...ด้วยเกียร์ต่ำ!!!


เว็บไซต์
« ตอบ #3 เมื่อ: 14-05-2008, 17:13 »


ตั้งธงด่าพรรคป ปชป.+อภิสิทธิ์ ไว้ ก่อนโพสแสดง คคห.รึเปล่า ?
...หรือ "ก่อนอ่านกระทู้" ซะด้วยซ้ำ รึเปล่า ??

แล้วโยงไปยังการเรื่องทูลขอพระราชทานนายก ฯ ได้อย่างไร ??


ใจเย็น ๆ สักนิด  อ่านกระทู้แล้วคิดให้นาน ๆ สักหน่อยก่อนแสดง คคห.ก็ได้นะครับ
ไม่เช่นนั้นแล้ว  อาจจะทำให้คุณ Q กลายเป็น Commentator ประเภทที่ใคร ๆ ต่างบอกกันเป็นเสียงเดียวว่า

"มันพูด ( พิมพ์ ) อะไรของมันวะ ?"



แนะนำปู่เย็น อ่านกระทู้ย้อนหลัง แล้วจะรู้เอง 
บันทึกการเข้า

“ผมเขียนไปในบล็อกนั้น แบบข้างบนนี้เหมือนกัน นึกว่า จะโพสต์ ปรากฏว่า เขาบอกว่า ต้อง สมัครสมาชิกก่อน ผมขี้เกียจ เลยมาโพสต์ที่นี่แทน อ้อ ตอนเขียน ผมใส่คำว่า ทุเรศ และ น่าสมเพช ไปด้วย” (อ.สมศักดิ์ เจียมธีระสกุล-เว็บบอร์ดฟ้าเดียวกัน - ข้อความในเสรีไทย โดย Snowflake)

999
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2,022



« ตอบ #4 เมื่อ: 14-05-2008, 17:17 »


เผอิญเรื่องนี้ มันมาจากพฤติกรรมของอภิสิทธิ์และพรรคนี้มาอย่างต่อเนื่อง

ก็สมควรที่สังคมจะวิพากษ์ได้เช่นเดียวกับจักรภพ

น่าจะจับไปขึ้นศาลพร้อมกัน คนละคดี
 
บันทึกการเข้า

oho
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 712


« ตอบ #5 เมื่อ: 14-05-2008, 17:25 »

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 18-05-2008, 10:57 โดย oho » บันทึกการเข้า
oho
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 712


« ตอบ #6 เมื่อ: 18-05-2008, 10:57 »

ถอดคำพูดจักรภพหมดเปลือก (ฉบับแปลภาษาไทย)
โดย นายเอกยุทธ อัญชันบุตร ประธานบริหารเครือโอเรียนเต็ล มาร์ท กรุ๊ป ประเทศอังกฤษ 

การบรรยายของนายจักรภพ  เพ็ญแข ที่ประชุมชมรมนักข่าวต่างประเทศ, กันยายน 2550

พิธีกร (โจนาธาน)

เราโชคดีมากที่คุณจักรภพมาในวันนี้เพื่อที่จะให้ความรู้แก่เราในมุมมองที่แตกต่างออกไปจากมุมมองของคณะปฏิรูป ตลอดจนแผนการนำประชาธิปไตยกลับคืนสู่ประเทศไทย...

จักรภพ

ขอบคุณ โจนาธาน สมาชิกผู้ทรงเกียรติ และเพื่อนๆ ผมอยากเล่าเจาะจงลงไปว่า ผมได้ผ่านอะไรมาบ้าง พวกคุณจะได้เข้าใจสถานการณ์ของผม ผมเพิ่งออกจากคุกคุณเปรม ไม่ใช่คุกทั่วไป แต่เป็นคุกคุณเปรม ซึ่งเป็นวิธีการของคุณเปรมในการสื่อสารกับประชาชนว่าเขาเป็นบุคคลที่แตะต้องไม่ได้คุณเปรมเป็นใคร เขาเป็นตัวแทนของใคร...เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งที่เราจะอภิปรายกันในคืนนี้ เพราะมันเกี่ยวข้องกับประชาธิปไตยในปัจจุบันและในอนาคตของประเทศไทย อย่างที่พวกคุณทราบกันเพราะพวกคุณส่วนใหญ่ก็มีความรู้ดีอยู่แล้วเกี่ยวกับประเทศไทย ตลอดจนความซับซ้อนเรื่องปวดหัวที่ไม่จำเป็นและสถานการณ์ทางการเมืองของไทย โจนาธานกำหนดหัวข้อใหญ่มากให้ผมคือ“ประชาธิปไตยกับระบบอุปถัมภ์ของไทย” ให้เป็นส่วนหนึ่งของการอภิปรายเกี่ยวกับการทำให้ประเทศไทยเป็นประชาธิปไตย ซึ่งผมจะพยายามทำให้ดีที่สุด

ที่จริงหากพิจารณาสถานการณ์ของประเทศในปัจจุบัน ก็คงไม่มีหัวข้อไหนเหมาะสมไปกว่านี้อีกแล้ว วิกฤตทางการเมืองในปัจจุบันตามความเห็นของผม คือความขัดแย้งกันระหว่างประชาธิปไตยกับระบบอุปถัมภ์ ซึ่งเป็นความขัดแย้งแบบเผชิญหน้า และจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยและรากฐานของประเทศ ซึ่งเดิมพันสูงมากทั้งสองฝ่ายทั้งประชาธิปไตยและระบบอุปถัมภ์ และถ้าท่านพิจารณาผลการลงประชามติเมื่อวันที่ 19 สิงหาคมอย่างจริงจัง ท่านจะเห็นว่าเป็นการเผชิญหน้ากันระหว่างประชาชนจำนวน 56% และ 41% ของประชากรทั้งหมด ไม่เคยปรากฏมาก่อนที่ประชาชนจำนวนมากออกมาบอกว่า “เราไม่ต้องการการอุปถัมภ์ของท่านอีกต่อไป” เราต้องการประชาธิปไตย มิใช่คนที่มาตบหลังเรา ไม่ใช่คนที่บอกเราว่า “เราจะทำให้ชีวิตคุณดีขึ้นเล็กน้อย แต่คุณต้องสำนึกในบุญคุณของเรา” ถึงเวลาแล้วที่การเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงควรเป็นสิทธิ์ระดับชาติของประชาชนไทยไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ผมเชื่อว่าเราจะสามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงนี้ได้ภายในชั่วชีวิตของเรา การเปลี่ยนแปลงโดยสิ้นเชิงซึ่งกำลังเริ่มขึ้นในขณะนี้

อย่างไรก็ตาม เราเริ่มต้นด้วยการเป็นประเทศในระบบอุปถัมภ์ พวกคุณส่วนใหญ่คงเคยอ่านเรื่องราวเกี่ยวกับประเทศไทยและประวัติศาสตร์สั้นๆของประเทศไทย เพราะเราตัดสินใจที่จะนับประวัติศาสตร์ไทยย้อนหลังไปเพียง 700 ปี โดยไม่สนใจช่วง 300 ปีก่อนหน้านั้น เพราะเป็นช่วงเวลาที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ความยุ่งยากทางภาคใต้ ดังนั้นประวัติศาสตร์ชาติไทยจึงถูกเลือกให้เริ่มต้นเมื่อ 700 ปีที่แล้วในสมัยสุโขทัยซึ่งมีสุโขทัยเป็นเมืองหลวง ในรัชสมัยหนึ่งในยุคสุโขทัยเราถูกชักนำให้เชื่อว่ากษัตริย์องค์หนึ่งในสมัยสุโขทัยคือพ่อขุนรามคำแหง เป็น “พี่ชายที่ยิ่งใหญ่” ขอโทษ “พ่อขุนรามคำแหงที่ยิ่งใหญ่” เนื่องจากแนวคิดที่ว่ากษัตริย์เปรียบเหมือนพระเจ้ายังมิได้เข้ามาในแผ่นดินไทยในสมัยสุโขทัย ดังนั้นกษัตริย์ในสมัยสุโขทัยจึงถูกมองว่าเป็น “พ่อที่ยิ่งใหญ่” ผู้ที่มีความเมตตากรุณาต่อประชาชนและให้สิ่งที่ประชาชนต้องการ

ตัวอย่างหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันทั่วไปก็คือพ่อขุนรามคำแหงให้นำระฆังมาแขวนไว้หน้าวัง ผู้ใดมีปัญหาก็สามารถมาเคาะระฆังได้และพระองค์หรือคนของพระองค์ ก็จะออกมาช่วยจัดการแก้ปัญหาให้ เรื่องนี้เป็นหนึ่งในบทเรียนแรกๆ ที่นักเรียนไทยได้เรียนเกี่ยวกับระบอบการปกครองของไทย ว่าเราสามารถที่จะพึ่งพาใครได้ เมื่อเรามีปัญหาก็หันไปหาผู้ที่สามารถช่วยเราได้ ด้วยเหตุนี้ก่อนที่เราจะรู้ตัว เราก็ถูกชักนำเข้าไปสู่ระบบอุปถัมภ์เสียแล้ว เพราะเราเรียกหาการพึ่งพาอาศัย การอุปการะก่อนที่จะใช้ความสามารถของตนเอง สิ่งเหล่านี้เป็นแนวคิดพื้นฐานที่ทำให้คนไทยแตกต่างจากชนชาติอื่นในโลกเราเริ่มต้นมาเช่นนั้น ในสมัยสุโขทัยเรามีกษัตริย์ที่ทำเช่นนั้น ดังนั้นประชาชนจึงมีหน้าที่ที่จะซื่อสัตย์ ประชาชนมีหน้าที่ที่จะต้องมีความศรัทธาในระบบซึ่งมีผู้มอบให้แก่พวกเขาเพราะเป็นระบบที่ใช้ได้ผล ในช่วงเวลานั้นและไม่มีระบบอื่นที่สามารถแข่งได้ กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ไม่มีแนวคิดที่ดีกว่านี้ในการปกครองอาณาจักรไทย ระบบดังกล่าวจึงเป็นระบบที่ดีที่สุดในขณะนั้น

ต่อมาในสมัยอยุธยาซึ่งมีอยุธยาเป็นเมืองหลวงเป็นเวลา 400 กว่าปีแนวคิดที่ว่ากษัตริย์เปรียบเหมือนพระเจ้าถูกนำเข้ามาโดยได้รับอิทธิพลจากอารยะธรรมเขมร กษัตริย์เป็นกึ่งเทพเจ้า เป็นตัวแทนของเทพในศาสนาฮินดูและพระเจ้าที่อยู่เหนือเทพทั้งหลาย ดังนั้นระบบอุปถัมภ์ซึ่งให้ความช่วยเหลือประชาชน เป็นที่พึ่งของประชาชน ได้ถูกเปลี่ยนมาเป็นการปกป้อง ถ้าคุณมีความซื่อสัตย์ต่อกษัตริย์ ความซื่อสัตย์โดยไม่มีความเคลือบแคลงสงสัยใดๆทั้งสิ้น คุณจะได้รับการปกป้อง และเพื่อแสดงให้เห็นการปกป้องอย่างชัดเจน ประชาชนที่ทำในทางตรงกันข้ามจะถูกลงโทษ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าระบบในสมัยอยุธยาเป็นการแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของระบบ ประชาชนบางกลุ่มอาจเห็นว่าเป็นการถดถอย บางกลุ่มอาจเห็นว่าเป็นการพัฒนา ไม่ว่าคุณจะเห็นว่าเป็นอะไรก็ตามมันเป็นการผสมผสานระหว่างความเมตตากรุณาของ “พ่อผู้ยิ่งใหญ่” และ “ผู้นำที่ยิ่งใหญ่” กล่าวคือกษัตริย์สมัยอยุธยามีอำนาจและหลักการของอำนาจในสมัยนั้น ก็คือถ้าผู้มีอำนาจมีความเมตตา คุณก็จะได้รับประโยชน์จากอำนาจนั้นด้วย กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือสมัยอยุธยาสอนให้คนไทยมีชีวิตอยู่กับอำนาจ จะดำเนินชีวิตอยู่กับอำนาจได้อย่างไรจะเอาตัวรอดจากอำนาจได้อย่างไร และจะทำอย่างไรจึงจะไม่ถูกอำนาจทำลาย แต่สมัยอยุธยาก็ได้ก่อให้เกิดความสัมพันธ์รูปแบบใหม่ขึ้นในประเทศไทยคือความสัมพันธ์ระหว่างนายกับทาสความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นผู้ดีผู้มียศศักดิ์กับสามัญชน นั่นคือสมัยอยุธยา

ต่อมาก็เป็นสมัยรัตนโกสินทร์ผมจะขอข้ามสมัยธนบุรีช่วง 12 ปีไป ในสมัยรัตนโกสินทร์ซึ่งเป็นสมัยปัจจุบันนั้น ราชวงศ์จักรีเป็นราชวงศ์ที่เริ่มต้นสมัยรัตนโกสินทร์ ซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างสมัยอยุธยาและทักษะใหม่ๆซึ่งผมจะขอเรียกว่า “การบริหารจัดการความรู้” กล่าวคือความรุ่งเรืองของ “พ่อผู้ยิ่งใหญ่” ผสมผสานกับอำนาจสมัยอยุธยาและความสำคัญของความเป็นกษัตริย์กึ่งเทพเจ้า รวมเข้ากับการบริหารจัดการความรู้ในสมัยรัตนโกสินทร์ โดยเข้าใจกันว่าความรู้คืออำนาจ ดังนั้นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงพูดภาษาอังกฤษในราชสำนัก พระองค์ทรงริเริ่มนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่งประดิษฐ์ ตลอดจนสินค้าต่างประเทศซึ่งคนไทยไม่เคยรู้จัก เข้ามาเป็นแหล่งอำนาจแหล่งหนึ่งของพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นพระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมิใช่กษัตริย์ผู้เมตตากรุณา มิใช่กษัตริย์ผู้เป็นพ่อที่ยิ่งใหญ่และพระองค์ก็ยังได้รับการยกย่องเช่นนั้นจนถึงทุกวันนี้ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ระบบของไทยมาถึงจุดที่ผู้นำและผู้ปกครองพยายามหาวิธีที่ดีที่สุดในขณะนั้น ที่จะทำให้ประชาชนเชื่อว่าสามารถไว้วางใจและเชื่อถือผู้นำได้โดยวิธีการที่ผู้นำจะทำตัวให้เป็นที่เชื่อถือไว้วางใจ ก็จะแตกต่างกันไปตามยุคสมัยดังที่ผมได้บรรยายมาแล้ว

ขณะนี้เราอยู่ในรัชสมัยของกษัตริย์องค์ปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เรามีทุกสิ่งที่กล่าวมาแล้วรวมกัน และเนื่องจากพระองค์ทรงครองราชย์นานมาก 60 ปีแล้ว พระองค์จึงทรงได้รับยกย่องให้เป็นตำนาน ประชาชนไม่รู้เลยว่าพวกเขากำลังพูดถึงความจริงหรือความเชื่อเกี่ยวกับพระองค์ เพราะพระองค์ทรงครองราชย์มานานมาก จนสามารถเป็นได้ทุกอย่างรวมกัน ทั้งกษัตริย์ตามที่สืบทอดกันมา กษัตริย์นักวิทยาศาสตร์ กษัตริย์นักพัฒนา กษัตริย์นักทำงาน และขณะนี้พระองค์ยังทรงเป็นผู้พิทักษ์สิ่งประดิษฐ์ใหม่ของประเทศไทย นั่นคือประชาธิปไตย ทั้งหมดนั่นกำลังเผชิญหน้าเราอยู่ เรามีปัจจัยเหล่านี้มากมาย ซึ่งเราต้องปรับปรุงและจัดลำดับใหม่

ในอดีตเราเคยพลาดโอกาสอย่างในสมัยนายปรีดี พนมยงค์ ผู้นำพลเรือนในการปฏิวัติเมื่อค.ศ.1932 หรือพ.ศ.2475 ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงระบบจากการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เป็นการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ ซึ่งขณะนั้นตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นายปรีดีกล่าวในเวลาต่อมาว่า เขายึดอำนาจได้เมื่ออายุ 32 ปีและเมื่ออายุใกล้ 50 ปีเขาหมดอำนาจและไปใช้ชีวิตอยู่ที่กรุงปักกิ่ง 10 ปี และต่อจากนั้นก็ไปอยู่ฝรั่งเศส เขาไม่เคยกลับมาเมืองไทยเลย มีเพียงเถ้ากระดูกเท่านั้นที่ถูกนำกลับมา เขาเคยกล่าวว่า “เมื่อผมมีอำนาจผมก็ไม่รู้ว่าจะใช้อำนาจนั้นอย่างไร แต่เมื่อผมอายุมากขึ้นและรู้ว่าจะใช้อำนาจอย่างไรผมกลับไม่มีอำนาจแล้ว” แนวคิดที่ว่า เรามีอะไรหรือได้อะไรมา ไม่ถูกเวลา เตือนให้เราทราบว่า เราอาจจำเป็นต้องมีผู้นำที่จะช่วยปรับปรุงทุกสิ่งทุกอย่างให้เราใหม่ ท่านเห็นหรือไม่ว่า ทุกอย่างที่ผมกล่าวมาตั้งแต่ต้น นำไปสู่ความเชื่อที่คนไทยยังคงมีอยู่ว่า ด้วยการปกครองโดยพระมหากษัตริย์ที่เปี่ยมไปด้วยความเมตตากรุณาเช่นนี้ เราก็ไม่จำเป็นต้องมีประชาธิปไตยเราถูกชักนำให้เชื่อว่า รูปแบบของรัฐบาลที่ดีที่สุด คือประชาธิปไตยที่ถูกชี้นำหรือประชาธิปไตยภายใต้การชี้นำ การนำทางที่ยิ่งใหญ่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นการพัฒนาแนวคิดและความเชื่ออย่างต่อเนื่องมาจนถึงสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งผมมองว่ามันเป็นความขัดแย้งแบบเผชิญหน้ากันระหว่างประชาธิปไตยและระบบอุปถัมภ์

กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือคนไทยถูกทำให้รู้สึกสบายใจกับระบบอุปถัมภ์ เราเริ่มใช้คำว่า “ไม่เป็นไร”เพราะไม่มีวิธีอื่นที่จะพูด เราใช้วิธียิ้มตลอดไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นก็ตามเพราะการยิ้มเป็นวิธีการช่วยให้หลุดพ้นจากปัญหา ไม่มีวิธีอื่น และเราก็มีคำกล่าวและความเชื่อว่า “ค่าของคนคือคนของใคร” ดังนั้นความคิดและคำกล่าวเหล่านี้ ล้วนขึ้นอยู่กับความรู้สึกที่ว่า การที่มีคนคอยอุปถัมภ์เรานั้น เป็นสิ่งที่รับได้

ผมไปศึกษาต่อที่สหรัฐในปี 1992 และผมไม่เคยเข้าใจเลยในตอนนั้นว่าทำไมคนมักจะโกรธเมื่อมีคนคอยช่วยเหลือ เพื่อนผมบางคนตอบอย่างโกรธๆว่า “ไม่ต้องมาคอยช่วย” ผมไม่เข้าใจเพราะผมคิดว่าการที่มีคนคอยช่วยเหลือนั้นเป็นเรื่องถูกต้อง การถูกประจบถูกยกยอเป็นเรื่องปกติ เพราะชีวิตคุณก็ขึ้นอยู่กับคนอื่นด้วย ดังนั้นการที่มีคนคอยช่วยเหลือนั้น ไม่ใช่เรื่องบาป ไม่ใช่ความชั่วแต่ทั้งหมดนั้นก็มาสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ซึ่งเป็นสาเหตุที่เรากำลังขัดแย้งกันในขณะนี้ เพราะมีประชาชนจำนวนหนึ่งออกมาบอกว่า “ไม่ เราไม่ต้องการระบบอุปถัมภ์อัปรีย์ของคุณอีกต่อไป” ประชาชน41% ที่ลงประชามติไม่รับรัฐธรรมนูญที่ร่างโดยพวกเผด็จการและบริวาร เป็นผลของการวิ่งเต้นครั้งใหญ่ในระบบราชการด้วยการลงทุนด้วยงบประมาณจำนวนมากที่จะเปลี่ยนประเทศทั้งประเทศให้ยอมรับรัฐธรรมนูญ พวกคุณคงยังจำกันได้เมื่อสัปดาห์ที่แล้วนี่เอง และบางคนก็เชื่อว่ามีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นในกระบวนการรณรงค์การลงประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญในการนับคะแนนเสียง แต่ทั้งหมดนั่นรวมทั้งเล่ห์กลต่างๆของพี่ใหญ่พวกเขา ก็ได้เพียง 56% ซึ่งก็รวมถึงการติดป้ายโฆษณาใหญ่ทั่วกรุงเทพฯและอาจจะนอกกรุงเทพฯด้วย แต่ผมไม่เห็น ผมเห็นแต่ป้ายโฆษณาจำนวนมากตลอดทางยกระดับดอนเมือง ซึ่งมีข้อความเช่น “พวกเราคนไทยต้องลงเรือลำเดียวกันเราร่วมโชคชะตาเดียวกัน ลงเรือลำเดียวกัน” แต่สิ่งที่น่าสังเกตก็คือ ชื่อท้ายข้อความบนป้ายที่ว่า“ประชาชนคนเสื้อเหลือง” กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ “ประชาชนคนเสื้อเหลือง” รวมกับเล่ห์กลทุกอย่างแต่คุณกลับได้เพียง 56% นั่นเป็นปัญหาใหญ่ของคุณแล้ว ซึ่งถ้าเช่นนั้นประเทศไทยก็ใกล้จะถึงเวลาของการเปลี่ยนแปลงแล้วดังนั้นสิ่งที่เรากำลังพูดถึงระหว่างประชาธิปไตยกับระบบอุปถัมภ์คือผมคิดว่าประชาชนเริ่มออกมาจากยุคเก่าแล้ว

ผมเองก็เติบโตขึ้นมาในระบบอุปถัมภ์ผมก็ถูกตามใจด้วย คุณพ่อผมเป็นทหารอากาศและต่อมาก็เป็นนักบินของบริษัทการบินไทย ซึ่งเป็นนักบินคนไทยรุ่นแรกของบริษัท ท่านจึงมีเงินเดือนมากพอที่จะเลี้ยงดูครอบครัวได้ และผมก็ไม่ต้องต่อสู้กับความทุกข์ยากของชีวิตอย่างที่ท่านเคยประสบมา ท่านก็โตมาในระบบอุปถัมภ์เช่นกัน ผมไม่เห็นคุณค่าของอาหารเท่าที่ควร เพราะจะมีคนคอยบริการนำอาหารมาให้ผมที่โต๊ะเสมอ ผมไม่เคยรู้สึกว่ากินอาหารค่ำคืนนี้แล้วจะไม่มีอะไรกินในวันรุ่งขึ้น แต่คุณพ่อของผมผ่านประสบการณ์เช่นนั้นมาแล้ว ผมเติบโตขึ้นมาอย่างสะดวกสบายในระบบนั้น ผมเริ่มสงสัยในแนวคิดของระบบอุปถัมภ์ ในเวลาต่อมาเมื่อผมทำงานเป็นนักข่าวประจำสถานีโทรทัศน์ช่องหนึ่ง และเริ่มตรวจสอบประเทศไทยและสังคมไทยอย่างจริงจัง ผมพบว่ามีอะไรบางอย่างผิดปกติผมใช้เวลาหลายปี รวมทั้งประสบการณ์ของผมตอนทำงานในรัฐบาลทักษิณที่จะทำความเข้าใจกับสิ่งเหล่านี้ ระบบอุปถัมภ์เป็นตัวปัญหาเพราะมันส่งเสริมความไม่เท่าเทียมกันของปัจเจกบุคคลและนั่นคือความขัดแย้งโดยตรงกับประชาธิปไตย มันส่งเสริมให้คนคิดพึ่งพาคนอื่นมันก่อให้เกิดทาสจำนวนมหาศาล แต่มีนายเพียงจำนวนไม่กี่คน มันขัดขวางมิให้ประเทศไทยหลุดพ้นจากยุคสมัยเก่า ด้วยเหตุนี้ พวกเราจำนวนมากยังคงเหมือนเด็กอยู่ แม้ว่าจะได้รับการศึกษามานาน แม้ว่าจะเผชิญหน้ากับสิ่งต่างๆในโลกนี้มาเป็นเวลานาน แม้ว่าจะไม่เคยแยกแยะความแตกต่างของวัฒนธรรมต่างชาติมาเป็นเวลานาน คุณลองสังเกตการณ์ต่อสู้ทางการเมืองของไทย แล้วคุณจะพบว่าส่วนใหญ่เป็นเรื่องจุกจิกเล็กๆน้อยๆ วิธีการที่พวกเขาเล่นกันหรือสู้กัน เหมือนเป็นเกมของเด็กเพราะในระบบอุปถัมภ์คุณยังคงเป็นเด็กอยู่ คุณยังคงเป็นคนที่ต้องพึ่งพาอาศัยคนอื่นอยู่ ดังนั้นการคิดเล็กคิดน้อยจึงยังมีอยู่ทั่วไปในประเทศไทย

พวกคุณคงเห็นตัวอย่างล่าสุดที่เกิดขึ้นกับพรรคไทยรักไทย คุณคงได้อ่านข่าวคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) มีปัญหากับชื่อใหม่ของพรรคไทยรักไทย ตอนนั้นพรรคไทยรักไทยยังไม่ได้เปลี่ยนเป็นพรรคใหม่ที่ชื่อ “พรรคพลังประชาชน” พรรคพยายามใช้กลอุบายในการเปลี่ยนหรือปรับชื่อเพื่อให้ประชาชนรู้ว่า ยังคงเป็นพรรคไทยรักไทยอยู่ ดังนั้นพรรคจึงเปลี่ยนชื่อและได้รับการรับรองจากกกต. แต่ต่อมากกต.พบว่า ชื่อพรรคที่เปลี่ยนนั้นใช้ตัวย่อ “ทรท.” เช่นเดียวกับพรรคไทยรักไทย กกต.จึงยกเลิกการรับรองการตั้งพรรค เพื่อที่ว่าเราจะได้ใช้ชื่อนั้นไม่ได้ เพราะมันคือทรท.เหมือนเดิม ฝันร้ายของผมกลับมาอีกครั้งหนึ่งกล่าวคือความจุกจิกการคิดเล็กคิดน้อยนี้เป็นตัวอย่างหนึ่งของการที่เราเล่นเกมการเมืองกันในศตวรรษที่ 21 นี้ 
 
นายกฯทักษิณ ซึ่งผมได้ทำงานด้วยและเริ่มรู้สึกชอบท่านเป็นการส่วนตัว ได้เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกสิ่งทุกอย่าง เหมือนกับการละเมอเดินขณะหลับอยู่ นายกฯทักษิณได้กำจัดอำนาจของระบบอุปถัมภ์และเปลี่ยนให้เป็นนโยบายสาธารณะ ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่จะได้ประโยชน์ ผมอยู่กับท่านด้วย ผมจึงทราบว่าท่านมิได้แนะนำนโยบายเหล่านั้นในเชิงปรัชญา ท่านเพียงแต่ต้องการทำงานให้สำเร็จ  ท่านต้องการให้ประชาชนชอบท่าน รักท่าน ท่านต้องการเป็นคนรวยที่มีประโยชน์ ซึ่งนั่นคือวิธีที่ท่านจัดการกับเงินของท่าน แต่แล้วความเป็นกันเองของท่าน ก็กลายเป็นความขัดแย้งกับระบบอุปถัมภ์ เพราะสิ่งที่ท่านทำในแบบของท่าน สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงสิ่งเหล่านั้นอย่างรวดเร็วภายในเวลาเพียง 5 ปี ประชาชนระดับรากหญ้าเริ่มรู้สึกว่าพวกเขามีสิทธิ์ พวกเขามีสิทธิ์ที่จะรู้สึกว่าพวกเขาสามารถที่จะมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีกว่าเดิมได้ มากกว่าที่จะรู้สึกว่าดีขึ้นกว่าเดิมเพียงเล็กน้อย กล่าวคือพวกเขามีทางเลือกใหม่และทักษิณมิได้ทำไปเพื่อท้าทายใคร แต่มีคนที่รู้สึกว่าถูกท้าทายจากสิ่งที่เขาทำ

เมื่อเขาชนะการเลือกตั้งเป็นครั้งแรก โดยกวาดที่นั่งในสภาได้ถึง 377 จาก 500 ที่นั่งมันเป็นสิ่งที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน และเป็นเสียงส่วนใหญ่อย่างแท้จริง ผมจะเล่าความลับให้คุณฟังภายหลังว่า มีการสนทนาส่วนตัว ซึ่งผมไม่สามารถเปิดเผยได้ในคืนนี้ แสดงให้เห็นว่ามีบรรยากาศการข่มขู่คุกคามภายหลังจากที่ทราบผลการเลือกตั้ง ว่าทักษิณกวาดที่นั่งในสภาได้ถึง 377 จาก 500 ที่นั่ง กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือทักษิณไม่ได้รับความไว้วางใจ เพราะทักษิณละเมิดกฎของการพึ่งพาอาศัย ท่านเริ่มเป็นนายกรัฐมนตรีที่ไม่ต้องพึ่งพาคนอื่น และนั่นคือบาปในระบบอุปถัมภ์ ทักษิณทำถูกหรือผิด ขึ้นอยู่กับประวัติศาสตร์จะเป็นผู้ตัดสิน คุณสามารถลากเขาขึ้นศาลได้ ไม่สำคัญ แต่สิ่งที่สำคัญคือสิ่งที่ท่านทิ้งไว้ให้กับประเทศไทย เป็นสิ่งที่ประชาชนไม่เคยรู้สึกมาก่อน

ท่านเกือบไม่ได้ทำอะไรให้คนกรุงเทพฯเลย เพราะท่านรู้สึกว่าคนกรุงเทพฯไม่ได้ต้องการท่านมากนัก ถ้าคุณถามคนกรุงเทพฯว่าทักษิณทำอะไรให้พวกเขาบ้าง คงต้องใช้เวลาสัก 2 สัปดาห์กว่าพวกเขาจะนึกออก แต่ถ้าคุณถามประชาชนระดับรากหญ้า พวกเขาสามารถบอกได้ทันที 10 อย่างที่พวกเขารู้สึกว่าได้จากระบบใหม่ของทักษิณ ถ้าถามว่าทักษิณให้ความอุปถัมภ์พวกเขาหรือไม่ ก็อาจเป็นได้ แต่ท่านมิได้หมายความว่าจะต้องทำด้วยวิธีนั้น และผมสามารถบอกคุณได้จากการสังเกตของผมเองว่า ท่านมีความคิดเกี่ยวกับนโยบายเหล่านี้ได้อย่างไร คุณทราบไหมว่าท่านได้วางแผนไว้ว่าในช่วง 2 ปีสุดท้ายของสมัยที่ 2 ที่ท่านเป็นนายกฯ ท่านจะอยู่ในเมืองไทยเพียง 1 ใน 3 ของเวลาทั้งหมด ท่านจะใช้เวลา 2 ใน 3 ของ 2 ปีสุดท้ายเดินทางไปทั่วโลก ท่านกล่าวว่า ท่านจะสวมบทบาทเป็น “พนักงานขาย” ของประเทศไทยในช่วง 2 ปีสุดท้าย แต่ท่านก็สูญเสียโอกาสนั้นไป ท่านถูกยึดอำนาจขณะที่กำลังรอที่จะกล่าวปราศรัยในที่ประชุมสหประชาชาติ หลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 เราวางแผนที่จะจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่น แต่โทรศัพท์จากกรุงเทพฯได้เปลี่ยนแผนทั้งหมด ผมคิดว่าเราพลาดเราควรทำตามแผน...เราควรทำให้คณะปฏิรูปรัฐบาลสุรยุทธ์ และพรรคพวกของเขากลายเป็นพวกนอกกฎหมาย เช่นเดียวกับเฮงสัมริน กับรัฐบาลฮุนเซนเมื่อหลายปีก่อน  เราควรทำเช่นนั้น แต่โทรศัพท์จากกรุงเทพฯทำให้ทุกอย่างเปลี่ยนไป เราจะทำอะไรได้ ผมเป็นเพียงคนตัวเล็กๆในคณะผู้ติดตาม ตอนนั้นผมเป็นผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ผมควรจะยืนกรานในเรื่องรัฐบาลพลัดถิ่น และถ้าจะเกิดการเผชิญหน้าการปะทะกัน ก็ปล่อยให้เกิดไป

เรากำลังพูดในแง่มุมของประวัติศาสตร์ว่า แม้แต่นายกรัฐมนตรีซึ่งได้รับเลือกตั้งมาจากประชาชน สิ่งที่ท่านทำเป็นการปลดปล่อยประชาชนจากระบบอุปถัมภ์ แต่เมื่อมีการตัดสินใจครั้งสำคัญ ท่านก็ตัดสินใจออกจากระบบอุปถัมภ์ ระบบอุปถัมภ์หยั่งรากลึกและขัดแย้งโดยตรงกับการทำให้เป็นประชาธิปไตย เราต้องทำการเปลี่ยนแปลง เราต้องถามว่า ใครกันที่คอยให้ความอุปถัมภ์ประชาชนและผมเชื่อว่า ถึงเวลาแล้วที่จะทำเช่นนั้น เมื่อคุณเข้าคุกมาแล้วครั้งหนึ่งก็ไม่เป็นไร เราเข้าคุกอีกได้ เพื่อให้วัตถุประสงค์ของเราเป็นจริง ไม่เป็นไรเลย

ผมกำลังรอพิจารณาคดีที่สอง ที่ผมถูกกล่าวหาคดีการลอบดักฟังโทรศัพท์ในวันที่ 22 มิถุนายน ระหว่างการประท้วงที่สนามหลวง ผมได้เปิดเผยเทปการสนทนาทางโทรศัพท์ของบุคคล 3 คน สองคนอยู่ในวงการยุติธรรม คนหนึ่งอยู่ศาลฎีกา อีกคนหนึ่งอยู่ศาลอุทธรณ์ อีกคนหนึ่งว่ากันว่า มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดแบบรักร่วมเพศกับผู้มีอำนาจ และพวกเขากำลังพูดกันถึงวิธีที่จะนำพระราชดำรัสของพระเจ้าอยู่หัวมาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการจัดการกับรัฐบาลทักษิณ และจัดการกับคณะกรรมการการเลือกตั้ง ซึ่งพวกเขาเชื่อว่าเข้าข้างทักษิณ เรื่องราวที่เหลือ คุณก็ติดตามได้จากรายละเอียดในหนังสือพิมพ์ไทย อาจกล่าวได้ว่าพวกเขาถูกบังคับให้เผชิญกับความจริงเกี่ยวกับวิธีการทำงานของระบบอุปถัมภ์ ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของระบบอมาตยาธิปไตย วิธีการที่พวกเขาช่วยเหลือเกื้อกูลกันและใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัวในการเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆ วิธีการที่พวกเขาดูถูกประชาชนโดยไม่สนับสนุนเสียงส่วนใหญ่ของประชาชน วิธีการที่พวกเขาคิดว่าประชาธิปไตยต้องถูกชี้นำ ดังนั้นเทปการสนทนานี้จะเป็นคดีใหญ่จากนี้ต่อไป ตำรวจกล่าวหาว่าผมกับเพื่อนของผมลอบดักฟังโทรศัพท์โดยผิดกฎหมาย แต่มันไม่ใช่ประเด็น มันเป็นความตั้งใจของบุคคลที่สามในการสนทนานั้น ที่จะอัดเทปเอาไว้และเขาก็จะแสดงตัวในไม่ช้านี้ ตอนนั้นเขาเป็นปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ดังนั้นคดีนี้จะถูกพิจารณาในศาล ความตั้งใจของผม ไม่ใช่การพิสูจน์ว่าผมดักฟังเทปหรือไม่ แต่ผมต้องการเอาคุณเปรม-พลเอกเปรม-และผู้พิพากษา 2 คนขึ้นศาล นั่นคือความตั้งใจของผม และเมื่อนั้นผมก็จะเผชิญหน้าคุณเปรมในศาล และถามท่านว่า ทำไมผู้นำที่ยิ่งใหญ่อย่างท่านจึงมีความสงสัยในประชาธิปไตยเช่นนี้ ท่านเคยเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ แต่ท่านเปลี่ยนไป ผู้ที่เคยเป็นผู้นำที่ประเทศไทยจะขาดเสียไม่ได้ กลายเป็นผู้นำที่อยู่ผิดเวลา คุณเปรมเป็นสัญลักษณ์ของอะไรหลายอย่าง เราได้เรียนรู้จากคุณเปรมว่า คนดีคนหนึ่งเมื่อแก่ตัวลง ซึ่งไม่เกี่ยวกับอายุ แต่เกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิด ที่ไม่กล้าได้กล้าเสียอีกต่อไป ความรู้สึกที่อยากถอยเวลากลับไปหาเวลาในอดีตที่เขารู้สึกพอใจ แต่คนแก่คนนี้ไม่เหมาะที่จะมีอิทธิพลต่อประเทศไทยอีกต่อไป

ผมขอโทษ ผมมีเวลามากจนผมอยากจะบอกว่า ไม่ว่าผมจะอยู่ในคุกหรือนอกคุก ผมพบว่าประชาธิปไตยกับระบบอุปถัมภ์เป็นสิ่งที่ขัดแย้งกันโดยตรง และการเลือกตั้งที่กำลังจะมีขึ้นในวันที่23 ธันวาคมนั้น ไม่สามารถแก้ปัญหาอะไรได้ สถานการณ์หลังการเลือกตั้งจะเลวร้ายลง เพราะเล่ห์เหลี่ยมทั้งหลายจะถูกนำมาใช้จนหมด แล้วจุดประสงค์ที่แท้จริงก็จะถูกเปิดเผยออกมาว่า ทำไมคุณถึงไม่ยอมให้มีประชาธิปไตยในประเทศนี้ ถ้าคุณไปที่สนามหลวงคุณจะมีความรู้สึกเหมือนผมว่า ประชาชนคนไทยไม่ใช่เด็กอีกต่อไป พวกเขาเป็นผู้ใหญ่ที่ถูกบังคับให้ใส่เสื้อผ้าของเด็ก พวกเขารู้สึกหงุดหงิดอึดอัดทั้งใจและกาย และพยายามดิ้นรนที่จะปลดปล่อยตัวเองผมไม่ทราบว่าพวกเขาจะทำได้อย่างไร แต่พวกเขาจะต้องทำได้

ผมขอจบตรงนี้ผมหวังว่าความคิดเห็นของผมจะทำให้เกิดคำถามและการอภิปรายต่อจากนี้ ผมอยากได้ยินความคิดเห็นและคำถามของท่าน ผมอยากทราบว่าท่านมองประเทศไทยอย่างไรเพราะพวกท่านหลายคนก็อยู่ในเมืองไทยมานาน แล้วพวกท่านบางคนก็รักเมืองไทยมากซึ่งผมก็ไม่อยากทำลายความรู้สึกของท่าน ผมจึงอยากทราบว่าท่านรู้สึกอย่างไร ขอบคุณครับ

ถาม

ในตอนหนึ่งคุณพูดว่าประเทศไทยต้องการผู้นำที่จะมาปรับเปลี่ยนสถาบันต่างๆในปัจจุบัน คุณกล่าวว่าระบบอุปถัมภ์เป็นสิ่งที่ไม่อาจรับได้ อย่างไรก็ตามดูเหมือนว่าคุณจะคิดว่าประเทศไทยจะได้รับการแก้ไขและคลี่คลายได้หากมีผู้นำที่มีอำนาจ ซึ่งคุณกล่าวถึงคุณทักษิณซึ่งคุณเคยทำงานให้ ผมสงสัยว่าภายใต้ทักษิณ ชินวัตร ก็เป็นระบบอุปถัมภ์เช่นกันมิใช่หรือ ทักษิณก็อาศัยระบบอุปถัมภ์ในการเอาประชาชนมาเป็นพวกเช่นเดียวกัน มิใช่หรือ
 
ตอบ
 
ผู้นำที่ผมพูดถึงอาจไม่ใช่คุณทักษิณที่จริงผมควรใช้คำว่า “ภาวะการเป็นผู้นำ” มากกว่า “ผู้นำ” ผมต้องการพูดว่า ระบบอุปถัมภ์ได้เปลี่ยนแปลงและจัดระเบียบสิ่งต่างๆ ให้ถูกต้อง แต่เมื่อประชาชนเริ่มปฏิเสธระบบอุปถัมภ์ พวกเขาต้องการภาวการณ์เป็นผู้นำ ที่แตกต่างจากเดิม เพื่อช่วยให้พวกเขาทำสิ่งต่างๆจนสำเร็จ ผมก็ไม่ทราบเช่นกันว่า การเป็นผู้นำแบบใหม่จะมีลักษณะเช่นใด แต่ถ้าคุณถามผม ถ้าผมต้องให้ความเห็น ผมก็อยากจะบอกว่า การเป็นผู้นำแบบใหม่จะต้องสามารถลดความไม่เท่าเทียมกันของสิทธิที่ประชาชนในเมืองใหญ่และในส่วนอื่นของประเทศถูกเอาเปรียบลงได้ กล่าวคือนโยบายที่ทำเพื่อผลประโยชน์ของประชาชน จะต้องเป็นปัจจัยหลักที่จะทำให้ประชาชนเชื่อว่าพวกเขามีสิทธิ์มีเสียง คุณทักษิณซึ่งตอนนี้ก็อายุใกล้ 60 แล้วและมีความสุขดี ยิ่งตอนนี้มีความสุขมากขึ้นกับทีมฟุตบอล Manchester City ผมจึงไม่แน่ใจว่าคุณทักษิณจะอยากสวมบทบาทนี้ ท่านสนุกกับการเป็นนักการเมืองที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย แต่ท่านบอกว่าถ้าเจ้าของเขาไม่ชอบสิ่งที่ท่านทำ ผู้จัดการมืออาชีพอย่างท่านก็สามารถไปทำงานให้บริษัทอื่นได้ ทัศนคติเดิมๆนี้ไม่ค่อยจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอะไรมากนัก ดังนั้นการเป็นผู้นำแบบใหม่ที่ผมพูดถึงนั้น ควรจะต้องเป็นผู้บุกเบิกที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง

ถาม
 
คุณพูดถึงความจำเป็นในการมีผู้นำจะไม่เป็นการดีที่สุดหรือ ถ้าประเทศไทยมีผู้นำประเทศที่ค่อนข้างอ่อน แต่มีการเมืองระดับท้องถิ่นที่ไม่หยุดนิ่งและทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง นอกจากนั้นการที่คุณรอให้มีผู้นำที่จะมาให้ความช่วยเหลือ ก็เท่ากับว่าคุณกำลังคิดถึงสิ่งเดียวกับ “การอุปถัมภ์” ที่กำลังเป็นอยู่ในปัจจุบัน

ตอบ

ไม่ครับ ผมไม่ได้กำลังรออัศวินม้าขาวมาช่วยพวกเรา ผมกำลังบอกว่าขณะนี้เป็นสภาวะของการไม่มีอัศวินม้าขาว ผมกำลังพูดในสิ่งที่ตรงกันข้าม ขณะนี้เป็นสภาวะของการไม่มีอัศวินม้าขาว และสถานการณ์ปัจจุบันก็จะไม่จบเหมือนเหตุการณ์เมื่อเดือนพฤษภาคม 2535 ไม่มีใครที่จะทำให้มันจบลงได้ เพราะทุกคนมีส่วนร่วมทั้งนั้น คุณเห็นไหมว่าไม่มีกรรมการตัดสิน ดังนั้นอะไรจะเกิดขึ้นต่อจากนี้ไปเป็นสิ่งที่ไม่มีใครรู้ แต่ผมเดาว่าต้องอาศัยมือหนักๆ ของคนบางคน ตัวอย่างเช่น พลเอกสพรั่ง, พลตำรวจเอกเสรีพิสุทธิ์ แล้วคุณก็จะเห็น ที่จริงพวกเขาควรจะแต่งตั้งบุคคลที่เป็นเผด็จการมากที่สุดให้ดำรงตำแหน่งที่ต้องทำให้เป็นประชาธิปไตย แล้วเราก็อาจจะได้เห็นอะไรบางอย่างเกิดขึ้น เมื่อเกิดการปฏิวัติ มักจะไม่มีใครรู้จักผู้นำ ดังนั้นผมจึงไม่ทราบว่าใครจะมาเป็นผู้นำ

ถาม

คุณจักรภพ คุณพูดถึงความพยายามของคุณทักษิณที่จะจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่น คุณช่วยเล่าให้พวกเราฟังได้ไหมว่า คุณทักษิณกำลังวางแผนที่จะทำอะไรตอนที่มีโทรศัพท์จากเมืองไทยขอไม่ให้เขาเคลื่อนไหว

ตอบ

ผมเข้าคุกมาครั้งหนึ่งแล้ว และผมจะพยายามที่จะไม่ทำให้ตัวเองต้องทำเช่นนั้นอีก สิ่งที่ผมจะพูดได้ในที่นี้คือ ท่านไม่ได้เป็นคนต้นคิดเรื่องรัฐบาลพลัดถิ่น พวกเราบางคนต้องการทำเช่นนั้น และเราได้ทาบทามบางประเทศ ซึ่งผมไม่อยากเอ่ยชื่อ แต่ไม่ต่ำกว่า 10 ประเทศในคืนนั้น ถามว่าพวกเขาจะรับรองรัฐบาลพลัดถิ่นของเราหรือไม่ และพวกเขาบอกว่าจะรับรอง ถ้าท่านเดินหน้าต่อไปเรื่องรัฐบาลพลัดถิ่น ผมคิดว่าท่านจะทำสำเร็จ แต่นั่นคือประโยคที่มีคำว่า “ถ้า” ใครเป็นคนโทรศัพท์ไปผมขอโทษผมเปิดเผยในที่นี้ไม่ได้แต่เรา...

ถาม

ชื่อขึ้นต้นด้วยตัว “ป” หรือเปล่า

ตอบ

(หัวเราะ) ที่จริงมันก็เป็นแบบนั้นแหละ โทรศัพท์ครั้งนั้นทำให้ท่านเปลี่ยนความคิดในตอนนั้นซึ่งเป็นเวลาก่อนที่ท่านจะออกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทางสถานีโทรทัศน์ อสมท.ช่อง 9 เวลาประมาณ 21.20 นาฬิกา ก่อนนั้นไม่นาน ผมอยู่ในกรุงเทพฯเพราะเราก็ระแคะระคายว่า อาจเกิดเหตุการณ์บางอย่าง แต่อย่างไรก็ตาม ท่านก็ต้องเดินทางไป ต่อจากนั้นท่านบินจากนิวยอร์กมาลอนดอน ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากกว่าที่จะจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นที่ลอนดอนถ้าเทียบกับสหประชาชาติ ดังนั้นผมจึงทราบว่าท่านล้มเลิกความคิดนั้น แต่มันไม่ได้มีที่มาจากท่าน

ถาม (ปีเตอร์)

คุณจักรภพ ผมจำไม่ได้ว่าคุณใช้คำว่าอะไร คุณพูดคล้ายๆคำว่า “ละเมอเดิน” ตอนที่บรรยายถึงพัฒนาการของคุณทักษิณ ในฐานะที่เป็นวีรบุรุษแห่งประชาธิปไตย คุณช่วยขยายความให้ละเอียดขึ้นได้ไหม คุณคิดว่าคุณทักษิณมีความสนใจที่จะส่งเสริมประชาธิปไตยในประเทศไทยจริงหรือ มิใช่ว่าเขาเพียงแต่ผูกขาดระบบอุปถัมภ์เท่านั้นหรือ และถ้าเขาละเมอเดินในบทบาทของวีรบุรุษประชาธิปไตยอย่างที่คุณกำลังบรรยายอยู่นี่ เขาเป็นนักประชาธิปไตยจริงหรือเปล่า เขาเป็นนักการเมืองประชาธิปไตยที่แท้จริงหรือเปล่า ไม่ใช่ว่าเขาเป็นวีรบุรุษโดยบังเอิญ ซึ่งเราคิดว่าคุณกำลังพยายามโฆษณาอยู่หรือ

ตอบ

ท่านเป็นผลิตผลผลิตผลของระบบอุปถัมภ์และระบบเผด็จการผู้ซึ่งพยายามที่จะเป็นประชาธิปไตยให้มากกว่าที่ท่านอาจเคยเป็น ท่านต่อสู้ตลอดเวลาระหว่างการเป็นนักธุรกิจแบบเสรีนิยมและการเป็นนายตำรวจ เป็นความขัดแย้งภายในตัวของท่านซึ่งคุณควรคุยกับ....ไม่ใช่ผม แต่ประเด็นก็คือท่านดีพอที่ผมจะทำงานด้วย เพราะผมต้องการคนบางคน เราต้องการคนที่จะนำทางเราไปสู่แสงสว่างที่ปลายอุโมงค์ ถ้าประเทศไทยยังถลำลึกอยู่ในระบบอุปถัมภ์ตามที่พวกคนเก่าๆ ทำให้เป็นเช่นนั้น ก็ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องมีการศึกษา ทำไมเราจะต้องมีโรงเรียน หานายสักสอง-สามคนแล้วคุณก็จะสบาย เพราะอย่างไรก็ตาม คุณก็จะไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้การศึกษาและความรู้ของคุณถ้าคุณต้องการ มีประเทศที่เต็มไปด้วยประชาชนที่มีพลังและประชาชนที่ต้องการเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆคุณต้องจัดหาเวลาที่เท่าเทียมกันให้พวกเขา –ผมหมายความว่าพวกคุณ-เพื่อให้สามารถแสดงความคิดเห็นและความต้องการของตัวเองออกมาได้ในสังคมนั้น

เพื่อที่จะตอบคำถามของปีเตอร์  ผมเชื่อว่าคุณทักษิณพยายามที่จะเป็นประชาธิปไตย คนรุ่นเดียวกับท่านแทบจะไม่เป็นประชาธิปไตยแม้แต่นักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยก็กลายเป็นเผด็จการ เมื่อคุณทำงานใกล้ชิดกับพวกเขา นักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยบางคนในประเทศไทยทุบตีภรรยา ซึ่งแย่มากประชาธิปไตยแบบไหนกัน ดังนั้นมันคือการต่อสู้ระหว่างประชาธิปไตยและเผด็จการ ซึ่งคุณทักษิณและคนรุ่นเดียวกับท่าน ต้องทำ ผมไม่กล้าที่จะพูดว่าท่านเป็นอะไร แต่ผมกำลังบอกว่า เมื่อผมพูดว่าท่านละเมอเดินไปสู่การเปลี่ยนแปลงนโยบาย ผมหมายความว่า ท่านมิได้ตั้งใจที่จะรวบอำนาจจากระบบอุปถัมภ์เก่า ท่านไม่ทราบว่าสงครามกำลังดำเนินอยู่ ท่านไม่ทราบว่าคนบางคนเป็นเจ้าของประชาชนที่ยากจน ท่านจึงโพล่งคำบางคำออกมา โดยที่ไม่ทราบว่า จะทำให้คนที่ได้ยินเจ็บใจแค่ไหน ท่านเคยพูดไว้ครั้งหนึ่งก่อนที่ผมจะมาทำหน้าที่โฆษกว่า “ผมเบื่อพวกนายหน้าคนจน” พวกที่ชอบพูดถึงคนจนและความยากจนตลอดเวลา แต่ไม่เคยทำอะไรซักอย่าง คุณรู้ไหมว่าคุณไม่สามารถให้จิตใจคนแทนที่จะให้ชีวิตที่ดีกว่าได้ คุณไม่สามารถให้โครงการที่ต้องการผลลัพธ์ นั่นคือวิธีที่ท่านคิด ซึ่งเป็นเหตุให้ผมคิดว่า บางครั้งละเมอเดินในแง่ที่ว่า ท่านไม่ทราบว่าจะเกิดผลกระทบจากสิ่งที่ท่านทำ แต่ต่อมาท่านก็ตระหนักว่าสิ่งที่ท่านทำ ทำให้เกิดผลกระทบ ดังนั้นสิ่งที่เรากำลังพูดถึงที่จริงก็คือความเป็นผู้นำร่วมกัน ทักษิณไม่ใช่เผด็จการผมทำงานกับท่านมาและผมจะเป็นคนแรกที่ก้าวออกห่างจากท่าน ถ้าท่านเป็นเผด็จการ แต่ท่านเป็นเพียงคนๆหนึ่งที่มุ่งมั่นอยู่กับ.....และพยายามที่จะทำงานให้สำเร็จ ไม่เคยมีผู้นำของไทยคนไหนที่เป็นแบบนี้ ดังนั้นมันจึงเป็นเผด็จการในความคิดของประชาชน เพราะคุณมุ่งมั่นอยู่กับ.........คุณยืนกรานว่าจะต้องทำให้ได้ภายใต้การเป็นผู้นำของคุณ ซึ่งก็ถูกคนบางคนตีความว่าเป็นเผด็จการ แต่ถ้าคุณได้พบท่าน ได้ใช้เวลาอยู่กับท่าน คุณจะทราบว่า ท่านไม่ใช่ ท่านไม่มีเมล็ดพันธุ์นั้นอยู่ในตัวของท่าน ผมไม่ได้บอกว่าท่านเป็นซุปเปอร์แมน  แต่ท่านดีกว่าผู้นำแก่ๆ ที่มีคนบอกให้ผมเคารพ ผมอยากที่จะทำงานภายใต้สามัญชนที่ดีเพียงครึ่งเดียว มากกว่าที่จะทำงานให้กับผู้สูงศักดิ์ที่โง่
 
ถาม (ไซมอน)

คุณจักรภพคุณจะลงสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึงในวันที่ 23ธันวาคมหรือเปล่า ถ้าลงจะเข้าร่วมกับพรรคใดและคุณบอกได้ไหมว่า พรรคนั้นเป็นตัวแทนของอะไร หรือจะทำอะไรให้ประเทศไทย ถ้าคุณตัดสินใจว่าคุณจะไม่ลงสมัครรับเลือกตั้งครั้งนี้เนื่องจากคุณรณรงค์ต่อต้านรัฐธรรมนูญ คุณจะทำอะไรในลักษณะอื่นเพื่อแสดงจุดยืนทางการเมืองของคุณ

ตอบ

ขอบคุณไซมอนเราได้ 377 ที่นั่งในสภา แล้วเราก็ถูกยึดอำนาจ ดังนั้นการชนะการเลือกตั้งอาจไม่ใช่ประเด็นหลัก ดังนั้นพวกเราทุกคน พวกเราบางคน ซึ่งกำลังต่อสู้อยู่ที่สนามหลวงกำลังพิจารณากันว่า เราควรลงสมัครรับเลือกตั้งหรือไม่ ถ้าเราลงสมัครรับเลือกตั้ง ก็หมายความว่าเราต้องมีเวทีใหม่ที่จะแสดง การรณรงค์หาเสียงสำหรับเราก็จะเป็นเวทีสนามหลวงอีกเวทีหนึ่ง แต่ถ้าเราไม่ลงสมัครรับเลือกตั้ง ก็หมายความว่า เราจะหาอะไรทำนอกกระบวนการเลือกตั้ง เพื่อปกป้องระบบของมันให้ดีที่สุดเท่าที่เราจะสามารถทำได้ เราไม่ได้ยกย่องตัวเองว่าเป็นผู้พิทักษ์อะไร แต่เราจะพยายาม พรรคที่เราจะสังกัดก็ไทยรักไทยอะไรก็ได้ อาจเป็นไทยรักจีนผมจะสังกัดพรรคนั้นแหละ

ถาม (ปีเตอร์)

ผมแบ่งคำถามสำหรับคุณทั้งสองคนจากที่เราอ่านพบ พรรคพลังประชาชนมีสส.เก่าของพรรคไทยรักไทยจำนวนมากและผมเดาว่าก็จะลงสมัครรับเลือกตั้งด้วย ผมมี 2 คำถาม 1.คุณคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้นเพื่อที่จะสกัดไม่ให้พรรคพลังประชาชนชนะการเลือกตั้งและ 2.คุณทั้งสองคิดอย่างไรกับการที่พรรคที่มีสมัครเป็นหัวหน้าพรรคอาจได้เป็นรัฐบาล

ตอบ

ผมอยากให้แน่ใจว่าฟังคำถามของคุณถูกต้อง คำถามแรกอะไรจะมาขัดขวางไม่ให้พรรคพลังประชาชนชนะการเลือกตั้ง

ถาม

อะไรจะมาขัดขวางจะมีการทำอะไรที่จะสกัดไม่ให้ชนะ

ตอบ       

เล่ห์เหลี่ยมของอีกฝ่ายหนึ่ง.....

ถาม

ใช่และคำถามที่ 2 คุณทั้งสองคิดอย่างไรกับพรรครัฐบาลภายใต้การนำของสมัครเขาเป็นคนอย่างไร

ตอบ

สำหรับคำถามแรกพวกเขาพยายามอย่างมากที่จะจัดสรรงบประมาณลงในภาคอีสาน พวกเขามีคนอย่างอดีตสส.พรรคไทยรักไทยนายวิวัฒนไชย ณ กาฬสินธุ์ ซึ่งออกมาประกาศว่า เขาจะตั้งกลุ่มอีสานและพยายามที่จะยึดคะแนนเสียงให้ได้มากที่สุดจากพรรคพลังประชาชนหรือพรรคไทยรักไทยเดิม เล่ห์เหลี่ยมแบบนี้–ผมไม่รู้สิ–อาจมีอีกมาก แต่ผมคิดว่าเล่ห์เหลี่ยมสำคัญคือการประณามทักษิณว่าเป็นคนสารเลว พวกเขาจะยังคงทำต่อไป และอะไรก็ตามที่ผมคิดว่าครอบคลุมเรื่องนี้

สำหรับคำถามที่ 2 สมัครมาจาก…จาก—ถ้าคุณใช้วิธีการคิดแบบตะวันตก คุณจะตราหน้าว่าสมัครเป็นพวกขวาจัด แต่ถ้าคุณดูท่านให้ดีและติดตามเรื่องราวของท่าน คุณจะพบว่าท่านอยู่ในระบบอุปถัมภ์อย่างชัดเจน ผมหมายความว่าท่านเป็นอนุรักษ์นิยมสุดกู่ ซึ่งยอมที่จะสละตำแหน่งง่ายๆ ถ้าถูกขอร้อง นั่นคือคุณสมัคร แต่แล้วท่านก็ตัดสินใจที่จะปกป้องทักษิณเมื่อท่านอายุ 70 ต้นๆ ท่านอายุ 70 กว่าแล้วนะ ทราบไหม ท่านไม่ใช่นักการเมืองหนุ่มแล้ว แต่ท่านก็ตัดสินใจกระโดดเข้ามาปกป้องทักษิณในครั้งนี้

 
บันทึกการเข้า
jrr.
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 670


« ตอบ #7 เมื่อ: 18-05-2008, 11:52 »

และถ้าท่านพิจารณาผลการลงประชามติเมื่อวันที่ 19 สิงหาคมอย่างจริงจัง ท่านจะเห็นว่าเป็นการเผชิญหน้ากันระหว่างประชาชนจำนวน 56% และ 41% ของประชากรทั้งหมด ไม่เคยปรากฏมาก่อนที่ประชาชนจำนวนมากออกมาบอกว่า “เราไม่ต้องการการอุปถัมภ์ของท่านอีกต่อไป” เราต้องการประชาธิปไตย มิใช่คนที่มาตบหลังเรา ไม่ใช่คนที่บอกเราว่า “เราจะทำให้ชีวิตคุณดีขึ้นเล็กน้อย แต่คุณต้องสำนึกในบุญคุณของเรา”

.........................................................................................................................................

อีหมอนี่มันช่างเหมามั่วอบ่างหน้าด้านๆ....ไม่กระดากปากเลย

คนเขาลงประชามติ ก็แค่เรื่องเอาหรือไม่เอารัฐธรรมนูญฉบับใหม่
ไม่ได้พิจารณาไปถึงต้องการหรือไม่ต้องการระบบอุปถัมภ์บ้าบออะไรของมันเลย...มันเอามาเหมารวมได้ยังไง

เดี๋ยวมันแปลฉบับของมันเสร็จ....คงได้เห็นข้อความบิดเบือนเพิ่มขี้นมามัดคออีกเยอะ

ช่างจ้อนัก....ลำพังพูดไทยเฉยๆ ก็แทบจะแปลไม่ออกอยู่แล้ว !!!
บันทึกการเข้า
morning star
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,119


don't let them make up your mind


« ตอบ #8 เมื่อ: 18-05-2008, 22:23 »


คนเราชอบหลอกตัวเองถึงสิ่งที่เราคิดจริง ๆ และ เชื่อจริง ๆ แต่กลับพูดและกระทำไปอีกแบบ เนื่องด้วยกฏเกณฑ์ทางสังคมและกระแสที่มีอยู่

และก็ยังมีอีกหลายคนที่หลอกตัวเองได้ยิ่งกว่า เพราะไม่อาจปฏิเสธผลประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ ที่ได้รับ...หาเหตุผลได้สารพัดมาหลอกลวงตัวเองว่าสิ่งที่ทำไปนั้นมันถูกต้อง




คนทั้งสองแบบนอกจากหลอกตัวเองแล้ว ยังสามารถถูกคนอื่นหลอกได้อีก...
บันทึกการเข้า

อย่าเดินตามใคร เพราะเรามีจุดมุ่งหมายของเราเอง
พบกันครึ่งทาง
สมาชิกสามัญขั้นที่ 3
****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 156


« ตอบ #9 เมื่อ: 18-05-2008, 23:49 »

เรารักพระเจ้าอยู่หัว  สิ่งที่คุณจักรภพพูดเป็นการบรรยายเชิงวิชาการ ดูหัวข้อบรรยาย “ประชาธิปไตยกับระบบอุปถัมภ์ของไทย”
จะให้เขาพูดอะไร? ก็ร่ายมาตั้งแต่การปกครองสมัยกรุงสุโขทัยจนถึงปัจจุปัน บางส่วนเนื้อหาก็คล้ายตำราสังคมศึกษาสมัยเด็กๆ
ที่บอกเราว่าการปกครองระบอบประชาธิปไตยคืออะไร    สมบูรณาญาสิทธิราชคืออะไร

ระบบอุปถัมถ์ที่เดือดร้อนคิดดูเถอะว่าเป็นกลุ่มไหน กลุ่มขุนนางอำมาตย์ที่แอบอิงอำนาจหาผลประโยชน์ให้ตัวเอง กลุ่มทุนเก่าที่ปรับตัวกับทุนนิยมใหม่ไม่ได้
กลุ่มนักการเมืองที่แอบแฝงในระบอบประชาธิปไตยแต่แอบอิงและรับใช้กลุ่มศักดินาอำมาตย์ที่อยู่ในระบบอุปถัมถ์มาโดยตลอด  คนเหล่านี้ต่างหากที่ได้ผลกระทบ

เพราะด้วยสถานะอันสูงส่งเป็นที่เคารพเทิดทูนและอยู่เหนือการเมืองของพระมหากษัตริย์ไม่ได้ขัดแย้งกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย
 
บันทึกการเข้า
jerasak
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,432



« ตอบ #10 เมื่อ: 19-05-2008, 12:59 »

เรารักพระเจ้าอยู่หัว  สิ่งที่คุณจักรภพพูดเป็นการบรรยายเชิงวิชาการ ดูหัวข้อบรรยาย “ประชาธิปไตยกับระบบอุปถัมภ์ของไทย”
จะให้เขาพูดอะไร? ก็ร่ายมาตั้งแต่การปกครองสมัยกรุงสุโขทัยจนถึงปัจจุปัน บางส่วนเนื้อหาก็คล้ายตำราสังคมศึกษาสมัยเด็กๆ
ที่บอกเราว่าการปกครองระบอบประชาธิปไตยคืออะไร    สมบูรณาญาสิทธิราชคืออะไร

ระบบอุปถัมถ์ที่เดือดร้อนคิดดูเถอะว่าเป็นกลุ่มไหน กลุ่มขุนนางอำมาตย์ที่แอบอิงอำนาจหาผลประโยชน์ให้ตัวเอง กลุ่มทุนเก่าที่ปรับตัวกับทุนนิยมใหม่ไม่ได้
กลุ่มนักการเมืองที่แอบแฝงในระบอบประชาธิปไตยแต่แอบอิงและรับใช้กลุ่มศักดินาอำมาตย์ที่อยู่ในระบบอุปถัมถ์มาโดยตลอด  คนเหล่านี้ต่างหากที่ได้ผลกระทบ

เพราะด้วยสถานะอันสูงส่งเป็นที่เคารพเทิดทูนและอยู่เหนือการเมืองของพระมหากษัตริย์ไม่ได้ขัดแย้งกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย
 

ถ้าดูเฉพาะคลิปภาษาอังกฤษ คุณพบกันครึ่งทาง อาจจะบอกว่าเป็นการบรรยายเชิงวิชาการได้
แต่ถ้าดูที่พูดไว้เป็นภาษาไทยแบบไม่ต้องแปล ในเดือน พย.50 หลังคลิปภาษาอังกฤษเล็กน้อย
คุณพบกันครึ่งทาง ยังจะบอกว่าเป็นการบรรยายเชิงวิชาการอีกไหม

==คลิปเสียงจักรภพพูดจาบจ้วง พล.อ.เปรม ที่อเมริกาด้วยภาษาไทย==
http://forum.serithai.net/index.php?topic=25995.0
ตอนนี้เขาเลิกสนใจคลิปภาษาอังกฤษกันแล้วครับ มีภาษาไทยไม่ต้องแปล 
บันทึกการเข้า

= A dreamer lives for eternity.=
== นัฝัมีชีวิพื่นิรัร์าล ==
qazwsx
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,359


นักธุรกิจและตำรวจ ต้องออกไปจากการเมือง


« ตอบ #11 เมื่อ: 19-05-2008, 13:18 »

คนเราชอบหลอกตัวเองถึงสิ่งที่เราคิดจริง ๆ และ เชื่อจริง ๆ แต่กลับพูดและกระทำไปอีกแบบ เนื่องด้วยกฏเกณฑ์ทางสังคมและกระแสที่มีอยู่

และก็ยังมีอีกหลายคนที่หลอกตัวเองได้ยิ่งกว่า เพราะไม่อาจปฏิเสธผลประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ ที่ได้รับ...หาเหตุผลได้สารพัดมาหลอกลวงตัวเองว่าสิ่งที่ทำไปนั้นมันถูกต้อง

คนทั้งสองแบบนอกจากหลอกตัวเองแล้ว ยังสามารถถูกคนอื่นหลอกได้อีก...


 

คุณสรุปพฤติกรรม "ประเภทนี้" ได้ดีครับ
และเป็นสิ่งที่พวกนักแซ้ง - สิบแปดมงกุฎรู้มาก่อนแล้ว
อันพิจารณาได้จากเหตุที่ว่าทำไมพวกสิบแปดมงกุฎจึงหากินได้เรื่อย ๆ
...โดยเฉพาะในสังคมไทย

ด้วยเหตุที่คนไทยชอบที่จะเชื่อและคิดอย่าง "นั้น ๆ"
เช่น  ชอบดูละครน้ำเน่า  ชอบการสุมหัวนินทา  ชอบเล่นหวย   ชอบกราบไหว้บนบาน  ฯลฯ
โดยเริ่มต้นจากข้ออ้างทำนองว่า
"ทำแล้วเป็นสุข ( ใจ ) ดีจึงทำ...ไม่เห็นหนักหัวใคร"
จนในที่สุดก็กลายเป็นคน "เชื่อง่าย - ถูก ( เกลี้ย ) กล่อมง่าย"
ด้วยเหตุเพราะ "กล่อมตัวเอง" มาตลอดนี่เอง
บันทึกการเข้า

RiDKuN
Administrator
ขาประจำขั้นที่ 3
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3,015



เว็บไซต์
« ตอบ #12 เมื่อ: 19-05-2008, 13:55 »

ดูคำถามก็รู้แล้วว่าต่างชาติเขาคิดว่าทักษิณคือระบบอุปถัมภ์ และไม่ได้เป็นนักประชาธิปไตย
ถ้าจักรภพจะยืนยันว่าประเทศไทยต้องการทักษิณ ไม่ว่าจะเลี่ยงบาลีไปว่าเป็น "ผู้นำ" หรือ "อัศวินม้าขาว"
มันก็คือระบบอุปถัมภ์วันยังค่ำ เพราะมันแสดงว่าประเทศไทยและประชาชนไทยไม่สามารถขาดการ "อุปถัมภ์" จากทักษิณได้
บันทึกการเข้า

คนไม่มี "อุดมคติ" ไม่ใช่ "นักการเมือง"
Şiłąncē Mőbiuş
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5,215



เว็บไซต์
« ตอบ #13 เมื่อ: 20-05-2008, 10:12 »

เหอๆๆ ผมถึงเขียนไว้ใน Blog ของผมไงครับ ว่าไอ้เนี่ย มันพูดเอาแต่ได้
บันทึกการเข้า



“People should not be afraid of their governments. Governments should be afraid of their people.”

. “ประชาชนไม่ควรกลัวรัฐบาลของตนเอง รัฐบาลต่างหากที่ควรกลัวประชาชน” .

. แวะไปเยี่ยมกันได้ที่ http://silance-mobius.blogspot.com/ นะครับ .
oho
ขาประจำขั้น 2
******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 712


« ตอบ #14 เมื่อ: 26-05-2008, 19:21 »

HEREเลือกHERE 

จึงได้HEREแก๊งเหลี่ยมEเพ็ญ

 
บันทึกการเข้า
boyk
ขาประจำขั้นที่ 3
*******
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,477



« ตอบ #15 เมื่อ: 27-05-2008, 03:14 »

ผมอาจจะรู้ที่มาที่ไปช้ากว่าเพื่อน แต่ก็อยากให้ทราบกันให้ทั่วถึงคับ...

ที่แท้..!!หนุ่มอังกฤษชง"ตำรวจ"ฟัน"จักรภพ"หมิ่นเบื้องสูง
http://www.oknation.net/blog/preecha/2008/05/26/entry-1
บันทึกการเข้า

ไล่งับคนโกง ตอกฝาโลงไม่ให้เกิด
samrung
ขาประจำ
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 226



« ตอบ #16 เมื่อ: 27-05-2008, 10:56 »

บอกตามตรงเลยครับว่า อ่านแล้วอยากจะร้องไห้

 
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
    กระโดดไป: