ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด (รุ่นแรก)

ทั่วไป => สภากาแฟ => ข้อความที่เริ่มโดย: room5 ที่ 08-06-2008, 22:44



หัวข้อ: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: room5 ที่ 08-06-2008, 22:44
การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?

2ปีที่แล้วแป๊ลิ้มออกมาแฉ โดนคนด่า มาวันนี้เป็นจริงตามแป๊ลิ้มพูดเป๊ๆๆๆๆๆๆๆๆ

จะอธิบายยังไงดี

 :slime_o:


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: KILL...ER ที่ 08-06-2008, 22:54
สายการบินศักดินาเนี่ยเหรอ... เหอะ เหอะ ไม่เจ๊งยังไงไหว มีแต่ลูกท่านหลานเธอเด็กเส้นขาใหญ่ เข้าไปลอยหน้าลอยตา ฝีมือความสามารถไม่มี ก็ยัดกันเข้าไป ใหญ่ๆกันทั้งนั้น สมควรแล้วที่มันเจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง

นี่แหละคือผลพวงของระบบอุปถัมป์ ที่จักรภพ เพ็ญแข เขาได้บอกเอาไว้ ว่ามันจะเกาะกินสังคมไทยไปเรื่อยๆทุกวงการ จนฉิบหายคามือคาตีนกันไปเอง

สะใจฉิบหาย


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: May The Force Be With You ที่ 08-06-2008, 23:09
ไอ้กระบือ  killer ไม่รู้เรื่องแล้วอยากแสดงความโง่กระบือจริงจริง


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: jrr. ที่ 09-06-2008, 00:24

กลยุทธในการแก้ข้อกล่าวหาของไอ้แม้วกับลิ่วล้อ.....
ตั้งแต่อดีตผุ้พิพากษายันลูกน้องระดับขี้ครอกเลอะเทะในนี้...ไม่เคยเปลี่ยนแปลง

ไม่เคยแก้ข้อกล่าวหาได้เลยว่าไม่ผิดยังไง......
มัวแต่ย้อนไปกล่าวหาคนอื่นต่อไปเรื่อยๆ...เพราะมันแก้ตัวไม่ได้
จนบางครั้งถึงกับเผลอหลุดมาว่า....โกงแค่ 30...จะมายึดคืน 70 ได้ไง.....

เป็นแบบนี้....ชาตินี้ทั้งชาติ ก็ไม่สะอาดขึ้นหรอก

..........สะใจฉิบหาย !!! ( อย่าไปพูดแบบนี้ต่อหน้าลูกพี่ล่ะ โดนตบกระโหลกแน่...ไอ้โง่ )


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: moon ที่ 09-06-2008, 01:44
คนไทยครับ ผมขอยืนยัน ทั้งประเทศด้วย

เพราะดันเลือกผู้นำผิดๆ เข้ามา มันก็เลยเลือกผู้บริหารการบินไทย

แบบผิดๆ อีก ถึงแม้บางคนจะไม่ได้กาให้มันตอนเลือกตั้งก็ตาม

เราก็ต้องรับผิดชอบร่วมกัน


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: room5 ที่ 09-06-2008, 02:14
สายการบินศักดินาเนี่ยเหรอ... เหอะ เหอะ ไม่เจ๊งยังไงไหว มีแต่ลูกท่านหลานเธอเด็กเส้นขาใหญ่ เข้าไปลอยหน้าลอยตา ฝีมือความสามารถไม่มี ก็ยัดกันเข้าไป ใหญ่ๆกันทั้งนั้น สมควรแล้วที่มันเจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง

นี่แหละคือผลพวงของระบบอุปถัมป์ ที่จักรภพ เพ็ญแข เขาได้บอกเอาไว้ ว่ามันจะเกาะกินสังคมไทยไปเรื่อยๆทุกวงการ จนฉิบหายคามือคาตีนกันไปเอง

สะใจฉิบหาย

ว้า ................ควายอีกแล้ว   
อุปถัมป์*****สิ

ไม่รู้มันโง่จริงๆหรือแกล้งโง่

หาข้อมูลแค่นี้ยังหาไม่ได้

ถุย เสียชาติเกิด


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: pilanliu ที่ 09-06-2008, 02:19
ควายเล่อร์วันนี้กินหญ้าหรือยังเอ่ย  :slime_bigsmile:

มุขเดิมๆ ตอบไม่ได้ ก็สวนขึ้นมา ถามว่าระบบอุปถัมป์ที่ทำให้การบินไทยพังอยู่ตอนนี้มีกี่คน

ที่เป็นอย่างที่นายจักรภพพูด ผมคิดว่าเป็นระบบอุปถัมป์ธรรมดามากกว่า คือ พวกข้าราชการ

อำมาตย์ ทั้งหลาย แต่ไม่ใช่ความหมายการอุปถัมป์อย่างที่นายจักรภพพูดแน่นอน

ปล. พวกไม่เอาเจ้า มันไปผสมพันธุ์กับพวกรักเหลี่ยมได้ยังไงไม่เข้าใจจริงๆ

      สงสัยเป็นอย่างที่จักรภพพูด มีัทักษิณคนเดียวที่สานต่อภารกิจที่ท่านปรีดีทำค้างไว้ได้  :slime_slapped:


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: mebeam ที่ 09-06-2008, 10:45
แปะลิ้มบอกอะไรครับ
สายนี้มันไม่ได้เกิดแบบปกติเหรอ
มันมีอะไร ที่เป็นแบบว่า ขาดทุนก็งดบริการไป
มีอะไรก็บอกกันมั่งซี ไม่รู้จริง ๆ


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: พรรณชมพู ที่ 09-06-2008, 10:58
ข้อมูลมีค่ะ ลองไปหาอ่านดู บางครั้งต้องหัดหาด้วยตัวเองบ้างค่ะ รอให้เขามาป้อนอย่างเดียว เดี๋ยวเป็นง่อย  :slime_doubt:

หลักฐานชัดเจนค่ะ นาย ทนง ลำใย คงต้องมุดหลบหน้าไปอีกพักหนึ่ง เพราะออกมาการันตีเส้นทางการบินนี้ ทั้งๆที่มีคำคัดค้านและต่อต้านแล้ว ทุกอย่างมีหลักฐาน ตั้งแต่เริ่มต้นวางเส้นทาง จัดซื้อเครื่องบิน จนถึงขาดทุน ประกาศยุติเส้นทางการบิน และประกาศขายเครื่องบิน  :slime_whistle:

การกระทำสำเร็จแล้วค่ะ  :slime_bigsmile:

ถ้าอยากจะหาข้อมูลมาโต้แย้ง ใช้สมองด้วยนะคะ  :slime_v:


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ton ที่ 09-06-2008, 11:03
แปะลิ้มบอกอะไรครับ
สายนี้มันไม่ได้เกิดแบบปกติเหรอ
มันมีอะไร ที่เป็นแบบว่า ขาดทุนก็งดบริการไป
มีอะไรก็บอกกันมั่งซี ไม่รู้จริง ๆ

http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000067149


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ริวเซย์ ที่ 09-06-2008, 11:04
ไอ้เหลี่ยมต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายของชาติที่เกิดขึ้นในกรณีนี้เพราะ

1.พวกไอ้เหลี่ยมไปซื้อเครื่องบินมาโดยงาบเปอร์เซ็นต์

2.ทั้งที่รู้ว่า สายการบินก่อนเขาทำแล้วขาดทุน เจ๊ง ต้องขายกิจการ แต่รัฐบาลสมัยนั้นไม่ยอมศึกษาข้อดีข้อเสียให้ดี รีบไปซื้อมาทำ เมื่อเจ๊งแบบนี้ก็ต้องรับผิดชอบ


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ton ที่ 09-06-2008, 11:13
สายการบินศักดินาเนี่ยเหรอ... เหอะ เหอะ ไม่เจ๊งยังไงไหว มีแต่ลูกท่านหลานเธอเด็กเส้นขาใหญ่ เข้าไปลอยหน้าลอยตา ฝีมือความสามารถไม่มี ก็ยัดกันเข้าไป ใหญ่ๆกันทั้งนั้น สมควรแล้วที่มันเจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง

นี่แหละคือผลพวงของระบบอุปถัมป์ ที่จักรภพ เพ็ญแข เขาได้บอกเอาไว้ ว่ามันจะเกาะกินสังคมไทยไปเรื่อยๆทุกวงการ จนฉิบหายคามือคาตีนกันไปเอง

สะใจฉิบหาย

สะใจฉิบหาย ไม่รู้เรื่องเลยกลายเป็นด่าพ่อตัวเอง  :slime_smile2:


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: Rule of Law ที่ 09-06-2008, 17:06
สายการบินศักดินาเนี่ยเหรอ... เหอะ เหอะ ไม่เจ๊งยังไงไหว มีแต่ลูกท่านหลานเธอเด็กเส้นขาใหญ่ เข้าไปลอยหน้าลอยตา ฝีมือความสามารถไม่มี ก็ยัดกันเข้าไป ใหญ่ๆกันทั้งนั้น สมควรแล้วที่มันเจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง

นี่แหละคือผลพวงของระบบอุปถัมป์ ที่จักรภพ เพ็ญแข เขาได้บอกเอาไว้ ว่ามันจะเกาะกินสังคมไทยไปเรื่อยๆทุกวงการ จนฉิบหายคามือคาตีนกันไปเอง

สะใจฉิบหาย

อ่านข้อความนี้แล้วขำว่ะ

นึกสงสารบักเล่อร์ตัวจริง  นี่มันจะรู้มั้ยนะว่ามีเด็กเอ๋อแอบเอาชื่อมันมาใช้ ไม่เนียนเลยว่ะ
แล้วก็สำแดงมาตรฐานต่ำเตี้ยใต้...ตีน  สำนวนแบบนี้ น่าจะเป็นนังจ๊ะซะมากกว่า


ศักดินาพ่ออีตุ๊ดก็เคยเป็นลูกจ้างการบินไทยว่ะ  ถ้าเปิดดูงบกำไรขาดทุนแล้วอ่านไม่ออก ก็อย่าสะเออะอีก





หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: WATERMAN ที่ 09-06-2008, 20:46
ทักษิณมันอยากซื้อเครื่องบินรุ่นนี้  เพราะได้ค่าคอมฯเยอะ  เลยต้องเปิดบินเส้นทางใหม่

เอาชนิดที่ต้องใช้เครื่องรุ่นนี้บิน ทั้งๆที่รู้กันก่อนแล้ว  ว่าบินแล้วขาดทุนแน่ๆ  แต่พ่อเหลี่ยมจะเอา คุณลำใยเลย

ต้องสนองตัณหา  หน้าเหลี่ยมรวยค่าคอมมิชชั่นเละ  แต่การบินไทยขาดทุนอ่วม  ต้องหยุดบิน 

ประกาศขายเครื่องทิ้ง  ทั้งๆที่เพิ่งซื้อมาแค่ไม่กี่ปี  ลิ่วล้อทักษิณ อย่าง KILL...ER จะไปรู้อะไร


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ปุถุชน ที่ 09-06-2008, 20:57
สายการบินศักดินาเนี่ยเหรอ... เหอะ เหอะ ไม่เจ๊งยังไงไหว มีแต่ลูกท่านหลานเธอเด็กเส้นขาใหญ่ เข้าไปลอยหน้าลอยตา ฝีมือความสามารถไม่มี ก็ยัดกันเข้าไป ใหญ่ๆกันทั้งนั้น สมควรแล้วที่มันเจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง

นี่แหละคือผลพวงของระบบอุปถัมป์ ที่จักรภพ เพ็ญแข เขาได้บอกเอาไว้ ว่ามันจะเกาะกินสังคมไทยไปเรื่อยๆทุกวงการ จนฉิบหายคามือคาตีนกันไปเอง

สะใจฉิบหาย

กลยุทธในการแก้ข้อกล่าวหาของไอ้แม้วกับลิ่วล้อ.....
ตั้งแต่อดีตผุ้พิพากษายันลูกน้องระดับขี้ครอกเลอะเทะในนี้...ไม่เคยเปลี่ยนแปลง

ไม่เคยแก้ข้อกล่าวหาได้เลยว่าไม่ผิดยังไง......
มัวแต่ย้อนไปกล่าวหาคนอื่นต่อไปเรื่อยๆ...เพราะมันแก้ตัวไม่ได้
จนบางครั้งถึงกับเผลอหลุดมาว่า....โกงแค่ 30...จะมายึดคืน 70 ได้ไง.....

เป็นแบบนี้....ชาตินี้ทั้งชาติ ก็ไม่สะอาดขึ้นหรอก

..........สะใจฉิบหาย !!! ( อย่าไปพูดแบบนี้ต่อหน้าลูกพี่ล่ะ โดนตบกระโหลกแน่...ไอ้โง่ )


KILL...er อ่านต่อไป จะได้อ่านชื่อ'ทนง ลำใย'เด็กในบริษัทแม๊ว เกี่ยวข้องกับการซื้อเครื่องบินเส้นทางเที่ยวบินนี้อย่างไร....
อย่าลืมด่ามากกว่านี้ เพราะเกี่ยวข้องกับการคอร์รั่ปชั่น ทำให้การบินไทยเกือบเจ๊งเพราะขาดทุนเป็น'รายวัน'.....







หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ปุถุชน ที่ 09-06-2008, 21:02
ข้อมูลมีค่ะ ลองไปหาอ่านดู บางครั้งต้องหัดหาด้วยตัวเองบ้างค่ะ รอให้เขามาป้อนอย่างเดียว เดี๋ยวเป็นง่อย  :slime_doubt:

หลักฐานชัดเจนค่ะ นาย ทนง ลำใย คงต้องมุดหลบหน้าไปอีกพักหนึ่ง เพราะออกมาการันตีเส้นทางการบินนี้ ทั้งๆที่มีคำคัดค้านและต่อต้านแล้ว ทุกอย่างมีหลักฐาน ตั้งแต่เริ่มต้นวางเส้นทาง จัดซื้อเครื่องบิน จนถึงขาดทุน ประกาศยุติเส้นทางการบิน และประกาศขายเครื่องบิน  :slime_whistle:

การกระทำสำเร็จแล้วค่ะ  :slime_bigsmile:

ถ้าอยากจะหาข้อมูลมาโต้แย้ง ใช้สมองด้วยนะคะ  :slime_v:


นักประชาธิปไตยแม๊วๆ สอนบริวาร ...
ฝึกบริวารให้อ่าน'ใบบอก' แล้วคิดตาม'ใบบอก' พูดตาม'ใบบอก'
คุณพรรณชมพู หวังอะไรมากกว่านี้ ได้ไง.......ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ปุถุชน ที่ 09-06-2008, 21:10
ขอแนะนำKILL...er อย่านำคคห.นี้ไปขอ'บัตรเติมเงิน'อย่างเด็ดขาด
นักประชาธิปไตยแม๊วๆ โง่เขลาอย่างไร ก็ดูออกว่า คคห.นี้'โหล่ยโท่ย'จริงๆ....
ถ้านักประชาธิปไตยแม๊วให้'อีเพ็ญ'มาอ่านคคห.อื่นๆ
'อีเพ็ญ'คงฟ้องนักประชาธิปไตยแม๊วๆ' ให้'ตบ'กกหู'แรงๆ.....ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: KILL...ER ที่ 09-06-2008, 22:30
ระดับกะโหลกกะลา หัดหาความรู้ใส่สมองเสียบ้าง มัวแต่จมปลักอยู่ในกะลาแบบนี้ 5555

ต้องยอมรับว่า คุณภาพคนตอบกระทู้ Pantip เหนือชั้นกว่า ที่นี่เยอะ

จากเว็บเสธแดง
1.สนธิลิ้มมั่วเรื่อง TG
พอดีได้อ่านบทความที่น้าลิ้มพูดถึง เรื่องการบินไทยยกเลิกเที่ยวบินตรง(Direct) กทม.-นิวยอร์ก แล้ว รู้สึกว่า.... มันมีข้อมูลอะไรที่ผิดพลาดหลายอย่าง

http://www.sae-dang.com/cgi-bin2/dangBoard/OpenMessage.php?no=44893
ผมก็พูดเท่าที่ผมรู้นะครับ ใครรู้เพิ่มเติม หรือผิดพลาดตรงไหน แก้ไขได้นะครับ

น้าลิ้มพูดถึงการยกเลิกเที่ยวบิน ของการบินไทยเที่ยวบินตรง กทม.-นิวยอร์ก เพราะขาดทุนมหาศาล

ปกติ ไฟล์ท กทม.-นิวยอร์ก(JFK) ที่บินตรง ไม่แวะที่ไหนนี้ ต้นทุนต่อเที่ยวราวสี่ล้านบาท เท่าที่ทราบ เต็มเกือบทุกไฟล์ท ข้อดีที่ไม่ต้องแวะที่ไหน

คือช่วงเปิดไฟล์ทแรก ๆ ได้กำไรอยู่พอสมควร หลัง ๆ น้ำมันอัพขึ้นเยอะ เลยขาดทุน เพราะเครื่อง 340 ไม่ได้เติมน้ำมันแค่พันสองพันปอนด์ เติมน้ำมันครั้งนึงเป็นหมื่น

การบินไทย แก้ไขโดยการลดเที่ยวบินของ A340 จาก 7 flight/weekเป็น 5 flight/week ในไฟล์ท ไดเรกลอสเองเจอลิส และใช้เครื่อง 777 ในไฟล์ทที่แวะโอซาก้า

ง่าย ๆ ก็คือ ปรับเปลี่ยน เกลี่ยให้กำไรขาดทุน อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ไม่ได้ยกเลิกหรือขายทิ้งอะไรทั้งหมด อย่างที่น้าลิ้มแกบอก

การลงทุนคือความเสี่ยง การบินไทยลงทุน ก็ต้องมีความเสี่ยงเป็นธรรมดา แต่การบินไทยไม่เคยเจ๊ง

น้าลิ้มเคยเจ๊งไม๊ครับ... ถ้าเคย ก็อย่าไปสอนการบินไทย ผมว่า เขาบริหารงานเก่งกว่าบริษัทเจ๊ง ๆ เยอะ

ส่วนคำพูดบางคำที่น้าลิ้มบอก....... "เพราะเครื่องบินแอร์บัส รุ่นที่จะซื้อเป็นเครื่องบินตกรุ่น "

เอิ่ม.... ถ้าผมจำไม่ผิด เทคโนโลยีของ แอร์บัส 340 นี่ พอ ๆ กับ B777 จะเป็นรองก็แค่ A380 ซึ่งเป็นเครื่องบินระดับทอป ๆ ของโลก ซีรี่ย์ 400 ที่เราซื้อมา ไม่ได้ตกรุ่นเลยแม้แต่น้อย

น้าลิ้มบอกว่า "เขาจงใจที่จะซื้อเครื่องบินที่ไม่เหมาะกับการบินระยะไกล "

เออ.... แอร์บัส 340 นี่... เขาออกแบบมาให้บินระยะไกลโดยเฉพาะเลยไม่ใช้หรือครับ น้าลิ้ม

สี่เครื่องยนต์ บินได้ครึ่งโลกสบาย ๆ นักบินสี่คนผลัดกัน

คนออกแบบเขาจบวิศวะ และสร้างเครื่องบินระดับโลกมาแล้วทั้งนั้น

ผมเชื่อวิศวะกร มากกว่า น้าลิ้มครับ เพราะเครื่องบินทำได้ขนาดนี้ บินเห็นชัด ๆ ว่า ออกแบบมาให้บินระยะไกล คงไม่ได้ออกแบบมา ให้บิน ไปกลับ บ้านพระอาทิตย์สะพานมัฆวานหรอกครับ

อย่างที่รู้ ๆ กัน น้าลิ้มแกรู้ทุกเรื่อง ยกเว้นรื่องจริง ทำได้ทุกอย่าง ยกเว้นงานในหน้าที่ อยู่ได้ทุกที่ ยกเว้นที่ทำงาน

กระทู้นี้เหมือนอย่างที่พระพุทธเจ้าบอก "อย่าเชื่อ เพราะฟังเขามา " ครับ

2."  ปกติ ไฟล์ท กทม.-นิวยอร์ก(JFK) ที่บินตรง ไม่แวะที่ไหนนี้ ต้นทุนต่อเที่ยวราวสี่ล้านบาท เท่าที่ทราบ เต็มเกือบทุกไฟล์ท ข้อดีที่ไม่ต้องแวะที่ไหน  "



ไอ้แป๊ะลิ้มมันไม่ได้มั่ว แต่มันลืมพูดถึงสาเหตุสำคัญต้นประเด็นที่ทำให้การบินไทยเที่ยวบิน BKK-JFK (NY)-BKK ต้องประสบกับการขาดทุนในขณะนี้

ถูกต้อง....ผู้โดยสารนั่งเต็มลำเกือบทุกเที่ยวบิน BKK-JFK (NY)-BKK ที่ใช้ระยะเวลาบินสั้นที่สุดประมาณ 16-17 ชม.

ก็แล้วทำไมการบินไทยสาย BKK-JFK (NY)-BKK ถึงได้ขาดทุน?

กรุณาลองใช้สมองคิดตามหน่อย....สมมุติว่าต้นทุน 4,000,000 บาทต่อเที่ยว รวมค่าน้ำมันที่ขึ้นมาอย่างบ้าเลือดอีกประมาณ 25-40% รวมต้นทุนทั้งหมดจะตกอยู่ที่ 5,000,000 - 5,600,000 บาท ค่าตั๋ว "ไป-กลับ" ของการบินไทยราคาตกประมาณ 63,000 บาทต่อที่นั่งชั้นประหยัด (และ 71,000 บาทต่อที่นั่งชั้นประหยัดพิเศษ 163,000 บาทต่อที่นั่งชั้นธุรกิจ 205,000 บาทต่อที่นั่งชั้นหนึ่ง)

รวมค่าตั๋วจากผู้โดยสารในชั้นประหยัดจำนวน 204 ที่นั่ง ต่อหนึ่งเที่ยวบิน (เที่ยวไป หรือ เที่ยวกลับเท่านั้น) ที่มีจำนวนอัตราผู้โดยสารนั่ง (Occupancy/Seating rate) เพียงแค่ 90 % จะรวมเงินได้ประมาณ 5,783,400 บาท ซึ่งนับว่าเป็นการคุ้มทุน (Breakeven) กับเที่ยวบินหนึ่งเที่ยว



แล้วทำไมการบินไทยสาย BKK-JFK (NY)-BKK ถึงได้ขาดทุน?

ความจริงที่ทำให้การบินไทยสาย BKK-JFK (NY)-BKK ขาดทุนก็คือ จำนวนผู้โดยสารที่ไม่ได้ซื้อตั๋ว หรือว่า ซื่อตั๋วในราคาที่ "ลดพิเศษ" (เนื่องจากเป็นสวัสดิการของพนักงานการบินไทย) ในแต่ละเที่ยวบินนั้นมีจำนวนมากมายสูงกว่า 20% ของจำนวนผู้โดยสารทั้งลำ (รวมทั้งหมดประมาณ 258 ที่นั่ง) ซึ่งจะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า รายได้จากค่าตั๋วโดยสารที่เก็บจากผู้โดยสารชั้นประหยัดนั้นจะตกประมาณ 4,626,720 บาท ซึ่งก็ต่ำกว่าตันทุนที่ตกอยู่ประมาณ 5,000,000-5,600,000 บาทแล้ว


ลองคิดดู....ถ้าเก็บเงินจากผู้โดยสารไม่ได้ตามที่คิดราคาค่าโดยสาร แล้วอย่างนี้ จะไม่ให้ขาดทุนได้อย่างไร?

3.อีกอย่างเมื่อปีที่แล้วเพื่อนท่านศาสดาสนดิไปเป็นบอร็ดไม่ใช่เหรอ ขาดทุนบักโกรกครับ

4.พวกท่านออกประท้วงมากๆ มันเลยไล่นักลงทุนไปหมดแล้วแล้วไฟล์ทมันเต็มทุกไฟล์ทได้ไงถ้าไม่ประท้วงป่านนี้เต็มทุกไฟล์ทครับ แถมเพิ่มไฟล์ท เพิ่มลานบินอีกต่างหาก

จากคุณ : ทิศอุดร  - [ 9 มิ.ย. 51 20:43:31 A:125.25.11.75 X: ]


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: KILL...ER ที่ 09-06-2008, 22:31
เอามาจากระบบสำรองที่นั่งระบบ Royal ของการบินไทยค่ะ

ขาออก: Bangkok - New York 
วันศุกร์, 20 มิถุนายน 2008 

<<วันก่อนหน้านี้    วันถัดไป>> 
 
0:40  Bangkok (BKK) 
7:10  New York (JFK) 
Thai Airways Intl (TG) 
17h30min 0 การแวะจอด อิเล็กทรอนิกส์ ข้อมูลเที่ยวบิน 
ที่นั่งว่าง: E N 

กลับ New York - Bangkok 
วันอาทิตย์, 29 มิถุนายน 2008 

<<วันก่อนหน้านี้    วันถัดไป>> 
 
11:35  New York (JFK) 
16:10  Bangkok (BKK)
+1 วัน   
Thai Airways Intl (TG) 
17h35min 0 การแวะจอด อิเล็กทรอนิกส์ ข้อมูลเที่ยวบิน 
ที่นั่งว่าง: B E 


จากข้อมูลที่ดึงมายืนยันว่ายังบินอยู่เหมือนเดิมค่ะ

ออกตัวก่อนเลยนะคะ ห่างหายเวทีการเมืองนี้ไปนาน เนื่องจากเบื่อค่ะ แต่กำลังจะกลับมาพูดคุยกับทุกท่านเช่นเคยแล้วนะคะ เลยทำให้ข้อมูลเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับการเมือง รวมถึงความเป็นมาเป็นไปของการเมืองตอนนี้ไม่ได้อัพทูเดทเท่าใดนัก เลยไม่ทราบว่า คุณลิ้ม พูดอะไรพล่อย ๆ ออกมาทำลายชาติไว้บ้าง

จากข้อมูลที่ดึงมา ชั้นธุรกิจ และชั้น พรีเมี่ยมเอคโคโนมี่คลาส เต็มเที่ยวบินขาไป และกลับ แล้ว (เต็มอย่างละคลาสค่ะ) ชั้นประหยัดมีจองมามากแล้วพอควร แสดงว่าแนวโน้มไม่ได้เลวร้ายอะไรในช่วง กรีนซีซั่นเช่นนี้ และแม้จะโดนมรสุมการเมืองรุมเร้าทำลายความเชื่อมั่นของนักลงทุนอยู่ก็ตามที

ขอแย้งข้อมูลเจ้าของกระทู้เล็กน้อยค่ะ

การบินไทยใช้เครื่อง Airbus 2 ซีรี่ย์ค่ะ คือ A340-500 และ A340-600 นะคะ ไม่ใช่ซีรีย์ 400 อย่างที่เข้าใจค่ะ สำหรับเที่ยวบินที่ยกตัวอย่างทั้งไปและกลับนี้ ใช้ 340-500 ค่ะ ไม่มีเฟิร์สคลาส มีเพียง ชั้นธุรกิจ ชั้นประหยัด(พรีเมี่ยม) และชั้นประหยัด ความจุผู้โดยสารรวม 215 ที่นั่งรวมทุกคลาสค่ะ

ซึ่งทั้ง 2 ซีรย์นี้การบินไทยสั่งมาพร้อม ๆ กันค่ะ ไม่ได้หมายความว่า 500 เก่ากว่า 600 แต่อย่างใดค่ะ เพียงแค่เพราะ 2 ซีรีย์มีความต่างกันคือ 500 บินไกล ความจุน้อยกว่า 600 แต่ 600 บินได้สั้นกว่า

แอร์บัส 340-xxx เป็นเครื่องบินพิสัย กลาง-ไกล (ซีรีย์500 พิสัยไกลสุดในตระกูลนี้ค่ะ) ความจุผู้โดยสารระดับกลางค่ะ - ลักษณะเดียวกับ MD11 (ขนาด 3 เครื่องยนต์) ที่เพิ่งปลดประจำการไปไม่นานนี้ เทียบไม่ได้กับจัมโบ้อย่าง B747-400 และ A380 ซูเปอร์จัมโบ้ (การบินไทยสั่งไป 6 ลำค่ะชิมลาง) ซึ่งทั้งคู่มีพิสัย ไกล และจุผู้โดยสารได้มากกว่าเท่าตัว

ซึ่งหากจะเทียบคู่แข่งของ 340 ในขณะนี้ ก็คงเป็น777 อย่างที่เจ้าของกระทู้ว่าไว้ค่ะ เพียงแต่ 777 จะจุผู้โดยสารได้มากกว่า แต่พิสัยบินใกล้กว่าเล็กน้อย จึงทำให้ไม่สามารถบินนอนสตอป ข้ามขั้วโลกเหนือได้ดีค่ะ จึงได้นำเครื่องนี้ประจำการในเที่ยวบินพิสัยกลางเสียมากกว่า

โดยการบินไทยถือว่าเป็นลูกค้ารายแรก ๆ ของแอร์บัสค่ะ ตอนนี้ยังคงเหลือ 340-600 อีก 1 ลำที่ยังไม่ได้ส่งมอบ รวมถึง 380 ซูเปอร์จัมโบ้ อีก 6 ลำ (ซึ่งแม้จะสั่งมาเพียง 6 ลำแต่ก็ไม่ได้ขี้ริ้วเลยค่ะเมื่อมองในระดับสายการบินคู่แข่งในภูมิภาคแล้ว)  และ 330 อีกประมาณ 8 ลำค่ะ

เครื่องบินไม่เหมือนรถค่ะ ซึ่งตกรุ่นเร็วเหลือเกิน อายุเฉลี่ยเครื่องบินการบินไทยอยู่ประมาณ 10 ปี ซึ่งถือว่าใหม่มากค่ะ ไม่เหมือนรถที่ 10 ปีก็เก่าแล้ว ยิ่งตอนนี้เครื่องใหม่ ๆ ทยอยมาประจำการแบบนี้ อายุเฉลี่ยยิ่งน่าลดลงไปอีก เสริมความเชื่อมั่นให้ผู้โดยสารได้โขเลยค่ะ

พูดถึงเรื่องกำไรขาดทุน บอกเลยค่ะ หากเทียบกับ สิงคโปร์แอร์ไลน์ ที่ลงทุนแบบขี่ช้าง (จับตั๊กแตนรึเปล่า ไม่ขอวิจารณ์ค่ะ มองคนละมุมกัน) การบินไทย กำไรสวยงามกว่ามาก

เพื่อนดิฉันที่เคยทำงานร่วมกันมาสมัยก่อนเคยบอกว่า SQ เค้าเน้นบินโชว์ความเป็นผู้นำค่ะ ไม่เน้นกำไร เพราะเอากำไรจากสิ่งอื่นแทน คล้าย ๆ กับ Emirate (EK) ที่บินโชว์ประเทศ เพราะประเทศพวกนี้คิดคล้ายกับ ขสมก. คือ เครื่องบินคือสื่อเคลื่อนที่ได้คล้ายรถเมลล์ไงคะ 555...
UAE เค้ากลัวน้ำมันหมดไม่มีกิน ขอโชว์ประเทศให้เป็นเมืองท่องเที่ยว (แบบมนุษย์สร้าง) ส่วนสิงคโปร์โชว์ความเป็นเมืองท่า ต้องการเป็น HUB ทั้งทางน้ำ ทางอากาศ

เมืองไทยสมัยก่อนม๊อบนรก นายกของดิฉันที่ดิฉันเลือกท่านเข้ามาต้องการเอาความได้เปรียบต้านยุทธศาสตร์ ซึ่งสิงคโปร์ไม่มีทางสู้ได้ สร้างสุวรรณภูมิให้สำเร็จ ไม่หวั่นการล๊อบบี้จากเพื่อนบ้าน ซึ่งไม่ว่าสมัยไหนก็แพ้มาโดยตลอด จนสุวรรณภูมิได้สถิติโลกตั้งแต่วันแรกที่เปิดทำการ ไม่ใช่สนามบินที่ดีที่สุด หรือใหญ่ที่สุดนะคะ "แต่สร้างนานที่สุดในโลก" มาแล้วไงคะ เพราะถ้าเป็นไปตามแผน สุวรรณภูมิจะอยู่ใกล้ขั้วโลกเหนือ (ขั้วความเจริญ) มากกว่าสิงคโปร์ และก็ไม่เสียเปรียบเรื่องขั่วโลกใต้ เนื่องจากเราอยู่เส้นละติจูดใกล้เคียงกับ ทวีปออสเตรเลียแบบนอนสต๊อป สบาย ๆ ค่ะ

เรียกว่า การบินไทย สยายปีกร่วมกับแผ่นดินทองสุวรรณภูมิ ได้เข้ากันพอดิบพอดี

แล้วใครคะ ทำลายทุกอย่าง ใครกันคะ ขายชาติ ทำลายทุกอย่างที่สนามหลวงอย่างไม่อายเสียงข้างมากที่เค้าเลือกกันมา

จริง ๆ แล้วการบินไทยไม่ควรยอมให้ SQ เข้าร่วมพันธมิตร Stars ตั้งแต่แรก (การบินไทยเป็นสายการบินก่อตั้งค่ะ มีเสียงโหวตหนักมากในตอนนั้น) ซึ่งไม่ขอวิจารณ์อีกเช่นกัน ซับซ้อนซ่อนเงื่อน แต่ยืนยันว่าไม่เกี่ยวกับรัฐบาลทักษิน นะคะ ก่อนหน้านั้น เนื่องจากเป็นคู่แข่งกันโดยตรงแทบทุกเส้นทาง เป็นเพื่อนรักหักเหลี่ยมโหดกันตั้งแต่สมัยไหน เริ่มตั้งแต่ตามหลัง ทำตามทุกอย่าง จนกระทั่งสมัยนี้ไฮเทคล้ำหน้าไปแล้ว รวมถึงเส้นทางบินก็เรียกว่า อุแว้ ๆ ตาม ๆ กันมาตลอด

แม้ว่าการบินไทยจะไม่ล้ำสมัยเท่า แต่บริการเอื้องหลวงของเราก็มัดใจคนทั้งโลกได้ จนกระทั่งได้อันดับ 2 ของโลกมาเมื่อปี 2007

เส้นทางปัญหาที่เจ้าของกระทู้นำมา SQ เพื่อนยากก็เพิ่งก๊อบปี้สั่ง 340-500 มาทำตามอย่างไม่อายเลยทีเดียว

ธุรกิจการบินมันต้องลอง ต้องเสี่ยงค่ะ จะให้เปิดบินปีสองปี พันกำไรเละ ไม่มีทางค่ะ โดยเฉพาะเส้นทางที่ไกลที่สุดเท่าที่การบินไทยเคยมีด้วย แถมยังบินผ่านขั้วโลกซึ่งบางคนก็กลัวรับรังสีไม่กล้าบินก็มีอีกเยอะ แต่ภาพรวมการบินไทยกำไรใส ๆ ค่ะ เอาเป็นว่า ดิฉันบินทีไร ไม่เคยเจอเครื่องว่างโหลงเหลงซักที น้อยทีสุดก็เกินครึ่งลำทุกเที่ยว

แหมคุณลิ้มคะ ขาดทุนอย่างที่ว่า ทำไมเค้าถึงเอาเยี่ยงซะล่ะคะ ว่าแต่ ธุรกิจคุณลิ้มมีใครอยากเอาอย่างบ้างคะ เจ๊งไม่เป็นท่า ระวังนะคะ สิงคโปร์อาจทำตามเอาวันนึงก็ได้

ใครจะรู้คะ

จากคุณ : บัวหลวง


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: KILL...ER ที่ 09-06-2008, 22:33
ถ้าเก็บเอาน้ำลายไอ้ลิ้มมาเป็นสรณะ ก็ขอบอกได้เลยว่า ฉิบหาย

ถ้ามันไม่ได้เป็นอะไรกับบุพการีท่านๆทั้งหลาย ก็เพลาๆการสักการะ มันบ้างก็ได้ คงไม่ถึงกับรากแตก รากแตนหรอกนะ

แต่สำหรับบางคน นับถือไอ้ลิ้มยิ่งกว่าพ่อ ยิ่งกว่าผัว อันนี้ก็ช่วยไม่ได้ เค้ารัก เค้าหลงของเค้า อันนั้นเข้าใจได้

แต่สำหรับ บุรุษ หัดมีรอยหยักในสมองเสียบ้างนะครับ ก่อนจะเชื่อข้อมูลอะไรจากมัน


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: mebeam ที่ 09-06-2008, 22:47
เข้ามารับทราบ   :slime_smile:


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: สี่หามสามแห่ ที่ 10-06-2008, 00:15
เอามาจากเว็บ การบินไทย ว่ะ...


ผลการประชุมคณะกรรมการบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) 

วันนี้ (6 มิถุนายน 2551) ณ สำนักงานใหญ่ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ได้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ โดยมี นายชัยสวัสดิ์ กิตติพรไพบูลย์ ประธานกรรมการบริษัทฯ เป็นประธานในการประชุม  โดยมีวาระสำคัญสรุปได้ดังนี้

• คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติอนุมัติให้บริษัทฯ ยกเลิกเส้นทางบินกรุงเทพฯ - นิวยอร์ก มีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2551  เนื่องจากเป็นมาตรการปรับแผน การบินเพื่อลดต้นทุนค่าใช้จ่าย อันมีผลมาจากราคาน้ำมันที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง

• คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติอนุมัติให้บริษัทฯ ปรับ-ลด ความถี่เส้นทางบินตรง กรุงเทพฯ-ลอสแองเจลิส จาก 7 เที่ยวบินต่อสัปดาห์   เหลือ 5 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ ให้มีผลตั้งแต่เดือน 1 กรกฎาคม 2551 สำหรับในตารางบินฤดูหนาวนี้ จะปรับเปลี่ยนเที่ยวบินดังกล่าว จากเที่ยวบินตรงเป็นแบบบินผ่านจุดบินอื่น โดยจะทำการบินเป็น เส้นทาง กรุงเทพฯ-โอซาก้า-ลอสแองเจลิส ด้วย เครื่องแบบโบอิ้ง 777-200 อีอาร์
 




หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: คนเดินดิน ที่ 10-06-2008, 00:31
ว้า....KILL...ER

เสียหมาเลยงานนี้


แล้วอย่างนี้  จะเอากระทู้นี้ ไปเบิกค่าแรงได้หรือป่าวนี่


ปล่อยไก่ไปตัวเบอเร่อเลย

5555+


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: room5 ที่ 10-06-2008, 00:39
killer
อ่ะ

เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2551 ณ สำนักงานใหญ่ การบินไทย โดยมี DH/นายชัยสวัสดิ์ กิตติพรไพบูลย์ เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ

ทั้งนี้ DD/เรืออากาศโท อภินันทน์ สุมนะเศรณี ได้แถลงข่าวหลังการประชุมบอร์ด โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1. เรื่อง หยุดให้บริการในเส้นทางนิวยอร์ก
คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติให้หยุดให้บริการเส้นทางบิน กรุงเทพฯ – นิวยอร์ก ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2551 เป็นต้นไป

2. เรื่อง การปรับเปลี่ยนการดำเนินงานในเที่ยวบินลอสแองเจลิส ดังนี้
2.1 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติให้ลดความถี่ของเที่ยวบินตรงในเส้นทางกรุงเทพฯ – ลอสแองเจลิส จาก 7 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ เหลือ 5 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ โดยทำการบินด้วยเครื่องบินแบบ A340-500 ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค.2551 เป็นต้นไป
2.2 ปรับเปลี่ยนการดำเนินงานในเส้นทางลอสแองเจลิส เป็นทำการบิน กรุงเทพฯ – โอซากา – ลอสแองเจลิส โดยทำการบินด้วยเครื่องบินแบบ B 777-200 ER ตั้งแต่ Winter TPI 2008/09 เป็นต้นไป

3 เรื่อง ปลดระวางและจำหน่ายเครื่องบิน A340-500 ดังนี้
3.1 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติให้ปลดระวางและจำหน่ายเครื่องบิน 340-500 ทะเบียน HS-TLA และ HS-TLB จำนวน 2 ลำ ออกจากฝูงบิน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2551 เป็นต้นไป
3.2 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติให้ปลดระวางและจำหน่ายเครื่องบิน 340-500 ทะเบียน HS-TLC และ HS-TLD จำนวน 2 ลำ ออกจากฝูงบิน ตั้งแต่เดือนมกราคม 2552 เป็นต้นไป



ข้อมูลข้างต้นอาจจะตกหล่นไปในใบบอกของ killer บอกแล้ววันหลังให้เคลียร์กับหัวหน้างานดีๆก่อน เอ๊ารู้แล้วก็รีบไปแจกจ่าย
บอกเพื่อนร่วมทีมให้หยุดตีกินในเรื่องนี้ แล้วไปหาอย่างอื่นมาเล่นแทน!


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: z e a z ที่ 10-06-2008, 00:56
ถ้าเก็บเอาน้ำลายไอ้ลิ้มมาเป็นสรณะ ก็ขอบอกได้เลยว่า ฉิบหาย

ถ้ามันไม่ได้เป็นอะไรกับบุพการีท่านๆทั้งหลาย ก็เพลาๆการสักการะ มันบ้างก็ได้ คงไม่ถึงกับรากแตก รากแตนหรอกนะ

แต่สำหรับบางคน นับถือไอ้ลิ้มยิ่งกว่าพ่อ ยิ่งกว่าผัว อันนี้ก็ช่วยไม่ได้ เค้ารัก เค้าหลงของเค้า อันนั้นเข้าใจได้

แต่สำหรับ บุรุษ หัดมีรอยหยักในสมองเสียบ้างนะครับ ก่อนจะเชื่อข้อมูลอะไรจากมัน

บัก Killer เอาหัวซุกรูตรูดพ่อแม้ว แล้วถึงคิดออกได้แบบนี้ใช่มั้ยล่า ...   :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: อิรวันชาห์ IrWanSyah ที่ 10-06-2008, 01:08
คนที่นี่ พอมีข้อมูลมายันหน่อย ด่าเฉยเลย เสื่อมลงทุกวันครับ  :slime_sleeping: :slime_sleeping: :slime_sleeping:


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: (ลุง)ถึก สไลเดอร์ ที่ 10-06-2008, 01:23
คนที่นี่ พอมีข้อมูลมายันหน่อย ด่าเฉยเลย เสื่อมลงทุกวันครับ  :slime_sleeping: :slime_sleeping: :slime_sleeping:
อ้าวเวร...คนที่ไม่มีข้อมูลมาด่าคนที่นี่ ไม่ไปด่ามันบ้าง คนที่นี่เขามีข้อมูล
มายันแล้วไง........เอิ้กกกกก

 :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: อิรวันชาห์ IrWanSyah ที่ 10-06-2008, 01:29
ด่ากันไป ด่ากันมา  กลายเป็นเรื่องของ "ข้าเกลียดหรือรักทักษิณ" ไปเสียฉิบ

ประเด็นสำคัญของกระทู้ ที่แสดงว่า "สนธิโกหกปั้นน้ำเป็นตัวอย่างโจ่งแจ้ง ครั้งแล้วครั้งเล่า" ไม่มีใครใส่ใจอีกต่อไป

แย่แล้วสังคมไทย  :slime_shy: :slime_shy: :slime_shy:


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: room5 ที่ 10-06-2008, 02:42
ด่ากันไป ด่ากันมา  กลายเป็นเรื่องของ "ข้าเกลียดหรือรักทักษิณ" ไปเสียฉิบ

ประเด็นสำคัญของกระทู้ ที่แสดงว่า "สนธิโกหกปั้นน้ำเป็นตัวอย่างโจ่งแจ้ง ครั้งแล้วครั้งเล่า" ไม่มีใครใส่ใจอีกต่อไป

แย่แล้วสังคมไทย  :slime_shy: :slime_shy: :slime_shy:

แขกรับเชิญ เชิญมาบอร์ดนี้เค๊าก็ด่า ที่ด่าได้(มีสิธิในการด่า) เพราะข้อมูลของเขามันฟังไม่ขึ้น
ไปนำ้ำขุ่นๆ หลักฐานทนโท่ เดี๋ยวกระทู้หน้าก็ปรับโหมดมาเริ่มกันใหม่ทุกทีไป

มันก็เป็นอย่างนี้เกือบทุกบอร์ดมิใช่หรือ

หากคนอ่านไม่รู้จักเเยกเยะก็ช่วยไม่ได้ เขาด่าเขาว่าก็ไม่ต้องรับมาก็ได้

เเยกเอาที่ดีๆเข้าหัว มัวแต่มาบ่น อย่างนี้ได้อะไร

แต่ก็มิได้นำพาจริงๆ
 :slime_worship: :slime_worship: :slime_worship:


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: mebeam ที่ 10-06-2008, 02:45
1 เที่ยวบินสายนี้ควรเปิดหรือเปล่า
  - ไม่มีข้อมูลครับ  

2เครื่องบินตกรุ่นหรือเปล่า  - A340-500
    ปรากฎตัวครั้งแรกในงานปารีสแอร์โชว์ปี 1997
    เริ่มประกอบและส่งมอบให้สายการบินต่างๆ เดือนเมษายนปี 2001
    การบินไทยเริ่มใช้ A340-500 บินเชิงพานิชย์ เดือนเมษายนปี 2005
    คุณสนธิเริ่มพูด  ปี 2006

3.เครื่องบินรุ่นนี้เหมาะสมใหม
   น่าจะเหมาะ เพราะ สิงค์โปรก็เปิดเที่ยวบินเส้นนี้ และใช้เครื่องบินรุ่นนี้
   อย่าบอกนะว่าสิงค์โปร์ก็ซื้อเครื่องบินตกรุ่น กินเปอร์เซ็นต์เหมือนไทย

4. ทำไมถึงเจ๊ง สำคัญที่สุด  
     -น้ำมันแพง ทำไมน้ำมันแพงจึงเจ๊ง แล้วที่สายอื่นบินอยู่ทำไมไม่เจ๊ง
    
       สายนี้เป็นสายไกล บินกันรวดเดียว ก่อนออกต้องเติมน้ำมันเต็ม230 ตัน   (จะหนักกว่าผู้โดยสาร+ สัมภาระอีก) 
        ช่วงแรกก็แบกน้ำมันไปด้วยพอถึงนิวยอคก็หมด ช่วงแรกแบกน้ำมันเยอะก็กินน้ำมัน
       ที่สายอื่นอยู่ได้เพราะแวะกลางทาง  เติมน้ำมันแค่ครึ่งถัง แล้วก็แวะเติมกลางทางเอา
       เลยไม่ค่อยสิ้นเปลืองน้ำมัน    ตอนนั้นเขาคงคำนวนแล้วว่าคุ้ม และเหลือกำไร
       พอน้ำมันขึ้น(ไม่ใช่น้อย)  แผนเลยเปลี่ยนไป
    
     -แต่สุดท้ายผมยกให้บริหารงานผิดพลาดครับ
        อ้างน้ำมันขึ้น อ้างไม่มีคนนั่ง ยังไงการก็หนีการบริหารไม่พ้น
        แต่ไม่ใช่เรื่องใหญ่ครับ ดูตามสาเหตุและปัจจัย ที่ทำให้บริหารผิด
        ธุรกิจต้องมีการตัดสินใจ แล้วใครละ
        ที่มันจะตัดสินใจถุกทุกเรื่อง สำคัญมันต้องแก้ไขปัญหาได้ แก้ปัญหาเป็น
       ธุรกิจมันต้องมีกำไรและขาดทุน  ดูสิงค์โปร์ เค้าก็เจ๊งสายนี้เหมือนเรา

5. มีคนกินเปอร์เซ็นค่าคอมเครื่องบิน หมื่นล้านดังที่คุณสนธิอ้างใหม  
     นั่นสิ ไม่เห็นบอกเลยว่าใคร ถ้ามีหลักฐาน ทำไมไม่แจ้งความ
     เงินหมื่นล้านไม่ใช่น้อยๆ  และ ถ้าไม่มีหลักฐาน ก็เป็นการพูดลอย
     ผูกเรื่องใส่ร้ายคนไปเรื่อยๆใช่หรือไม่

  

   ปล.ข้อมูลก็อ้างเค้ามานะครับ ใส่เครดิตไม่ถูกเลย หลายคน :slime_smile:


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: room5 ที่ 10-06-2008, 03:36
เรื่องของเรื่องมันผิดตั้งแต่ต้นแล้ว
"วิธีการซื้อเครื่องบินนั้น มีการสร้างโครงการขึ้นมา โดยนายทนง พิทยะ ประธานการบินไทย ในขณะนั้นที่อ้างว่าเที่ยวบินกรุงเทพฯ-นิวยอร์ก จะได้กำไร แต่เมื่อตนตรวจสอบข้อมูลดูแล้ว พบว่าเส้นทางนี้ สายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์เคยเปิดและขาดทุนจนยกเลิกเที่ยวบินไปแล้ว แต่ก็หาเหตุในการสร้างเส้นทางการบิน โดยให้ผู้อำนวยการฝ่ายวางแผนเขียนแผนขึ้นมาโดยให้บอกว่าจะมีกำไร แต่ ผอ.คนเก่าไม่เห็นด้วย จึงถูกย้าย และให้ รอง ผอ.ขึ้นมาเป็นแทน แล้วให้เขียนแผนว่าเส้นทางบินกรุงเทพฯ-นิวยอร์กจะมีกำไร"

บางส่วยจากที่แป๊ะลิ้มเคยพูด ซึ่งก็มีการย้าย ผอ จริง

โดยส่วนตัวพี่ผมทำงานอยู่การบินไทย คนที่นั่นทำงานไปนานๆรู้ทุกคนไปถามได้
นักบินด่ากันระนาว ต้องบินผ่าขั้วโลกอันตรายมาก แอร์-สจ๊วท ไฟล์ท นี้แลก แสก็จกันให้วุ่น
ลองย้อนรอยดูนะ
ใครๆในการบินไทยเขาก็บ่น เครื่องบินการบินไทยรุ่นเก่ามากๆ สั่งซื้อทีก็เลือกที่จะตกๆรุ่น
เพราะบริษัทมันจะให้ค่าคอมมิชชั่นเยอะ ดูเครื่องบินชาติอื่นเขามีจอทีวีส่วนตัวกันแล้ว
การบินไทยมีซักกี่ลำ ยังต้องนั่งดูหนังกลางแปลงบนเครื่องอยู่เลย

แล้วเรื่องสิงค์โปร เขาสั่งก่อนหน้าที่เราจะสั่งด้วยซ้ำ ตอนแรกสั่ง19ลำ
ได้มาตอนแรก5ลำ ลองบินปรากฎว่าขาดทุนสิงค์โปรเลยยกเลิกออเดอร์14ลำที่เหลือ
แล้วหลังจากนั้นล่ะไทยถึงได้สั่งซื้อเพราะเครื่องบินมันค้างสต๊อกเยอะได้ค่าคอมสูง

ถามหาใบเสร็จหรออีกแล้วหรอ ก็บอกให้ดูตั้งแต่แรก
ทำไมนาย ทนง พิทยะ ประธานการบินไทย การบินไทยในตอนนั้น
ออกมาย้ำทุกวันว่าต้องได้กำไร

ทั้งๆที่รู้ว่าสิงค์โปรบินแล้วไม่ได้กำไรและกำลังจะยกเลิก


***************************************
ถึงคุณmebeam อย่ามัวไปคำนวณเรื่องค่าน้ำมันการบริการเลย คุณอ่านทีผมโพสแล้วคุณได้คำตอบอะไรบ้างถามอย่างนี้ดีกว่า
ลากกันไปลากกันมา น่าเบื่อ


1 เที่ยวบินสายนี้ควรเปิดหรือเปล่า

ควร

2เครื่องบินตกรุ่นหรือเปล่า  - A340-500

ไม่ตกรุ่น

3.เครื่องบินรุ่นนี้เหมาะสมใหม

ไม่เหมาะในการบินระยะใกล

4. ทำไมถึงเจ๊ง สำคัญที่สุด

ทำไม? ก่อนจะสั่งซื้อเพื่อมาบินเส้นกรุงเทพ-นิวยอร์ค ณตอนนั้น สิงค์โปรก็ได้ปิดเส้นทางบินเดียวกันนี้โดยใช้เครื่องรุ่นเดียวกับที่เราสั่งซื้อ(A340-500)
สิงค์โปรได้เครื่องก่อนเราและทำการบินก่อนแล้ว พบว่าขาดทุนจึงยกเลิก
ถามว่าทำไมถึงซื้อสำคัญมากกว่า

5. มีคนกินเปอร์เซ็นค่าคอมเครื่องบิน หมื่นล้านดังที่คุณสนธิอ้างใหม 
อืมย้อนไปอ่านข้อที่4 ถ้าไม่มีการกินเปอร์เซ็นต์ก็แสดงว่าผู้บริหารโง่มากกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: บักหัวเถิก ที่ 10-06-2008, 05:10
ตลก คนไทยจริงร่ำเรียนมาก็สุงไม่ได้คิดเลย วางแผนอะไรหน้าแข่งหัวเข่า อนาคตอะไม่ได้วางไว้เลย 5-10 อย่าพูดถึงเอา 3เดือน 6 เดือน ว่า พวกนักบริหารคงโง่จนไม่ได้คิดว่าอนาคตอนาคต้ำมันจะแพง คงคิว่ากหน่อยน้ำมันคงจะลดลงเรื่อยๆๆ มั้ง สรูป โง่ การศึกษายิ่งเยอะยิ่งทำให้คนโกงเก่งขึ้นหาฉลาดขึ้นไม่ :slime_surrender:


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ScaRECroW ที่ 10-06-2008, 10:48
คนที่ไม่รู้ ฟังสนธิพูดก็จะตะลึงตึง ๆ ตื่นตาตื่นใจ
คนที่รู้เขาก็รู้ว่ามันพูดโดยที่มันก็รู้ไม่จริง



สิงคโปร์แอร์ไลน์ ยังไม่ได้เลิกเที่ยวบินนี้ซะหน่อย เขาปรับโครงสร้างที่นั่งผู้โดยสาร

จริง ๆ ก่อนหน้านี้การบินไทยกับสิงคโปร์แอร์ไลน์บินมานิวยอร์คก็ต่างกันอยู่แล้ว ตัวเครื่องแม้จะรุ่นเดียวกันรายละเอียดก็ต่างกัน จำนวนที่นั่งของสิงคโปร์แอร์ไลน์ บนเครื่องที่เป็นแบบเดียวกันนั้นน่ะ น้อยกว่าของการบินไทย เพราะมันต้องตัดออกไปเพื่อเพิ่มระวางบรรทุกน้ำมัน เพราะถ้าเป็นเครื่องสแตนดาร์ดแบบที่การบินไทยใช้ มันบินถึงแต่น้ำมันเหลือไม่พอสำหรับเซฟตี้  ที่ต่างอีกอย่างหนึ่งก็คือ สิงคโปร์แอร์ไลน์ ไม่ได้ลงที่ JFK มันลงที่นูวอาร์ค (Newark) ในนิวเจอร์ซี่ ห่างจาก Downtown Manhattan มากกว่า JFK

ผมคิดว่า Landing fee, ground service fee, parking fee น่าจะถูกกว่าที่ JFK

จะเอาสองเส้นทางนี้ไปเปรียบเทียบกันตรง ๆ คงไม่ได้

ตอนผมมา ก็บินการบินไทยมาลงที่ JFK เหมือนกัน มาถึงน้ำมันเติมรถที่นี่ อ๊อกเทน 87 แกลลอนละ $2.4 ประมาณนั้น แต่ตอนนี้ 1 ปี 7 เดือนผ่านไป น้ำมันแบบเดียวกัน แกลลอนละ $4.15

สนธิไม่ได้พูดว่าราคาน้ำมันตอนนั้นกับตอนนี้ต่างกันแค่ไหน แล้วมันก็คงไม่พูด เพราะพูดแล้วคนที่เขาคิด เขาจะเข้าใจ

อีกปัญหาที่สำคัญของการบินไทย "สายการบินแห่งญาติ" ก็คือค่าใช้จ่ายอื่นที่ต้องเสียโดยไม่จำเป็นคือ
"ญาติ" ที่ส่งมาประจำที่นี่ก็คงเป็นอีกส่วนหนึ่ง การบินไทยส่งคนมาประจำที่นี่เยอะเกินไป ส่งคนจากเมืองไทยมา ต้องจ่ายค่าจ้างอัตราพิเศษ ต้องเช่าบ้านให้ (ด้วยหรือป่าวก็ไม่รู้) ถ้าจ้างคนท้องถิ่น ค่าเช่าบ้านไม่ต้องจ่าย อะไรแบบนี้เป็นต้น

นอกจากนี้ การที่เป็นสายการบินแห่งญาติ เลยทำให้บรรดาญาติได้รับสิทธิ์ต่าง ๆ มากมาย เช่น ขอน้ำหนักเกินได้ ขออัพเกรดได้ ซึ่งสายการบินอื่นสิ่งเหล่านี้ จะได้มาเมื่อจ่ายตังค์ไป

ผมต้องขับรถจากดีซีไปส่งคนที่JFKอยู่เนือง ๆ เนื่องจากน้ำหนักเกิน บินสายการบินในประเทศขอไม่ได้ เพราะเขาไม่ให้น้ำหนัก เกินไปต้องจ่ายตังค์

การบินไทยต้องเลิกเป็นสายการบินแห่งญาติ แล้วจะเจริญงอกงาม


สำหรับ จขกท.   root แปลว่า ราก   เส้นทางบิน แปลว่า route 
รุจน์ แปลว่าอะไร ผมไม่รู้ แต่เห็นเป็นชื่อดารา หลายคน


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: samrung ที่ 10-06-2008, 11:20
สายการบินศักดินาเนี่ยเหรอ... เหอะ เหอะ ไม่เจ๊งยังไงไหว มีแต่ลูกท่านหลานเธอเด็กเส้นขาใหญ่ เข้าไปลอยหน้าลอยตา ฝีมือความสามารถไม่มี ก็ยัดกันเข้าไป ใหญ่ๆกันทั้งนั้น สมควรแล้วที่มันเจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง

นี่แหละคือผลพวงของระบบอุปถัมป์ ที่จักรภพ เพ็ญแข เขาได้บอกเอาไว้ ว่ามันจะเกาะกินสังคมไทยไปเรื่อยๆทุกวงการ จนฉิบหายคามือคาตีนกันไปเอง

สะใจฉิบหาย

[size=1ภpt]ถ้าคุณ Killer ยังแถ แบบนี้อยู่เรื่อยๆ อีกไม่นานเลือดคงหมดตัวแน่ๆๆ ผมขอแนะนำว่าควรไปหาข้อมูลก่อนที่จะมาแถ ที่เตือนเพราะเป็นห่วงนะ[/size]
 :slime_v: :slime_v: :slime_v:


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ScaRECroW ที่ 10-06-2008, 11:35
สายการบินศักดินาเนี่ยเหรอ... เหอะ เหอะ ไม่เจ๊งยังไงไหว มีแต่ลูกท่านหลานเธอเด็กเส้นขาใหญ่ เข้าไปลอยหน้าลอยตา ฝีมือความสามารถไม่มี ก็ยัดกันเข้าไป ใหญ่ๆกันทั้งนั้น สมควรแล้วที่มันเจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง

นี่แหละคือผลพวงของระบบอุปถัมป์ ที่จักรภพ เพ็ญแข เขาได้บอกเอาไว้ ว่ามันจะเกาะกินสังคมไทยไปเรื่อยๆทุกวงการ จนฉิบหายคามือคาตีนกันไปเอง

สะใจฉิบหาย

แล้วทำไมตอนไอ้เหี้-ยแม๊ว มีอำนาจแอยู่ 5 ปี ถึงไม่จัดการแก้ไขซะล่ะ


อ่อขอเติมอีกหน่อยนะครับ อะไรที่สนธิพูดน่ะ ไม่ฟังก็โง่ เชื่อโดยไม่คิดก็บ้า


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: mebeam ที่ 10-06-2008, 12:11
กำลังหา ว่า มีคนใช้บริการในแต่ละเที่ยวเยอะไหม

เลยไปเจอ เวปเกี่ยวกับการโดยสารเครื่องบิน เขียนรีวิว กัน ( ไม่ยักรู้ เรื่องแบบนี้ก็มีรีวิวกัน )

ทำให้พอรู้ข้อมูลบางส่วน แต่ไม่ละเอียดเช่น

"เดินไปสำรวจด้านหลังชั้น Eco ก็ดูกว้างขวางดี ยิ่งชั้น Premier (ไม่รู้เรียกถูกป่าว) ที่ครือๆกับ eco deluxe
ของ Eva ก็ดูกว้างกว่าของ Eva อีก พอๆกับ Business Class ในเครื่อง 777 ของ TG เลย
ผู้โดยสารชั้น ประหยัดจะเต็มเกือบทุกที่ ชั้นพรีเมียร์จะมีประมาณ 80% เท่าๆกับ Royal Silk "


"โอ้ย แค่boarding passก็หรูจะตายแล้วอะ อยากนั่งมากๆครับ "


"ต้องยอมรับเลยนะครับว่าเครื่องตระกูล A340 นี่สร้างความน่านั่งอย่างมากให้กับTGจริงๆ

ญาติๆไม่ว่าจะอยู่โตเกียวหรือนิวยอร์ค ปกติจะเลือกการบินไทยอันดับท้ายๆ
พอได้ลองบินกับ A345 346 ก็เริ่มติดใจจนถอนตัวไม่ออกแล้ว      ปลื้มใจแทนTGจริงๆครับ"


"เอาใจไฟล์ทนี้สุดๆเลยนะ อิอิ แต่คงไม่มีโอกาสใช้บริการหรอกเพราะไม่เคยคิดอยากไปอเมริกา ไฟล์ทยุโรปทำแบบนี้มั่งสิ

ขอบคุณครับ ดูดีหรูหราขึ้นกว่าก่อนมากครับ TG
คุณ Gelgoog อยากชมไฟล์ตยุโรปกับเครื่องใหม่ ๆ รอ A346 กับ A380 นะครับ อิอิ"

"ขอบคุณมากครับบบบ
17 ชั่วโมง...กับการนั่ง 345 หายอยากไปเลยยย "

"อืมขอบคุณมากๆครับ อยากนั่งไปNYบ้างจังครับ"



เท่าที่สังเกตุ จากหลายๆรีวิว  ก็มีผุ้โดยสาร ไม่ได้น้อย ขนาดเที่ยวกลางสัปดาห์วันพุธยังเกินครึ่ง
ทุกคนอยากใช้บริการ ทุกคนเห็นว่าเป็นเครื่องรุ่นใหม่ ภายในดีกว่าทันสมัยกว่าเครื่องโบอิ้ง
ชอบสายนี้ที่บินตรงไม่ต้องแวะ บรูไน หรือ ญี่ปุ่น ให้เสียเวลา
 
มีรีวิวหลายๆ ชั้นที่นั่งนะคับ
ลองคลิ๊กเข้าไปอ่านดู แล้วจะอยากนั่ง ชั้นไหนใน ไฟท์นี้ BKK - JFK  :slime_smile:


http://www.hflight.net/forum/m-1187553428/
http://www.hflight.net/forum/m-1128331773/s-32/
http://www.hflight.net/forum/m-1115796475/s-0/
http://www.hflight.net/forum/m-1137403802/


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: mebeam ที่ 10-06-2008, 12:59
ใช่ครับ สิงค์โปร์-นิวยอร์ค ยังมีอยู่
แต่มันไม่ได้ลง JFK มิน่าเมื่อวานหาไม่เจอ  มีแต่เที่ยวบินอ้อม

งั้นข้ออ้างที่ว่าเห็น สิงค์โปร์ทำแล้ว เจ๊งแล้ว การบินไทยยังรั้นทำ เป็นอันว่าตกไปนะจ๊ะ


Outbound Flights   
From Singapore Changi (SIN)
To New York Newark (EWR)
Date: Tue 17 Jun 2008

--------------------------------------------------------------------------------

Flight Departs Arrives Stops Mon Tue Wed Thu Fri Sat Sun Details
SQ22
 SIN 10:50
 EWR 17:50
 0         
Flight Details Close   

SQ22
Terminal 3  (A340-500)
 

Travel Time   
Singapore Changi – New York Newark 19:00
Total 19:00
 

http://www.singaporeair.com/saa/en_UK/FlightInfo/ettResult.jsp?JSESSIONID=LTVJlKxMCKg7QP1vnfmT32PHGTwzWHYjp7GwGyQvRQJpvyty01Fv!1294115102!NONE


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-06-2008, 13:16
ระดับกะโหลกกะลา หัดหาความรู้ใส่สมองเสียบ้าง มัวแต่จมปลักอยู่ในกะลาแบบนี้ 5555

ต้องยอมรับว่า คุณภาพคนตอบกระทู้ Pantip เหนือชั้นกว่า ที่นี่เยอะ

จากเว็บเสธแดง
1.สนธิลิ้มมั่วเรื่อง TG
พอดีได้อ่านบทความที่น้าลิ้มพูดถึง เรื่องการบินไทยยกเลิกเที่ยวบินตรง(Direct) กทม.-นิวยอร์ก แล้ว รู้สึกว่า.... มันมีข้อมูลอะไรที่ผิดพลาดหลายอย่าง

http://www.sae-dang.com/cgi-bin2/dangBoard/OpenMessage.php?no=44893
ผมก็พูดเท่าที่ผมรู้นะครับ ใครรู้เพิ่มเติม หรือผิดพลาดตรงไหน แก้ไขได้นะครับ

น้าลิ้มพูดถึงการยกเลิกเที่ยวบิน ของการบินไทยเที่ยวบินตรง กทม.-นิวยอร์ก เพราะขาดทุนมหาศาล

ปกติ ไฟล์ท กทม.-นิวยอร์ก(JFK) ที่บินตรง ไม่แวะที่ไหนนี้ ต้นทุนต่อเที่ยวราวสี่ล้านบาท เท่าที่ทราบ เต็มเกือบทุกไฟล์ท ข้อดีที่ไม่ต้องแวะที่ไหน

คือช่วงเปิดไฟล์ทแรก ๆ ได้กำไรอยู่พอสมควร หลัง ๆ น้ำมันอัพขึ้นเยอะ เลยขาดทุน เพราะเครื่อง 340 ไม่ได้เติมน้ำมันแค่พันสองพันปอนด์ เติมน้ำมันครั้งนึงเป็นหมื่น

การบินไทย แก้ไขโดยการลดเที่ยวบินของ A340 จาก 7 flight/weekเป็น 5 flight/week ในไฟล์ท ไดเรกลอสเองเจอลิส และใช้เครื่อง 777 ในไฟล์ทที่แวะโอซาก้า

ง่าย ๆ ก็คือ ปรับเปลี่ยน เกลี่ยให้กำไรขาดทุน อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ไม่ได้ยกเลิกหรือขายทิ้งอะไรทั้งหมด อย่างที่น้าลิ้มแกบอก

การลงทุนคือความเสี่ยง การบินไทยลงทุน ก็ต้องมีความเสี่ยงเป็นธรรมดา แต่การบินไทยไม่เคยเจ๊ง

น้าลิ้มเคยเจ๊งไม๊ครับ... ถ้าเคย ก็อย่าไปสอนการบินไทย ผมว่า เขาบริหารงานเก่งกว่าบริษัทเจ๊ง ๆ เยอะ

ส่วนคำพูดบางคำที่น้าลิ้มบอก....... "เพราะเครื่องบินแอร์บัส รุ่นที่จะซื้อเป็นเครื่องบินตกรุ่น "

เอิ่ม.... ถ้าผมจำไม่ผิด เทคโนโลยีของ แอร์บัส 340 นี่ พอ ๆ กับ B777 จะเป็นรองก็แค่ A380 ซึ่งเป็นเครื่องบินระดับทอป ๆ ของโลก ซีรี่ย์ 400 ที่เราซื้อมา ไม่ได้ตกรุ่นเลยแม้แต่น้อย

น้าลิ้มบอกว่า "เขาจงใจที่จะซื้อเครื่องบินที่ไม่เหมาะกับการบินระยะไกล "

เออ.... แอร์บัส 340 นี่... เขาออกแบบมาให้บินระยะไกลโดยเฉพาะเลยไม่ใช้หรือครับ น้าลิ้ม

สี่เครื่องยนต์ บินได้ครึ่งโลกสบาย ๆ นักบินสี่คนผลัดกัน

คนออกแบบเขาจบวิศวะ และสร้างเครื่องบินระดับโลกมาแล้วทั้งนั้น

ผมเชื่อวิศวะกร มากกว่า น้าลิ้มครับ เพราะเครื่องบินทำได้ขนาดนี้ บินเห็นชัด ๆ ว่า ออกแบบมาให้บินระยะไกล คงไม่ได้ออกแบบมา ให้บิน ไปกลับ บ้านพระอาทิตย์สะพานมัฆวานหรอกครับ

อย่างที่รู้ ๆ กัน น้าลิ้มแกรู้ทุกเรื่อง ยกเว้นรื่องจริง ทำได้ทุกอย่าง ยกเว้นงานในหน้าที่ อยู่ได้ทุกที่ ยกเว้นที่ทำงาน

กระทู้นี้เหมือนอย่างที่พระพุทธเจ้าบอก "อย่าเชื่อ เพราะฟังเขามา " ครับ

2."  ปกติ ไฟล์ท กทม.-นิวยอร์ก(JFK) ที่บินตรง ไม่แวะที่ไหนนี้ ต้นทุนต่อเที่ยวราวสี่ล้านบาท เท่าที่ทราบ เต็มเกือบทุกไฟล์ท ข้อดีที่ไม่ต้องแวะที่ไหน  "



ไอ้แป๊ะลิ้มมันไม่ได้มั่ว แต่มันลืมพูดถึงสาเหตุสำคัญต้นประเด็นที่ทำให้การบินไทยเที่ยวบิน BKK-JFK (NY)-BKK ต้องประสบกับการขาดทุนในขณะนี้

ถูกต้อง....ผู้โดยสารนั่งเต็มลำเกือบทุกเที่ยวบิน BKK-JFK (NY)-BKK ที่ใช้ระยะเวลาบินสั้นที่สุดประมาณ 16-17 ชม.

ก็แล้วทำไมการบินไทยสาย BKK-JFK (NY)-BKK ถึงได้ขาดทุน?

กรุณาลองใช้สมองคิดตามหน่อย....สมมุติว่าต้นทุน 4,000,000 บาทต่อเที่ยว รวมค่าน้ำมันที่ขึ้นมาอย่างบ้าเลือดอีกประมาณ 25-40% รวมต้นทุนทั้งหมดจะตกอยู่ที่ 5,000,000 - 5,600,000 บาท ค่าตั๋ว "ไป-กลับ" ของการบินไทยราคาตกประมาณ 63,000 บาทต่อที่นั่งชั้นประหยัด (และ 71,000 บาทต่อที่นั่งชั้นประหยัดพิเศษ 163,000 บาทต่อที่นั่งชั้นธุรกิจ 205,000 บาทต่อที่นั่งชั้นหนึ่ง)

รวมค่าตั๋วจากผู้โดยสารในชั้นประหยัดจำนวน 204 ที่นั่ง ต่อหนึ่งเที่ยวบิน (เที่ยวไป หรือ เที่ยวกลับเท่านั้น) ที่มีจำนวนอัตราผู้โดยสารนั่ง (Occupancy/Seating rate) เพียงแค่ 90 % จะรวมเงินได้ประมาณ 5,783,400 บาท ซึ่งนับว่าเป็นการคุ้มทุน (Breakeven) กับเที่ยวบินหนึ่งเที่ยว



แล้วทำไมการบินไทยสาย BKK-JFK (NY)-BKK ถึงได้ขาดทุน?

ความจริงที่ทำให้การบินไทยสาย BKK-JFK (NY)-BKK ขาดทุนก็คือ จำนวนผู้โดยสารที่ไม่ได้ซื้อตั๋ว หรือว่า ซื่อตั๋วในราคาที่ "ลดพิเศษ" (เนื่องจากเป็นสวัสดิการของพนักงานการบินไทย) ในแต่ละเที่ยวบินนั้นมีจำนวนมากมายสูงกว่า 20% ของจำนวนผู้โดยสารทั้งลำ (รวมทั้งหมดประมาณ 258 ที่นั่ง) ซึ่งจะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า รายได้จากค่าตั๋วโดยสารที่เก็บจากผู้โดยสารชั้นประหยัดนั้นจะตกประมาณ 4,626,720 บาท ซึ่งก็ต่ำกว่าตันทุนที่ตกอยู่ประมาณ 5,000,000-5,600,000 บาทแล้ว


ลองคิดดู....ถ้าเก็บเงินจากผู้โดยสารไม่ได้ตามที่คิดราคาค่าโดยสาร แล้วอย่างนี้ จะไม่ให้ขาดทุนได้อย่างไร?

3.อีกอย่างเมื่อปีที่แล้วเพื่อนท่านศาสดาสนดิไปเป็นบอร็ดไม่ใช่เหรอ ขาดทุนบักโกรกครับ

4.พวกท่านออกประท้วงมากๆ มันเลยไล่นักลงทุนไปหมดแล้วแล้วไฟล์ทมันเต็มทุกไฟล์ทได้ไงถ้าไม่ประท้วงป่านนี้เต็มทุกไฟล์ทครับ แถมเพิ่มไฟล์ท เพิ่มลานบินอีกต่างหาก

จากคุณ : ทิศอุดร  - [ 9 มิ.ย. 51 20:43:31 A:125.25.11.75 X: ]


ระดับกะโหลกกะลาอย่างผมก็มีความคิดเป็นของตัวเองได้นา
ผมไม่อยากจะเชื่ออะไีรโดยที่เหตุ และ ผล มันยังไม่มากพอ
แค่อ่านกระทู้ลิ่วล้อแล้วเชื่อเลย มันง่ายไปหน่อยมั้ง

1. ข้อแรกกูก็ไม่เชื่อละ ไหนมึงบอกราคาน้ำมันอิงราคาน้ำมันตลาดโลก หากไทยเจ๊งเพราะน้ำมัน ทำไมสายการบินฝรั่งมันถึงไม่เจ๊ง ? ทำไมเจ๊งแค่การบินไทยไม่ทราบ ??

2. มึงบอกผู้โดยสายเที่ยวบินนี้ยังเต็มทุกเที่ยว แต่เพราะน้ำมันแพงมึงเลยบอกลดเที่ยวบินลง 7 ไฟลต์ต่อสัปดาห์ เหลือแค่ 5 ไฟลต์ ??
    - อ้าว แล้วถ้าผู้่โดยสารยังเต็มอยู่ทุกเที่ยว ความต้องการเที่ยวบินนี้ก็ต้องสูงสิ แล้วมึงลดเที่ยวบินทำหอกอะไร ??
    - แล้วมึงลดเที่ยวบินจาก 7 เหลือ 5 ต้นทุนต่อเที่ยวบิน ราคามึงก็ยัีงเท่าเดิมใช่ไหม แต่ไม่เป็นไร มึงบอกว่าจะเกลี่ยให้มันขาดทุนน้อยลง แต่มึงก็ต้องแลกกะผู้โดยสารตกค้างอีกสิ(ถ้ามันเยอะจริงอย่างที่มึงคุย) ??
    - ไม่ต้องทำเท่ห์เอาราคาน้ำมันต้นทุนมาถัวกะค่าตั๋วหรอก ถ้าราคาน้ำมันมันขึ้นจริง มึงก็ต้องขึ้นราคาตั๋วอยู่แล้ว และมึงก็คงไม่ได้บ้าขึ้นราคาคนเดียวอีกด้วย ถ้าน้ำมันมันแพงจริงอย่างที่อ้าง เพราะสายการบินฝรั่งมันก็ต้องขึ้นราคาอยู่แล้ว ถูกไหม ?? อย่ามาลาวหน่อยเลย ที่บอกว่าการบินไทยไม่ยอมขึ้นราคาตั๋วทั้งๆที่ต้นทุนแพง ถุย แค่น้ำมันขึ้นราคานิดๆหน่อยๆ เที่ยวบินในประเทศยังราคาขึ้นเอาๆไม่หยุดไม่หย่อน จนกูก็นั่งไม่ไหวแล้ว เอาเงินไปซื้อทองใส่ยังดีกว่าอีกสัด
    - ไม่ต้องไปโทษสวัสดิการพนักงานการบินไทยเลยมึง ตอนพวกพ่อมึงแปรรูป ก็บอกจะลดรายจ่ายขององค์กร ปรับองค์กรให้มีกำไรนี่ครับ นี่ก็แสดงว่าพ่อมึงแปรรูปแล้ว การบินไทยก็ไม่ได้ดีขึ้นอย่างที่พ่อมึงบอกใช่ไหม ?? อีกทั้งตั๋วสวัสดิการ มันไม่ได้เฮโลกัมาทุึกเที่ยวหรอกไอ้บ้า พูดจาโอเวอร์ และต่อให้มันมากันครบ ก็ไม่ได้ทำให้มันขาดทุนหรอกโว้ย มันคำนวนต่อเที่ยวต่อปีไว้ล่วงหน้าแล้ว อีกทั้งต่อให้สวัสดิการมันลดราคาได้ 20% และหากราคาตั๋วมากขึ้น ตั๋วลดราคาก็ราคาแพงขึ้นตามอีก โครงสร้างไม่ได้เสียเลยครับ อีกทั้งไม่มีองค์กรที่บริหารงานแบบเอกชนไหนหรอก ที่ปล่อยสวัสดิการให้พนักงานจนตัวเองต้องขาดทุนมหาศาล
   
3. แปลว่าถ้าส่งลูกๆพ่อแม้วไปแล้วการบินไทยไม่ขาดทุนรึ ??

4. เอะอะก็นักลงทุนหนี เว้อ อะไรว๊า

ทั้งหมดที่กล่าวมา แค่ข้อ 1 ผิด ที่เหลือมันก็ผิดทั้งหมดแหละครับ
ข้ออ้างน้ำมันแพง สีข้างแตกชิบหาย


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ScaRECroW ที่ 10-06-2008, 13:32
A340-500
 
Etihad Airways Airbus A340-500The A340-500 was introduced as the world's longest-range commercial airliner. It made its first flight on 11 February 2002, and was certified on 3 December 2002 with early deliveries to Emirates Airline. While the KC-10 Extender is the longest-ranged production aircraft, the A340-500 was the world's longest-range commercial airliner until the introduction of the Boeing 777-200LR in February 2006. The A340-500 can fly 313 passengers in a three-class cabin layout over 8,650 nautical miles (16,020 km). Singapore Airlines, for example, uses this model, in a 2-class, 181-passenger layout, for its Newark-Singapore nonstop route, a 17-hour, 45-minute "westbound" (really northbound to 70NM abeam the North Pole; then south from there across Russia, Mongolia and China); 18-hour, 30-minute eastbound, 15,345 km (8,285 NM) journey that is the longest scheduled non-stop commercial flight in the world[7]. By late June, 2008, Singapore Airlines will complete conversion of its 5 A340-500's to an all-Business Class configuration, with 100 seats, due to high-end passenger demand. The A340-500 is capable of traveling non-stop from London to Perth, Australia, though a return flight requires a fuel stop due to headwinds[8]. Also, Thai Airways International flies this model for its non-stop flights from Bangkok to Los Angeles and Bangkok to New York. Etihad Airways is a recent new customer. In the first transfer of A340-500's from one airline to another, TAM Brazilian Airlines has acquired two former Air Canada airplanes for use on its S&atilde;o Paulo-Frankfurt route, after Air Canada replaced them with Boeing 777LR's on its Toronto-Hong Kong route. A total of 33 A340-500's have been ordered by 6 airlines, with 26 delivered as of August, 2007.

Compared with the A340-300, the -500 features a 4.3 m fuselage stretch, an enlarged wing area, massive increase in fuel capacity (around 50% over -300), slightly higher cruising speed, larger horizontal stabilizer and smaller vertical tailplane. The A340-500/-600 has taxi cameras to help the pilots during ground maneuvers. The A340-500 is powered by four 53,000 lbf (236 kN) thrust Rolls-Royce Trent 553 turbofans.

The A340-500HGW (High Gross Weight) version with a range of 9,000 NM (16,700 km) and an MTOW of 380 tonnes is due to enter service in 2007 with Thai Airways International. It will use the strengthened structure and enlarged fuel capacity of the A340-600HGW. Kingfisher Airlines plan to use this model to operate nonstop flights from India to the United States.[9] The A340-500HGW is powered by four 56,000 lbf (249 kN) thrust Rolls-Royce Trent 556 turbofans.

The largest operator of this type is Emirates Airline, with 10 aircraft in service.

The direct Boeing equivalent is the 777-200LR, which entered service in February 2006, exceeding the A340-500 as the world's longest-range commercial airliner.

http://en.wikipedia.org/wiki/Airbus_A340

อันนี้จะบอกว่า สนธิมั่ว ที่บอกว่าเครื่องบินตกรุ่น



ข้างล่างนี่ไปดูฝรั่งวิเคราะห์กันบ้างครับ
http://www.flyertalk.com/forum/showthread.php?p=9843667
http://www.flyertalk.com/forum/showthread.php?t=829494


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-06-2008, 14:15

ก็แล้วทำไมการบินไทยสาย BKK-JFK (NY)-BKK ถึงได้ขาดทุน?

กรุณาลองใช้สมองคิดตามหน่อย....สมมุติว่าต้นทุน 4,000,000 บาทต่อเที่ยว รวมค่าน้ำมันที่ขึ้นมาอย่างบ้าเลือดอีกประมาณ 25-40% รวมต้นทุนทั้งหมดจะตกอยู่ที่ 5,000,000 - 5,600,000 บาท ค่าตั๋ว "ไป-กลับ" ของการบินไทยราคาตกประมาณ 63,000 บาทต่อที่นั่งชั้นประหยัด (และ 71,000 บาทต่อที่นั่งชั้นประหยัดพิเศษ 163,000 บาทต่อที่นั่งชั้นธุรกิจ 205,000 บาทต่อที่นั่งชั้นหนึ่ง)

รวมค่าตั๋วจากผู้โดยสารในชั้นประหยัดจำนวน 204 ที่นั่ง ต่อหนึ่งเที่ยวบิน (เที่ยวไป หรือ เที่ยวกลับเท่านั้น) ที่มีจำนวนอัตราผู้โดยสารนั่ง (Occupancy/Seating rate) เพียงแค่ 90 % จะรวมเงินได้ประมาณ 5,783,400 บาท ซึ่งนับว่าเป็นการคุ้มทุน (Breakeven) กับเที่ยวบินหนึ่งเที่ยว


แล้วทำไมการบินไทยสาย BKK-JFK (NY)-BKK ถึงได้ขาดทุน?

ความจริงที่ทำให้การบินไทยสาย BKK-JFK (NY)-BKK ขาดทุนก็คือ จำนวนผู้โดยสารที่ไม่ได้ซื้อตั๋ว หรือว่า ซื่อตั๋วในราคาที่ "ลดพิเศษ" (เนื่องจากเป็นสวัสดิการของพนักงานการบินไทย) ในแต่ละเที่ยวบินนั้นมีจำนวนมากมายสูงกว่า 20% ของจำนวนผู้โดยสารทั้งลำ (รวมทั้งหมดประมาณ 258 ที่นั่ง) ซึ่งจะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า รายได้จากค่าตั๋วโดยสารที่เก็บจากผู้โดยสารชั้นประหยัดนั้นจะตกประมาณ 4,626,720 บาท ซึ่งก็ต่ำกว่าตันทุนที่ตกอยู่ประมาณ 5,000,000-5,600,000 บาทแล้ว

ลองคิดดู....ถ้าเก็บเงินจากผู้โดยสารไม่ได้ตามที่คิดราคาค่าโดยสาร แล้วอย่างนี้ จะไม่ให้ขาดทุนได้อย่างไร?

จากคุณ : ทิศอุดร  - [ 9 มิ.ย. 51 20:43:31 A:125.25.11.75 X: ]


ราคาที่ล่าสุดของเที่ยวบินการบินไทยไปนิวยอร์ค (อ้างอิงข้อมูลจากเมื่อวันที่ 28 ของเดือนก่อนไมได้่นานเลย ที่อ้างจาการบินไทยไม่ได้เพราะปัจจุบันเที่ยวบินนี้มันชิบหายไปแล้ว !)

ราคาวีซ่านักเรียน
ตั๋วเที่ยวเดียว ราคา 36,455 บาท (รวมภาษีแล้ว)
ตั๋วไปกลับ ราคา 61,720 บาท (รวมภาษีแล้ว)

(นี่ขนาดลดแล้วเหรอ ?? สิงคโปร์แอร์ไลน์มันไม่ได้ลดซักบาท ราคามันยังพอๆกะมึงตอนลดราคาแล้วเลยนะ !!)

http://www.edc-travel.com/index.php?lay=boardshow&ac=webboard_show&Category=edc-travelcom&thispage=1&No=335904


ทีนี้มาดูของ Singapore Airlines ประเทศที่พวกเหลี่ยมชอบเอาไปอ้างกะราคาน้ำมันอยู่เสมอ
นี่คือราคาตั๋วแบบปกติ ไปกลับ ชั้นประหยัด ไม่ได้ลดซักบาทเดียว จากกรุงเทพ - นิวยอร์ค (ลงสนามบิน JFK เหมือนการบินไทยเป๊ะ)

ตั๋วไปกลับ ราคา 62,480 (รวมภาษีแล้ว)

ไปกดดูเอาเอง
http://www.singaporeair.com

สรุปแล้ว ไอ้ที่บอกว่าการบินไทยขาดทุนบักโกรก เพราะน้ำมันแพง ขึ้นค่าตั๋วไม่ได้ บินต่อไม่ไหว
แล้วไอ้สิงคโปร์แอร์ไลน์ หากวัดกันตรงๆแบบไม่มีส่วนลด สิงค์โปร์แอร์ไลน์ราคายังถูกกว่าการบินไทยซะอีก

และสิงคโปร์มันยังบินต่ออีกด้วย แสดงว่ามันบ้าเร๊อะ !!

ที่ลูกหาบแม้วบอกว่าใช้ Airbus นี่เจ๋งกว่าโบอิ้งอ่ะ
ืำสิงคโปร์มันใช้ โบอิ้ง 747-400 ไปนิวยอร์คหมดเลย มันไง่หรือเปล่าครับ !!
อยากถามลิ่วล้อแม้วจังเลยครับ ว่าทำไมสิงคโปร์มันยังบินต่อได้ ทั้งๆที่สายการบินมันสู้เราก็ไม่ได้ !!!
http://www.singaporeair.com/saa/en_UK/FlightInfo/ettQuery.jsp


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ABCAB ที่ 10-06-2008, 14:35
มายืนยันว่า route BKK-NewYork เริ่มบินเดือน May ปี 2005 ครับ


อ้างถึง


Skyrocketing oil prices have clipped Thai Airways International’s wings, forcing the flag carrier to retrench on its 10-year business plan, including possibly paring routes and new aircraft procurement.

“The airline’s revision will also include its revenue projection,” THAI president Apinan Sumanseni said yesterday.

“THAI’s revenue this year will fall short of the target of Bt210 billion,” he said.

The new plan will be finalised by next month, but the airline has already decided to close its long haul Bangkok-New York route in July and cut frequencies to Los Angeles, London, New Zealand and Johannesburg due to higher jet fuel expenses, he said.

On July 1, the New York station will be closed down and flights to Los Angeles will be reduced from seven a week to five.

“The company has already lost Bt4 billion per year for the two long-distance routes to New York and London,” he said.

The four A340-500s used to service the Bangkok-New York route will no longer be needed and sold off. The company bought the aircraft for $130 million (Bt4.3 billion) each.

The long-haul routes are struggling the most because they consume much more fuel.

The Bangkok-New York flight was launched in May 2005. The airline is running an average load factor of 80 per cent on the daily flights, but the return is still poor due to fewer premium seats. (Nation)

ที่มา: http://www.nationmultimedia.com/2008/06/07/business/business_30074952.php



และในปี 2005 (พศ.2548) นั้นเอง แนวโน้มการปรับตัวของราคาน้ำมันในตลาดโลก

เริ่มเข้าสู่วิกฤติแล้ว รวมถึงมีการตั้งกองทุนน้ำมันตั้งแต่ปี 2547

ดูข้อมูลด้านล่างเลยครับ



อ้างถึง

ราคาน้ำมันแพงขึ้น : กระทบอัตราเงินเฟ้อและกองทุนน้ำมันฯ ปี 2548
ปีที่ 10 ฉบับที่ 1644 วันที่ 7 กันยายน 2547 
--------------------------------------------------------------------------------

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

สืบเนื่องจากความไม่แน่นอนของสถานการณ์ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก ศูนย์วิจัยกสิกรไทยจึงได้ปรับประมาณการแนวโน้มราคาน้ำมันขายปลีกในประเทศ ทั้งนี้หากพิจารณาย้อนกลับไปจะพบว่า ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกค่อนข้างจะอ่อนไหวเป็นผลกระทบทั้งจากด้านอุปสงค์และอุทาน โดยปัจจัยด้านอุปสงค์ที่ส่งผลให้ราคาน้ำมันปรับขึ้นนั้น ได้แก่ แนวโน้มความต้องการน้ำมันทั้งโลกที่ปรับขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก ตลอดจนในช่วงที่เหลือของปีนี้ยังเป็นช่วงที่เข้าสู่ฤดูหนาว ซึ่งโดยปกติแล้วจะเป็นช่วงที่ความต้องการน้ำมันในตลาดโลกมักจะอยู่ในระดับสูง นอกจากนั้นแล้ว สำหรับปัจจัยเสี่ยงทางด้านอุปทาน (Supply Shocks) ประการอื่นๆ อาทิ ความไม่มั่นคงในอิรัก รวมถึงปัจจัยชั่วคราวจากปัญหาทางการเงินของบริษัทยูคอส และปัญหาความไม่สงบทางการเมืองในเวเนซุเอลา เป็นต้น ซึ่งก่อให้เกิดความตื่นตระหนกเกี่ยวกับความเป็นไปได้ที่โลกอาจจะเข้าสู่ภาวะขาดแคลนน้ำมัน จึงทำให้มีการเร่งกักตุนน้ำมันกันมากขึ้น อันสร้างแรงกดดันต่อภาวะราคาน้ำมันดิบให้ปรับตัวขึ้นอย่างมาก โดยราคาน้ำมันดิบเบรนท์เฉลี่ยเดือน ส.ค. แตะระดับ 43.2 ดอลลาร์สหรัฐฯ/บาร์เรล หรือคิดเป็นการเพิ่มขึ้น 45.1% จากระยะเวลาเดียวกันปีก่อน ขณะที่ราคาเฉลี่ยช่วง 8 เดือนแรกปีนี้ปรับขึ้นมาที่ 35.4 ดอลลาร์สหรัฐฯ/บาร์เรล หรือเพิ่มขึ้น 22.8% จากช่วงเดียวกันปี 2546 อย่างไรก็ตาม ราคาน้ำมันก็เริ่มอ่อนตัวลงตั้งแต่ปลายเดือน ส.ค.

นอกจากนี้ มาตราการตรึงราคาขายปลีกน้ำมันในประเทศของรัฐบาลที่มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 10 ม.ค. ปี 2547 โดยใช้กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงควบคุมราคาน้ำมันขายปลีกในประเทศให้ต่ำกว่าระดับราคาตามกลไกตลาด ด้วยเหตุผลสนับสนุนว่า เป็นการบรรเทาผลกระทบที่จะมีต่อระบบเศรษฐกิจและผู้บริโภค อย่างไรก็ตาม มาตรการดังกล่าวอาจส่งผลให้ประชาชนไม่ตระหนักถึงต้นทุนที่เกิดขึ้นจากราคาน้ำมันในตลาดโลกและความรับผิดชอบต่อภาระขาดดุลของกองทุนน้ำมันฯ ทำให้เกิดการบิดเบือนทางพฤติกรรมการบริโภคน้ำมันของประชาชนให้เป็นไปอย่างไม่ประหยัดได้ ดังจะเห็นได้จาก ปริมาณยอดขายปลีกน้ำมันในประเทศที่เพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่ต้นปี 2547 แม้ว่าราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกจะปรับตัวขึ้นก็ตาม โดยที่ปริมาณยอดขายน้ำมันเบนซินช่วง 5 เดือนแรกของปี 2547 เพิ่มขึ้น 5.4% สูงกว่าปริมาณยอดขายทั้งปี 2546 ที่เพิ่มขึ้น 4.2% และที่ 5.1% ในช่วง 5 เดือนแรก ขณะที่ปริมาณยอดขายน้ำมันดีเซลหมุนเร็วเพิ่มขึ้นมากถึง 10.9% ซึ่งเป็นอัตราสูงกว่าเมื่อเทียบกับอัตราการเพิ่มขึ้นของยอดขายทั้งปี 2546 (สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน)

ทั้งนี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยจึงได้ทำการปรับประมาณการฐานะกองทุนน้ำมันฯ รวมถึงราคาขายปลีกน้ำมันในประเทศและอัตราเงินเฟ้อปี 2547 และปี 2548 ภายใต้สมมุติฐานหลักๆ ในการประเมินผลกระทบ โดยสรุปแล้ว ผลที่ได้จากการคำนวณ บ่งชี้ว่ายอดขาดดุลของกองทุนน้ำมันฯ ที่เกิดจากการชดเชยราคาขายปลีกน้ำมันในประเทศ ภายใต้มาตรการตรึงราคาน้ำมันของภาครัฐบาล ปรับเพิ่มขึ้นเป็น 55.3 พันล้านบาท จากประมาณการเดิมที่ 31.8-35.8 พันล้านบาท

นอกจากนั้น ถ้าหากกองทุนน้ำมันฯ ต้องบริหารจัดการภาระที่เกิดจากการชดเชยราคาขายปลีกน้ำมันในประเทศระหว่างที่ราคาน้ำมันในตลาดโลกอยู่ในระดับสูง โดยที่ไม่มีการสนับสนุนในรูปแบบอื่นๆ เลย นอกเหนือไปจากรายรับที่เกิดจากการกำหนดราคาขายปลีกน้ำมันในประเทศให้ทรงตัวอยู่ในระดับที่สูงกว่าราคาตามกลไกตลาดเท่านั้น นั่นหมายถึงยอดภาระการขาดดุลดังกล่าวก็คงจะถูกผลักกลับมาให้ผู้ใช้น้ำมันร่วมกันรับผิดชอบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า ราคาขายปลีกน้ำมันจะยังคงปรับเพิ่มขึ้นอีกในปี 2548 เพื่อเก็บเงินคืนกองทุนน้ำมันฯ โดยราคาขายปลีกน้ำมันถ่วงน้ำหนักในประเทศคงเพิ่มขึ้น 10.7% จากปี 2547 มาที่ระดับเฉลี่ย 17.59 บาท/ลิตร ซึ่งเป็นอัตราที่สูงกว่าเมื่อเทียบกับปี 2547 ที่เพิ่มขึ้น 8.7% ถึงแม้ว่าราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกจะอ่อนตัวลงแล้วก็ตาม โดยที่ราคาน้ำมันดิบเบรนท์ปรับตัวลดลง 7.9% มาที่ระดับเฉลี่ย 35.0 ดอลลาร์สหรัฐฯ/บาร์เรล ในปี 2548 ตามสมมุติฐานที่ใช้ในการคำนวณ ทั้งนี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่าราคาน้ำมันที่ปรับขึ้นดังกล่าว คงจะส่งผลต่ออัตราเงินเฟ้อปี 2548 ให้ปรับขึ้นมาที่ 3.5% จาก 2.7% ในปี 2547 เช่นเดียวกัน ดังนั้น จะเห็นได้ว่ามาตราการตรึงราคาน้ำมัน เป็นเพียงการชะลอหรือเลื่อนระยะเวลาของผลกระทบจากต้นทุนน้ำมันแพงที่จะมีต่ออัตราเงินเฟ้อ ตลอดจนต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวมออกไปเท่านั้น

และยังเป็นที่น่าสังเกตอีกว่า ภายสภาพแวดล้อมที่รัฐบาลตัดสินใจยืดระยะเวลาการปรับสมดุลฐานะกองทุนน้ำมันฯ เป็นภายใน 3 ปี ก็อาจจะทำให้กองทุนน้ำมันฯ มียอดขาดดุลคงเหลืออีกประมาณ 50.9 พันล้านบาท ณ สิ้นปี 2548 ถึงแม้ว่าราคาน้ำมันดิบและสำเร็จรูปในตลาดโลกจะปรับลดลงก็ตาม ซึ่งสะท้อนภาพว่า ราคาขายปลีกน้ำมันในประเทศและอัตราเงินเฟ้อก็ยังมีแนวโน้มที่จะปรับสูงขึ้นได้อีกภายหลังจากปี 2548 ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ราคาน้ำมันในช่วงดังกล่าว  

ที่มา: http://www.scb.co.th/LIB/th/article/kra/2547/k1644.html




ทำให้เข้าใจได้ว่า การเปิด route BKK-NewYork นั้น

ผู้บริหารจะต้องทราบเป็นอย่างดีว่า มีความเสี่ยงเกี่ยวกับราคาน้ำมันเพียงใด

การเปิด route ดังกล่าว จึงมองได้เพียง 2 แง่

ว่าพร้อมจะรับมือกับราคาน้ำมันที่พุ่งสูงขึ้น และมองเห็นผลกำไรอยู่ตรงหน้า

หรือไม่พร้อม แต่ดึงดันเพื่อสิ่งใดไม่ทราบแน่ชัด




หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ABCAB ที่ 10-06-2008, 15:12
มูลค่าความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการปิด route ดังกล่าว


อ้างถึง


จำปีถอดใจ'ปิดรูต' กรุงเทพฯ-นิวยอร์ก ทนขาดทุนไม่ไหว 
"บินไทย"ถอดใจตั้งท่าเลิกบินตรงกรุงเทพฯ-นิวยอร์ค หลังขาดทุนปักโกรกทั้งนิวยอร์ค –แอลเอ ร่วม 5 พันล้าน เผยสองทางเลือกเลิก-ปรับรู้ตใหม่ แวะเมืองจีน เหตุแอร์บัส 340-500 กินน้ำมัน ขายได้เต็มลำก็ยังขาดทุน เตรียมโล๊ะให้อัฟริกาแอร์ไลน์ แต่หวั่นสิงคโปร์แอร์ไลน์ตัดหน้า แจงมีใบสั่งการเมืองซื้อเครื่องแอร์บัสก่อนหาเส้นทางบิน เผยเป็นมรดกสมัยรัฐบาลไทยรักไทย

เรืออากาศโท อภินันท์ สุมนะเศรณี กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) บจม. เปิดเผยกับ "ฐานเศรษฐกิจ" ว่ามีแผนที่จะยกเลิกเส้นทางบินตรงกรุงเทพฯ –นิวยอร์ค เนื่องจากที่ผ่านมาผลประกอบการขาดทุนมากไม่คุ้มกับค่าใช้จ่าย แม้จะขายตั๋วเครื่องบินเต็มลำก็ตาม ส่วนเครื่องบินแอร์บัสรุ่น เอ 340-500 ที่ใช้บินนั้น ขณะนี้มีสายการบินจากต่างประเทศได้ติดต่อเข้ามาขอซื้อแล้ว

"ถ้าขายได้ราคาเราก็อยากจะขาย แต่ก็กลัวโดนสิงคโปร์แอร์ไลน์ตัดหน้าเพราะเขาอยากจะได้เครื่องบินรุ่นนี้ด้วยเช่นกันแถมการบริหารของสิงคโปร์ก็คล่องตัวกว่าของเราที่มีขั้นตอนที่ยุ่งยากเพราะบริหารแบบรัฐวิสาหกิจ" ดีดี บจม.การบินไทยกล่าวและว่า

อย่างไรก็ดี ขณะนี้ยังมีอีกทางเลือกหนึ่งคือถ้าไม่เลิกบินก็ต้องปรับเส้นทางบินใหม่โดยต้องแวะเมืองจีน ซึ่งอาจจะเป็นปักกิ่ง หรือเชียงไฮ้ เพื่อขนผู้โดยสารจากจีนส่วนหนึ่งเข้านิวยอร์คโดยคาดว่าภายในตารางบินใหม่ (ซัมเมอร์สเก็ต) ที่จะเริ่มในเดือนเมษายนนี้น่าจะได้ข้อสรุป รวมทั้งจะปรับเส้นทางบินตรงกรุงเทพฯ –ลอสแองเจลิส ให้ไปแวะกรุงโซล ประเทศเกาหลี ด้วยเพื่อแก้ปัญหาการขาดทุน

ส่วนสาเหตุที่เส้นทางบินตรงกรุงเทพฯ-นิวยอร์คขาดทุนหนักนั้น ส่วนหนึ่งมาจากการใช้เครื่องบินที่กินน้ำมันมาก ต้องเติมเชื้อเพลิงมากเพราะเป็นการบินระยะยาว ซึ่งแม้จะขายตั๋วเต็มลำตลอดก็ไม่คุ้มทุน ส่วนตัวเลขขาดทุนนั้นอย่าบอกเลยว่าตัวเลขเท่าไร " ดีดี บจม.การบินไทยกล่าว

ด้านแหล่งข่าวระดับสูงจาก บจม. การบินไทย กล่าวเสริมว่า เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา พลเรือเอก บรรณวิทย์ เก่งเรียน ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ สมาชิกสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ (สนช.) ได้เรียก ร. อภินันท์ ดีดีบจม.การบินไทยเข้าไปชี้แจงกรณีปัญหาการขาดทุนของทั้งสองเส้นทางบินไปอเมริกา ซึ่งดีดีบจม.การบินไทยได้ระบุว่าสองเส้นทางบินนี้ขาดทุนปีละ 5,000 ล้านบาท

โดยแบ่งเป็น เส้นทางบินตรงเข้า ลอสแองเจลิส ขาดทุน 2,000 ล้านบาท ซึ่งการบินใช้เครื่องบินรุ่น แอร์บัส 340-600 ส่วนเส้นทางบินตรงเข้านิวยอร์คขาดทุน 3,000 ล้านบาท ใช้เครื่องบินรุ่น แอร์บัส 340-500

"ขณะนี้สายการบินอัฟริกันแอร์ไลน์ ได้ติดตามทาบทามเข้ามาเพื่อซื้อเครื่องบินรุ่นเอ 340-500 ที่ใช้บินเส้นทางบินตรงกรุงเทพฯ –นิวยอร์ค แต่ขณะนี้ฝ่ายบริหารยังไม่ได้ตัดสินใจ" แหล่งข่าวคนเดิมกล่าว

ทั้งยังระบุอีกว่า การเปิดเส้นทางบินตรงจากกรุงเทพฯ –นิวยอร์ค นั้นถือเป็นนโยบายที่ผิดพลาดมาตั้งแต่ต้นเพราะไม่มีใครบิน แม้ก่อนหน้านั้นสิงคโปร์แอร์ไลน์จะเปิดบินแต่ในที่สุดก็ยกเลิกไปแล้วเช่นกัน เนื่องจากไม่คุ้มและกำลังจะขายเครื่องบินรุ่นดังกล่าวออกจากฝูงบินไป

"เรื่องนี้เชื่อกันว่ามาจากใบสั่งทางการเมืองสมัย พรรคไทยรักไทย โดยมีนายทนง พิทยะ เป็นประธานบอร์ด บจม.การบินไทย มีนายกนก อภิรดี เป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (ดีดี) และได้สั่งซื้อเครื่องบินทั้งสองรุ่นนี้เข้ามา 8 ลำ แต่ยังหาเส้นทางบินที่เหมาะสมไม่ได้  เนื่องจากเครื่องบินรุ่นดังกล่าวเป็นเครื่องบิน พิสัยไกล  

สำหรับแนวทางในการเปิดเส้นทางบินใหม่ ตรงเข้านิวยอร์คในเส้นทางผ่านขั้วโลกเหนือหรือโพรารู้ต เข้านิวยอร์คโดยไม่แวะนั้น ใช้ระยะเวลาเพียง 16 ชั่วโมง 50 นาที จึงเกิดขึ้น

และมีการโปรโมทอย่างหนักว่า เป็นสายการบินเดียวที่ทำเวลาได้เร็วที่สุดและสั้นกว่าสิงคโปร์แอร์ไลน์ในราว 1 ชั่วโมง" แหล่งข่าวคนเดิมกล่าว

อนึ่งบจม.การบินไทยได้เริ่มเปิดเส้นทางบินตรงกรุงเทพฯ –นิวยอร์ค อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2548 ด้วยเครื่องบิน แอร์บัสเอ 340-500 จุผู้โดยสาร 215 ที่นั่ง

สัปดาห์ละ 3 เที่ยว แบ่งที่นั่งเป็น 3 คลาส คือ รอยัลซิลค์ มี 60 ที่นั่ง พรีเมียร์อีโคโนมี มี 42 ที่นั่งและ อีโคโนมีมี 113 ที่นั่ง ซึ่งสมัยที่นาย กนก อภิรดี เป็นดีดีได้สร้างรูปลักษณ์ใหม่อายตนะ จึงปรับที่นั่งให้กว้างขวางกว่าเดิม แต่ทำให้จุผู้โดยสารได้น้อยลงและเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ขาดทุนอย่างหนัก  

ที่มา: http://www.thannews.th.com/detialNews.php?id=T0121935&issue=2193




สรุปว่ามันซื้อเครื่องก่อน....ค่อยคิดว่าจะใช้กับ route ไหน

เรื่องนี้ใครกล้าเสนอหน้ารับผิดชอบ?

ทนง ลำไย เรอะ.....

ฝันไปเถอะ

ขนาด inside เรื่องเงินดอล ชาติเสียหายเป็นหมื่นล้าน มันยังไม่สำนึกเลย


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: room5 ที่ 10-06-2008, 15:23
,มารอฟังความคิดเห็นของmebeam....อีกที
[/size]


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: morning star ที่ 10-06-2008, 15:50


ไม่รู้ว่ะ.... ถ้าบอกว่าเส้นทางการบินเส้นนี้ขาดทุนใครรับผิดชอบ


โดยไม่ต้องฟังเหตุผล ก็ต้องบอกว่า ผู้บริหารต้องรับผิดชอบอยู่แล้ว

...

ประเทศชาติวุ่นวายอยู่นี่ก็เพราะผู้มีอำนาจไม่เคยมีความรับผิดชอบนี่แหละ โทษแต่คนโน้นคนนี้ไปเรื่อยเปื่อย
หน้าด้านไร้ยางอาย ทำผิดก็บิดเบือนเฉไฉ ปกป้องคนผิดเพราะเห็นแก่อำนาจเงินทอง



หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ABCAB ที่ 10-06-2008, 16:08

ไม่รู้ว่ะ.... ถ้าบอกว่าเส้นทางการบินเส้นนี้ขาดทุนใครรับผิดชอบ


โดยไม่ต้องฟังเหตุผล ก็ต้องบอกว่า ผู้บริหารต้องรับผิดชอบอยู่แล้ว

...

ประเทศชาติวุ่นวายอยู่นี่ก็เพราะผู้มีอำนาจไม่เคยมีความรับผิดชอบนี่แหละ โทษแต่คนโน้นคนนี้ไปเรื่อยเปื่อย
หน้าด้านไร้ยางอาย ทำผิดก็บิดเบือนเฉไฉ ปกป้องคนผิดเพราะเห็นแก่อำนาจเงินทอง




เหรอวะ เห็นด้วยกับความคิดเห็นของคุณว่ะ

:slime_bigsmile:



........................................................................


การจัดซื้อเครื่องบินรุ่นดังกล่าว เกิดตั้งแต่สมัยปี 2545 (2002 AD)

ก่อนเปิด route BKK-NewYork 3 ปี

ตอนนั้นใครเป็นรัฐบาลครับ?



อ้างถึง

ที่มา:หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ


แผนซื้อ"แอร์บัส"ก่อนเลือกตั้งฉลุย ชี้เกมต่อรองแลกส่งออกไก่-กุ้งไร้ผล

ปริศนาการเมืองไทย ก่อนการเลือกตั้งใหญ่ทีไรทุกรัฐบาลจะมีมติให้การบินไทยซื้อเครื่องบินลอตใหญ่มาทุกครั้ง ชี้ชัดรัฐบาล ไทยรักไทยอนุมัติสั่งซื้อเยอะที่สุดถึง 25 ลำ  วิจารณ์ขรม "ทักษิณ" ต่อรองแอร์บัส แค่เกมสร้างความชอบธรรม ชี้เกมต่อรองแลกส่งออกไก่-กุ้งไร้ผล

มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันอังคารที่ 23 พฤศจิกายนที่ผ่านมา ที่เห็นชอบให้บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) จัดซื้อเครื่องบินลอตใหม่ตามแผนวิสาหกิจ 5 ปี (ปีงบประมาณ 2548 ไปสิ้นสุดปี 2553) เพิ่มอีกอย่างน้อย 14 ลำ รวมมูลค่า 96,355 ล้านบาท ตอกย้ำกระแสวิพากษ์วิจารณ์ที่เกิดขึ้นในการบิน ไทยมาตลอดว่า ก่อนการเลือกตั้งใหญ่รัฐบาลจะเห็นชอบให้มีการจัดซื้อเครื่องบินลอตใหญ่ทุกครั้ง กรณีดังกล่าวเกิดขึ้นต่อเนื่องตลอดมา

โดยครั้งนี้ ครม.มีมติให้ซื้อเครื่องบินจากบริษัท แอร์บัส อินดัสตรี จำกัด รวม 8 ลำ ได้แก่ แอร์บัส A380 จำนวน 6 ลำ และแอร์บัส รุ่น A340-500 จำนวน 1 ลำ A340-600 จำนวน 1 ลำ จากบริษัท โบอิ้ง จำกัด อีก 6 ลำ เป็นโบอิ้ง รุ่น B777-200ER ทั้งหมด

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า รัฐบาลที่มีพรรคไทยรักไทยเป็นแกนนำยังเป็นรัฐบาลที่อนุมัติให้การบินไทยจัดซื้อเครื่องบินใหม่จากทั้งบริษัท แอร์บัส อินดัสตรี จำกัด และโบอิ้ง จำกัด มากที่สุดในประวัติศาสตร์ด้วยจำนวนถึง 25 ลำ มูลค่ารวมกว่า 127,000 ล้านบาท  

เมื่อการสั่งมอบเครื่องบินลอตนี้เสร็จสิ้นจะทำให้หลังสิ้นสุดแผนวิสาหกิจปี 2553 การบินไทยจะมีเครื่องบินแอร์บัสในฝูงบินรวม 49 ลำ และโบอิ้งรวม 47 ลำ โดยยังต้องผูกพันกับงบประมาณการซ่อมบำรุง การตกแต่งปรับปรุงอุปกรณ์ภายในเครื่องบิน ซึ่งยังต้องทยอยใช้เงินลงทุนครั้งละนับหมื่นล้านบาท

ก่อนหน้านี้เมื่อช่วงปี 2545 การบินไทยได้สั่งซื้อเครื่องบินจากบริษัท แอร์บัส จำกัด ล่วงหน้าไว้ 8 ลำ มูลค่ารวมประมาณ 13,200 ล้านบาท ได้แก่ แอร์บัส รุ่น A340-500 จำนวน 3 ลำ และ A340-600 จำนวน 5 ลำ ขณะนี้อยู่ระหว่างทยอยส่งมอบเข้าฝูงการบินไทยให้เสร็จสิ้นภายในปี 2549  

ขณะเดียวกันในช่วงปลายปี 2545 การบินไทยได้พิจารณาจัดซื้อเครื่องบินโบอิ้ง รุ่น B747-400 อีกจำนวน 3 ลำ เป็นการทบทวนแผนการสั่งซื้อที่รัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์เคยมีบทสรุปไว้ที่ 5 ลำ

รายงานข่าวระบุว่า ในช่วงปี 2539 สมัยพรรคชาติไทยเป็นแกนนำรัฐบาล ขณะนั้นการบินไทยมีแผนจัดหาเครื่องบินโดยการเช่าและเช่าซื้อ จาก บริษัทโบอิ้ง รวม 21 ลำ มูลค่ารวมกว่า 1.2 แสนล้านบาท แต่ไม่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จตามแผน จากนั้นพรรคความหวังใหม่เข้ามารับช่วงต่อ และมีมติในช่วงปี 2540 อนุมัติให้การบินไทยซื้อและเช่าซื้อเครื่องบินรวม 18 ลำ

ต่อมาในปี 2543 ช่วงปลายรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมในขณะนั้น ได้เสนอแผนจัดซื้อเครื่องบินโบอิ้ง รุ่น B747-400 จำนวน 5 ลำ ซึ่งต่อมาพรรคไทยรักไทยได้สั่งทบทวนใหม่

อย่างไรก็ตาม รายงานข่าวระบุอีกว่าในระบบการจะซื้อจะขายเครื่องบินในแต่ละสมัยที่ผ่านมา ประเด็นหลักที่รัฐบาลถูกตั้งคำถามมาตลอดคือ ตามหลักการซื้อขายสินค้าโดยทั่วไปรวมถึงการจัดซื้อเครื่องบิน จะมีผลประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ซื้อตามสัดส่วนแตกต่างกันไปตั้งแต่ 3-30% คำถามคือผลประโยชน์ดังกล่าวไปตกอยู่ที่ใด และเพราะเหตุใดจะต้องอนุมัติแผนจัดซื้อเครื่องบินก่อนเลือกตั้งทุกครั้งไป

เช่นเดียวกับการแถลงภายหลังการประชุม ครม.ในบ่ายวันอังคารเดียวกันของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ที่กล่าวว่าถึง ครม.จะอนุมัติตามข้อเสนอของการบินไทย แต่จะชะลอการลงนามกับบริษัทแอร์บัสและบริษัทโบอิ้งไว้ก่อน เพราะรัฐบาลต้องการนำไปเป็นข้อต่อรองการเจรจาส่งออกไก่ต้มสุกและกุ้ง กับประเทศฝรั่งเศส และประเทศในเครือสหภาพยุโรป รวมถึงสหรัฐอเมริกา

หลังจากนั้นเพียงวันเดียว ดร.ทนง พิทยะ ประธานบอร์ดการบินไทย กล่าวกับผู้สื่อข่าวภายหลังการประชุมบอร์ดการบินไทยอย่างอารมณ์ดี โดย ดร.ทนงมั่นใจว่าแผนจัดซื้อเครื่องบินจะลุล่วงไปด้วยดี เพราะกระทรวงพาณิชย์ได้เจรจาเรื่องการนำเข้าไก่ต้มสุก และกุ้งไว้เรียบร้อยแล้ว

เช่นเดียวกับนายกนก อภิรดี กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ การบินไทย กล่าวทำนองเดียวกันว่า ก่อนหน้านี้ พ.ต.ท.ทักษิณได้พบปะเจรจากับนายฌาก ชีรัก ประธานาธิบดีถึงความร่วมมือด้านต่างๆ ระหว่างไทยกับฝรั่งเศสและสหภาพยุโรปไว้เรียบร้อยแล้ว

ผู้สื่อข่าวรายงานอีกว่า หลังจากการเดินทางกลับจากประเทศฝรั่งเศสเมื่อ 2 เดือนที่ผ่านมา กลุ่มโรงแรมเครือแอคคอร์จากฝรั่งเศสก็ได้รับการพิจารณาให้เป็นผู้บริหารโรงแรมระดับ 5 ดาวในสนามบินสุวรรณภูมิ (หนองงูเห่า) ขณะเดียวกันรัฐบาลของทั้ง 2 ประเทศ ได้จัดตั้งองค์กรความร่วมมือไทย-ฝรั่งเศสขึ้น

เมื่อพิจารณาจากกรณีดังกล่าวทำให้นักธุรกิจในวงการการบินพากันตั้งข้อสังเกตกับ "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า การที่นายกฯ ทักษิณออกมากล่าวถึงข้อต่อรองเรื่องแผนจัดซื้อเครื่องบินแลกกับการส่งออกไก่ต้มสุกและกุ้งนั้น จะเป็นเพียงการสร้างความชอบธรรมให้กับตนเอง และเพื่อสะสมคะแนนนิยมในกลุ่มประชาชนก่อนการเลือกตั้งใหม่จะมาถึงหรือไม่

แหล่งข่าวในวงการส่งออกไก่ กล่าวกับ "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า ในส่วนของการส่งออกเนื้อไก่ไปสหภาพยุโรป (อียู) นั้น จนถึงวันนี้ไทยสามารถส่งออกได้แต่ไก่ต้มสุก ส่วนเนื้อไก่สดอียูยังไม่อนุญาตให้นำเข้า ตราบใดที่ยังมีการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกอยู่ แม้อียูบอกจะมาตรวจเพื่อความมั่นใจในเดือนกุมภาพันธ์ แต่ความหวังไทยที่จะส่งออกไก่สดได้หรือไม่ คงรอดูสถานการณ์การแพร่ระบาดในช่วงเดือนพฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม เพราะปัจจุบันไทยค่อนข้างเสียเปรียบประเทศบราซิล เพราะบราซิลมักประกาศว่า ไก่ของตัวเองเป็นไก่ปลอดโรค ทำให้มีความได้เปรียบตรงจุดนี้

เนื่องจากประเด็นการขอคืนสิทธิพิเศษ GSP ในสินค้ากุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งและผลิตภัณฑ์นั้น เป็นที่ทราบกันดีในหมู่ผู้เกี่ยวข้องแล้วว่า ภายใต้โครงการ GSP ฉบับใหม่ (2549-2558) สหภาพยุโรปพร้อมที่จะคืนสิทธิพิเศษสินค้าประมง รวมทั้ง "กุ้ง" ที่ถูกตัดสิทธิพิเศษ GSP ในโครงการรอบที่แล้วให้กับประเทศไทย เนื่องจากโครงการใหม่ทางสหภาพยุโรปได้เปลี่ยนวิธีคำนวณสิทธิพิเศษ GSP ใหม่ ด้วยการยกเลิกเกณฑ์ DI/SI หรือเกณฑ์ในการคำนวณจากดัชนีการพัฒนาประเทศ (development index) หารด้วยค่าดัชนีความชำนาญเฉพาะด้าน (specialization index) แต่หันมาใช้การคำนวณแบบส่วนแบ่งการตลาดแทน (หากมูลค่าการนำเข้าสินค้ารายการนั้นๆ สูงกว่าร้อยละ 15 ของมูลค่าการนำเข้าสินค้าในกลุ่มนั้น ภายใต้สิทธิพิเศษ GSP ทั้งหมด ก็จะถูกตัดสิทธิพิเศษทันที) การเปลี่ยนเกณฑ์การคำนวณดังกล่าว ทำให้รายการกุ้งของไทยกลับมาได้รับสิทธิพิเศษ GSP อีกครั้งหนึ่ง ในวันที่ 1 มกราคมที่จะถึงนี้

ส่วนกรณีของการส่งออกเนื้อไก่ไปยังสหภาพยุโรปนั้น ก็เป็นที่เข้าใจกันดีว่า สหภาพยุโรปยอมให้มีการส่งออกเฉพาะไก่ต้มสุก แต่ไม่อนุญาตให้นำเข้าไก่สดแช่แข็งจากไทย เนื่องจากไทยเป็นประเทศในกลุ่มที่มีการระบาดของโรคไข้หวัดนก ล่าสุด ทางสำนักงานคณะผู้แทนคณะกรรมาธิการยุโรปประจำประเทศไทยเองก็ได้ทำการเผยแพร่เอกสาร "No European Union Plans to Ban Export of Thai Cooked Chicken Products" ในวันที่ 24 พฤศจิกายนที่ผ่านมานี้ โดยมีสาระสำคัญอยู่ที่สหภาพยุโรปไม่มีแผนที่จะห้ามการนำเข้าไก่ปรุงสุกจากไทย เนื่องจากอียูได้ยืนยันอยู่เสมอว่า เนื้อไก่ปรุงสุกไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของคนและสัตว์ ดังนั้น อียูจึงไม่มีการตั้งข้อจำกัดในการนำเข้าสินค้าไก่ต้มสุก

"นั่นหมายความว่า การอนุมัติซื้อเครื่องบินแอร์บัสจำนวน 8 ลำของ ครม.ชุดนี้ ไม่เกี่ยวกับการเจรจาต่อรองให้ได้มาซึ่งสิทธิพิเศษ GSP ในสินค้ารายการกุ้ง หรือ การเปิดให้มีการนำเข้าไก่ต้มสุก เพราะสิ่งเหล่านี้สหภาพยุโรปได้ให้และเตรียมจะให้กับประเทศไทยอยู่แล้ว ความเป็นไปได้ในการเจรจาซื้อขายเครื่องบินครั้งนี้ก็คือ จะมีการแลกเปลี่ยนกับสินค้าเกษตรรายการอื่นๆ อีกหรือไม่ ตรงนี้ต่างหากที่เป็นเรื่องใหม่ที่รัฐบาลชุดนี้ควรจะทำ" แหล่งข่าวกล่าว




หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อย$
เริ่มหัวข้อโดย: Rule of Law ที่ 10-06-2008, 16:36
เห็นมั้ย  บักเล่อร์ตัวปลอม ngo แบบ non stop

นึกว่าจะอ้างข้อมูลหรูเริ่ดปานไหน  แค่เห็นในเว็บเสธแดง มันก็หลงไหลได้ปลื้ม
รีบงับ เหมือน.....รีบงับหญ้า  น่าอนาถ


เห็นไอ้พวกโชว์โง่ตามเว็บแล้ว ทุเรศลูกตา

ไอ้พวกบ้านี่ มีปัญญาทำได้อย่างเดียว โชว์ตัวเลขคำณวนเยอะๆ (แบบไอ้ป๋าหมาก)
หรือไม่ก็อุปโลกตัวเองว่า เป็น insider รู้ลึกอย่างนั้นอย่างนี้
แต่ logic นั้น หลอกได้แค่เด็กปัญญาอ่อน


ที่นายทิศอุดรพูดว่า  route นี้ขาดทุนเพราะมีพนักงานการบินไทยใช้ส่วนลดเยอะ ขอบอกว่า ง่าวที่สุดแล้ว

ถ้าจุดคุ้มทุนเที่ยวบินนี้อยู่ที่ cabin factor 90%.....  อันนี้ได้ยินมาจากหลายๆแหล่ง รวมทั้งที่นายทิศอุดรพูด
ผู้โดยสารส่วนลด 20% + ผู้โดยสารปรกติ 70%  แปลว่าอะไร

แปลว่า  ลากกันแทบตาย ก็หาผู้โดยสารตัวจริงได้แค่ 70-80% แค่นั้น ยังไม่คุ้มทุนตรงไหนเลย
สวัสดิการพนักงานส่วนลดนั่นน่ะ  มันขึ้นเครื่องไม่ได้ ถ้าตัวจริงมาขึ้นกันเต็ม เข้าใจมั้ย
แสดงว่ามันต้องมีที่ว่างมากพอถึง 20%  ไอ้พวกสวัสดิการมันถึงจะได้ขึ้น
ลองมาดูตอนพนักงานมานั่งรอ seat ว่างก่อนขึ้นเครื่องดูมั้ย ว่ามันเหมือนไปนั่งขอเค้ากินขนาดไหน


ไม่ใช่ว่าการบินไทยกันที่ 20% เอาไว้ให้สวัสดิการ.......  หายโง่ได้แล้ว



หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อย$
เริ่มหัวข้อโดย: Rule of Law ที่ 10-06-2008, 16:52
ประเด็นที่ mebeam ยกมา ก็ตรงดี

-- route บินตรง bkk jfk  สมควรเปิดหรือไม่
ตอบ.... ไม่สมควรอย่างยิ่ง

ตัวเลขจุดคุ้มทุน cabin factor 90% เป็นเรื่องที่ได้ยินกันมาโดยตลอด
ส่วนตัวเลขที่แท้จริงนั้น จะรู้ได้ก็ต่อเมื่อ คุณเป็นพนักงานการบินไทย ที่เป็นคนทำ feasibility เท่านั้น

ถามกลับว่า เฉพาะต้นทุน operating cost    flightนี้ ต้องหาคนนั่งถึง 90% จึงจะคุ้ม  แบบนี้สมควรลงทุนหรือไม่????
แล้ว overhead cost อีกล่ะ  จะเอาที่ไหนไป cover มันได้  ยังไงๆก็ไม่คุ้ม
singapore มันถึงเปลี่ยนกลยุทธ์ จากการบินตรงเป็นแบบแวะไง
แถมยังเปลี่ยนรุ่นเครื่องบินจาก 340 มาเป็น 747 ด้วย  เพราะมันเคยบินตรงด้วย 340 แล้ว ไม่รอดหรอก

ที่เป็นอย่างนี้ เพราะ nature ของเครื่องบิน type นี้เอง
ไม่ใช่ว่าบิน jfk ไม่ได้แล้ว tg จะเก็บไว้บินที่อื่นต่อ
ขืนเอาไอ้เครื่องรุ่นนี้บินต่อไปก็อิ๊บอ๋ายหมด เพราะจุดคุ้มทุนมันสูง
ต้องขายทิ้งเท่านั้น เพิ่งซื้อมาไม่ถึง 5 ปีเลย  แถมลงทุน modify cabin ไปตั้งเป็นร้อยๆล้าน

ถ้าไม่เชื่อ เดี๋ยวจะ capture ประกาศขายเครื่องรุ่นนี้ของ tg มาให้ดู


2. เมื่อมันไม่สมควรลงทุนเปิด แล้วทำไมถึงเปิด เปิดแล้วก็ต้องใช้เครื่องรุ่นนี้บิน

แล้วไอ้รัฐบาลหน้าไหนล่ะ ที่มันอยากจะอนุมัติจัดซื้อเครื่องรุ่นนี้จนตัวสั่น

บอกว่าแปรรูปรัฐวิสาหกิจแล้ว การบริหารงานจะดีขึ้น ถุยส์...
ก็ยังคงต้องให้พ่อๆแม่ๆมาอนุมัติซื้อเครื่องบินเพื่อหาแดกอยู่เนอะ

ประธานบอร์ดตอนนั้น คือนายลำไย ใช่หรือไม่???  มีไอ้ทากตัวหนึ่งครองเมืองอยู่ใช่มั้ย??




หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อย$
เริ่มหัวข้อโดย: paper punch ที่ 10-06-2008, 17:19
เห็นมั้ย  บักเล่อร์ตัวปลอม ngo แบบ non stop

นึกว่าจะอ้างข้อมูลหรูเริ่ดปานไหน  แค่เห็นในเว็บเสธแดง มันก็หลงไหลได้ปลื้ม
รีบงับ เหมือน.....รีบงับหญ้า  น่าอนาถ


เห็นไอ้พวกโชว์โง่ตามเว็บแล้ว ทุเรศลูกตา

ไอ้พวกบ้านี่ มีปัญญาทำได้อย่างเดียว โชว์ตัวเลขคำณวนเยอะๆ (แบบไอ้ป๋าหมาก)
หรือไม่ก็อุปโลกตัวเองว่า เป็น insider รู้ลึกอย่างนั้นอย่างนี้
แต่ logic นั้น หลอกได้แค่เด็กปัญญาอ่อน


ที่นายทิศอุดรพูดว่า  route นี้ขาดทุนเพราะมีพนักงานการบินไทยใช้ส่วนลดเยอะ ขอบอกว่า ง่าวที่สุดแล้ว

ถ้าจุดคุ้มทุนเที่ยวบินนี้อยู่ที่ cabin factor 90%.....  อันนี้ได้ยินมาจากหลายๆแหล่ง รวมทั้งที่นายทิศอุดรพูด
ผู้โดยสารส่วนลด 20% + ผู้โดยสารปรกติ 70%  แปลว่าอะไร

แปลว่า  ลากกันแทบตาย ก็หาผู้โดยสารตัวจริงได้แค่ 70-80% แค่นั้น ยังไม่คุ้มทุนตรงไหนเลย
สวัสดิการพนักงานส่วนลดนั่นน่ะ  มันขึ้นเครื่องไม่ได้ ถ้าตัวจริงมาขึ้นกันเต็ม เข้าใจมั้ย
แสดงว่ามันต้องมีที่ว่างมากพอถึง 20%  ไอ้พวกสวัสดิการมันถึงจะได้ขึ้น
ลองมาดูตอนพนักงานมานั่งรอ seat ว่างก่อนขึ้นเครื่องดูมั้ย ว่ามันเหมือนไปนั่งขอเค้ากินขนาดไหน


ไม่ใช่ว่าการบินไทยกันที่ 20% เอาไว้ให้สวัสดิการ.......  หายโง่ได้แล้ว



มายืนยันเรื่องสวัสดิการพนักงานที่คุณYoYoว่าไว้ครับ เพราะมีประสบการณ์ตรงกับภรรยาต้องบินคนละ flight มาแล้ว
ไม่มีสายการบินไหนเค้าโง่กันที่ให้พนักงานถึง20%ของจำนวนที่่นั่งทุกเที่ยวบินหรอกครับ พูดยังกับขึ้นรถทัวร์ฉิ่งฉับงั้นแหละ


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: mebeam ที่ 10-06-2008, 17:59
ติดใจหลายทีแล้วครับ ว่า เห็นบอกว่า การบินไทยได้รับใบสั่งจากนักการเมือง
นี่มันเป็นยังๆไงครับ   "แบบว่า การดำเนินงานของการบินไทยนี่ไม่ได้มีแผนขยายงานเลย
ไม่เคยคิดเลย ว่าจะเพิ่มสายการบินไปทางไหนมั่งที่จะทำให้บริษัทเจริญขึ้น จะต้องซื้อเครื่องบินอีกกี่ลำ "

   แบบว่านักการเมืองเข้ามาบอกเลยว่า เฮ้ย DD อั๊วจะซื้อเครื่องบิน 8 ลำ หาเส้นทางให้วิ่งหน่อยดิ
ผมว่าแผนนะมันมี มันถูกเขียนโดยคนของการบินไทย  ว่าจะมีโครงการซื้อ เครื่องเพิ่มอีกกี่ลำบินไปไหนมั่ง
ส่วนจะได้ซื้อ ไม่ได้ซื้อนักการเมืองก็มีส่วน  และยังใช้มันต่อรองด้วย 
  " คุณเชื่อจริงๆ หรอ ว่า นักการเมืองตัดสินใจซื้อเครื่องบิน 8 ลำ เป็นหมื่นล้าน โดยไม่รู้ว่าจะใช้วิ่งไปไหน "
    ผมไม่เชื่อไปกับคุณด้วยหรอก

  ส่วนนักการเมือง มีผลประโยชน์พิเศษไหม
    คุณว่ามี  ผมว่าไม่มี  คุณหาหลักฐานได้ไหมเรื่องทุจริต
    ผม น่ะหาไม่ได้หรอกเรื่องไม่ทุจริต  ไม่มีอะไรยืนยันได้สักอย่างว่าไม่ทุจริตแน่นอน จบแล้วนาเรื่องทุจริต คุณว่าโกง ก็ โกงแล้วกัน
    ( แต่ถึงมีทุจริต กี่คงไม่เยอะเท่าที่คุณสนธิกล่าวไว้หรอก ค่าคอม หมื่นล้าน เพราะเครื่อง 8 ลำแค่ 13,200 ล้านเอง )
     
 
    เรื่องเครื่องบิน และเส้นทาง
     
        เท่าที่อ่านหลายๆข้อมูลดูแล้ว  แผนการบินเส้นนี้ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดคือ

      เราต้องการทวงความเป็นหนึ่งด้านการบิน ในภูมิภาคนี้
     ใจถึงสุดๆแล้วครับ  บินตรง  LA  NY  BKK
      ถ้าเราไม่เกิดเส้นนี้ เราต้อง ยอมสิงค์โปร์ ให้เขาเป็นศุนย์กลางการบิน
      ยอมได้มั๊ยครับ   ( วันนี้ยอมแล้ว )

     เรื่องเครื่องบิน ถ้าไม่ใช่รุ่นนี้ ลองบอกผมซิ จะใช้รุ่นไหน ( อย่าลื้มเช็ค วันผลิตด้วยนา )


       ปัจจัยที่ทำให้ต้องยกเลิก

          คนคิดแผนเส้นทาง คิดไม่ถึงว่า ผ่านไป 3 ปี น้ำมันมันจะขึ้นเกือบ 3 เท่า ( ผมก็คาดไม่ถึงหรอก )
          แล้ววันนี้ถ้าจะเขียนแผนเส้นทางจะเผื่อ ยังไงนี่  สงสัยคิดน้ำมันดิบที่ 450 ดอล/บาเรล แหงเลย

         
ลองอ่านเรื่องสมัยที่เปิดบริการดูนะครับ

บินไทยเปิดเที่ยวบิน'กทม.-นิวยอร์ก'เร็วสุด16.50ชม[/size]

การบินไทยเปิดเที่ยวบินกรุงเทพฯ-นิวยอร์ก สัปดาห์ละ 6 เที่ยวบิน ใช้เวลา 16.50 ชม.ใช้เครื่องใหม่หมดแบบแอร์บัส 340-500 ฟุ้งใช้เวลาบินไปนิวยอร์กเร็วที่สุดในภูมิภาค
นายกนก อภิรดี กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2548 การบินไทยเปิดจุดบินใหม่ โดยจะทำการบินในเส้นทางไป-กลับ กรุงเทพฯ-นิวยอร์ก สัปดาห์ละ 6 เที่ยวบิน ยกเว้นวันจันทร์ ด้วยเครื่องใหม่ทั้งหมดแบบแอร์บัส 340-500 โดยจะใช้เวลาการบิน 16.50 ชม. โดยนับเป็นสายการบินที่ใช้เวลาบินไปนิวยอร์กเร็วที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  และภายในเครื่องบินจะตกแต่งด้วยเอกลักษณ์ใหม่และอุปกรณ์สาระบันเทิง ซึ่งผู้โดยสารสามารถเลือกชมได้ด้วยตัวเอง ผ่านจอวิดีโอส่วนตัวทุกที่นั่ง

การบินไทยตั้งเป้าหมายจะมีนักท่องเที่ยวและนักเดินทางจากสหรัฐเดินทางเข้าสู่ประเทศไทยเพิ่มขึ้น จากปีละ 450,000 คน เป็นประมาณ 650,000 คนต่อปี และในช่วงปีแรกจะมีผู้โดยสารประมาณร้อยละ 70 ต่อไฟล์ และจนถึงปีที่ 2 จะมีผู้โดยสารประมาณร้อยละ 75-80 ต่อไฟล์

สำหรับการแบ่งชั้นที่นั่งเที่ยวบินกรุงเทพฯ-นิวยอร์ก จะแบ่งเป็น 3 ชั้น รวม 215 ที่นั่ง คือ ชั้นรอยัลซิล หรือชั้นธุรกิจ 60 ที่ ราคา 111,000 บาทต่อที่นั่ง ชั้นพรีเมียม อีโคโนมี 42 ที่นั่ง ราคา 45,000 บาทต่อที่นั่ง และชั้นประหยัด 113 ที่นั่ง ราคา 34,000 บาท

"การบินไทยมั่นใจว่าเที่ยวบินกรุงเทพฯ-นิวยอร์ก จะได้รับความสนใจจากนักเดินทาง เนื่องจากตั้งเป้าหมายว่า จะดึงนักเดินทางจากรอบกรุงเทพฯ เส้นฮานอย โฮจิมินห์ และจุดอื่น ๆ ในภูมิภาคมาใช้บริการเที่ยวบินกรุงเทพฯ-นิวยอร์ก ที่กรุงเทพฯ เนื่องจากเป็นเที่ยวบินที่ใช้เวลาสั้นที่สุดในภูมิภาคนี้ และยังมีที่นั่งชั้นประหยัดประมาณครึ่งต่อครึ่งกับรอยัลซิล และอีโคโนมี ซึ่งจะทำให้กำไรต่อที่นั่งการบินไทยอยู่ในสัดส่วนที่สูงกว่าเที่ยวบินปกติ"นายกนกกล่าว  
http://www.komchadluek.net/breaking/readbkk.php?lang=th&newsid=55931


กรุงเทพฯ-นิวยอร์ก

อมรศักดิ์ พงศ์พศุตม์

เพียง 3 เดือน (เริ่ม 1 พ.ค. 2548) ที่การบินไทยเปิดเที่ยวบินใหม่ กรุงเทพฯ-นิวยอร์ก 16 ชั่วโมงบิน (แบบ non-stop) นับว่าประสบความสำเร็จ และได้รับความนิยมค่อนข้างดี (เกินคาด)


สังเกตได้จากเที่ยวบินที่ผู้เขียนต้องออกแรงจอง เพราะตั๋วโดยสารเกือบเต็มทั้งเที่ยวไปและกลับ ซึ่งคลาคล่ำไปด้วยผู้โดยสารต่างชาติราว 50%+นักเรียนไทยในอเมริกา (ฝั่ง East Coast) ก็นิยมใช้บริการ+นักธุรกิจและนักท่องเที่ยว (เช่นผู้เขียน) ก็ชอบการบินแบบ non-stop เช่นกัน!

เที่ยวบิน TG 790 (ขาไป) และ TG 791 (ขากลับ) นับเป็นที่จับตาของหลายๆ ฝ่าย ว่าจะประสบความสำเร็จ? เพราะก่อนหน้านี้ สิงคโปร์แอร์ไลน์ส (คู่แข่งสำคัญ) ก็ยังล่าถอย นัยว่าไม่คุ้มค่าในเชิงธุรกิจ!

ในภาพรวม…ในสายตาของผู้เขียน ภายหลังจากที่ได้แวะเข้าไปชิม (ใช้บริการ) แล้ว ขอให้คะแนน ‘สอบผ่าน’ ด้วยเกรดค่อนข้างสูง (A- )…จึงใคร่ขอถือโอกาสประชาสัมพันธ์แก่เที่ยวบินดังกล่าว และขอเชิญชวนพวกเราหันมาทดลองใช้บริการ ‘กรุงเทพฯ-นิวยอร์ก' ด้วยความภูมิใจ และมั่นใจว่า ถ้าการบินไทยของเราปรับแนวการให้บริการ/การตลาดใหม่ๆ จ๊าบๆ แบบนี้ อย่างต่อเนื่อง เราน่าจะมีโอกาสสูงที่จะทวงคืนตำแหน่งเบอร์หนึ่งแห่งสายการบินของโลกได้ในอนาคตอันใกล้นี้!

1. กรุงเทพฯ - นิวยอร์ก… 16 ชั่วโมงบินผ่านขั้วโลกเหนือ

ขั้วโลกเหนือ เป็นจุดที่สนามแม่เหล็กของโลกมีพลังดึงดูดให้เข็มทิศของเครื่องบินทำงานผิดปกติได้…ดังนั้นในอดีต (ยุคโลว์เทค) จึงไม่ค่อยมีสายการบินใดกล้าเสี่ยง (ในอดีต) ทั้งๆ ที่เป็นเส้นทางที่ใกล้กว่าการบินในระนาบเส้นศูนย์สูตร (Equator)

การเปิดเส้นทางบินใหม่ (TG 790 และ TG 791 ตั้งแต่ 1 พ.ค. 2548) ด้วยเครื่องบิน Airbus A 340 ไฮเทคลำใหม่เอี่ยม นอกจากจะถือเป็นมิติใหม่ในเชิงการเปิดเกมรุกทางการตลาดแล้ว ยังมีส่วนในการยกระดับและสร้างภาพพจน์ในเชิงการแข่งขันได้อย่างมีสีสัน ซึ่งถือเป็นหมากสำคัญตัวหนึ่งในกระดาน ที่จะนำพา ‘การบินไทย’ ก้าวไปสู่จุดหมายของความเป็นหนึ่งได้

เที่ยวบินนี้ มีดี (และไม่ดี) อะไร…เราลองคลี่ม่านเข้าไปดูกันดีกว่า!

ตัวเครื่องบิน (A-340 รุ่นใหม่) ที่ใหม่ถอดด้ามทั้งตัวเครื่องบินและเก้าอี้ที่นั่ง (ใหม่ทันสมัย) ผนวกกับสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ มากมาย เช่น เก้าอี้ของห้องโดยสาร ชั้น Royal Silk Class (ซึ่งเทียบได้กับ Business Class ทั่วไป) ซึ่งสามารถปรับเอนได้ถึง 3 ระดับ จนถึงขั้นเกือบแบนราบเป็นเตียงนอน ซึ่งเป็นระนาบใกล้เคียงกับเก้าอี้นั่งชั้น First Class เลยเชียว+ผนวกกับสิ่งอำนวยความสะดวกที่ทันสมัย และไฮเทค เช่น จอทีวี (รุ่นใหม่) และภาพยนตร์ให้เลือกดูถึง 30-40 เรื่อง+ฟังเพลงใหม่ๆ ได้หลายอัลบั้ม หลาย Version+สามารถกดดูแผนที่อากาศ และตำแหน่งเครื่องบินได้เองตลอดเวลา…เรียกว่าสำราญหู สำราญตา อย่างจุใจเลยเชียว

ราคา ค่าโดยสารชั้น Royal Silk Class ไปกลับประมาณ 185,000 บาท ซึ่งเป็นโปรแกรมโปรโมชั่น (แบบซื้อ 1 แถม 1) ซึ่งนับว่าคุ้มค่ากับคุณภาพและบริการ (ที่ดีเยี่ยม)…สำหรับราคา Premium Economy ราคา 60,400 บาทชั้น Executive และ Economy ก็ถูกลงลดหลั่นกันลงมา

บริการ อาจจะเป็นเพราะต้องการโปรโมทเส้นทางสายนี้หรือเปล่า…การบินไทย จึงอัดทั้งแคมเปญ และบริการต่างๆ อย่าง จุใจ (take care พิเศษอย่างดี ตั้งแต่การแยกเคาน์เตอร์ Check-in พร้อมให้บริการอย่างรวดเร็ว โดยระดมสรรพกำลังมาคอยต้อนรับและบริการอย่างอุ่นหนาฝาคั่ง ทั้งบนดินและบนเครื่อง) จุปาก (กับคุณภาพอาหารที่อร่อยและดี มีคุณภาพ และให้เลือกได้มากเป็นพิเศษ) จุตา (ชมภาพยนตร์ทางจอทีวี ที่แยกพิเศษให้แต่ละที่นั่ง) และจุหู (คือจะได้ยินเสียงอันไพเราะของแอร์โฮสเตสที่คอยเดินถาม/เดินเสิร์ฟอาหารและเครื่องดื่มกันจ้าละหวั่น) ฯลฯ

พูดถึง แอร์โฮสเตส ปรากฏว่าเที่ยวบินนี้ (เข้าใจว่า) ได้คัดเลือก พนักงานที่มีคุณภาพและประสบการณ์ค่อนข้างดี ดังนั้น ผลงานจึงประทับใจ จอร์จมากๆ เลย…ซึ่งถ้าจะให้เทียบเคียงกับ แอร์โฮสเตส ในชั้น First Class ของเที่ยวบินอื่น (ซึ่งมีประสบการณ์ (อายุ) สูงมาก) ต้องบอกว่า แอร์โฮสเตสของชั้น Royal Silk Class ของเที่ยวบินนี้ (ซึ่งมีประสบการณ์ (อายุ) แค่ปานกลางค่อนข้างสูง)…ผู้เขียนต้องขอโหวตให้กับเที่ยวบิน TG 790, 791 อย่างขาดลอย…แฮ่ๆ แต่ถ้าจะให้ดีกว่านี้ ทาง การบินไทย น่าจะยอมให้มี แอร์โฮสเตสที่เพิ่งจบ+บุคลิกดี+(แต่) มีประสบการณ์ (อายุ) ย่อมเยาลงมา ก็จะชื่นใจต่อผู้โดยสารยิ่งกว่านี้มั่กมากเลยครับ แฮ่ม!

(4) นักบิน อันนี้ต้องขอชู 2 หัวแม่โป้งให้เลย เพราะ(เข้าใจว่า) การบินไทย คงคัดสรรสุดยอดฝีมือมาเป็นกัปตันของเที่ยวบินพิเศษนี้ จึงบินได้นุ่มนวล ปลอดภัยมากๆ โดยเฉพาะตอนแตะลงรันเวย์นั้น ถือว่านุ่มนวลประมาณ Smooth as Silk เลยเชียว แฮ่ม!+เทียบแล้วสู้กับนักบินฝรั่งของสายการบินใหญ่ๆ เช่น British Airways, Quantas เป็นต้น ได้สบายมาก !

(5) ปัญหา ของเที่ยวบินนี้ ซึ่งเป็นประเด็นปลีกย่อยก็คือ

การบินที่ต่อเนื่องยาวนาน (16 ชั่วโมง) อาจทำให้ผู้โดยสารอ่อนเพลียได้บ้าง

การเตรียมอาหาร 2 มื้อหลัก + อีก 1 มื้อย่อย พร้อมเครื่องดื่ม/น้ำใช้ (ห้องน้ำ) และน้ำมันเชื้อเพลิงให้เพียงพอ ต่อการบินแบบ non-stop ก็อาจทำให้เครื่องบินต้องแบกน้ำหนักมากไปนิด…แต่ การบินไทย ก็ให้บริการในส่วนนี้ได้ดี ไม่ขาดตกบกพร่องใดๆ

การแยกเคาน์เตอร์ เพื่อตรวจเช็คกระเป๋าอย่างละเอียดลออ เพราะเป็นกฎเกณฑ์ของทุกเที่ยวบินที่ต้องบินเข้าสู่อเมริกา ซึ่งเขาต้องเช็คละเอียดและปลอดภัยตั้งแต่ต้นทาง…ทำให้ผู้โดยสารต้องหงุดหงิดบ้างงงง !

2. กรุงเทพฯ-นิวยอร์ก…ในมุมภาษี

แฮ่ๆ…พอพูดถึงมุมภาษี ก็อาจจะทำให้มู้ดที่สดใส และรอยยิ้มอันละไม มีอันต้องหดหายสลายลงพลัน

ถ้าพิจารณาแยกกลุ่มจากผู้โดยสาร จะพบว่ามีอยู่ 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ นักท่องเที่ยว นักธุรกิจ และนักเรียน ซึ่งล้วนมีส่วน เกี่ยวโยงกับภาษีอากรทั้งสิ้น จึงจำต้องศึกษาและเข้าใจในหลักเกณฑ์ และสิทธิประโยชน์ทางภาษีไว้บ้าง เพื่อมิให้เกิดการผิดพลาดและเสียเปรียบต่อคู่แข่งขัน ดังนี้ครับ

นักท่องเที่ยว ทุกประเทศที่เราจะเดินทางไปท่องเที่ยว มักกำหนดข้อห้ามมิให้นำเข้าวัตถุ สิ่งของ ต่างๆ แตกต่างกันออกไป เช่น อาหาร พืชผัก ผลไม้ เมล็ดพันธุ์ต่างๆ (เพราะกลัวการแพร่เชื้อ) นอกจากนั้น อาจกำหนดให้ต้องแจ้งยอดเงินตราที่มากเกินข้อกำหนด ให้ต้องสำแดงต่อทางการด้วย…การฝ่าฝืน นอกจากจะถูกปรับทางแพ่งและถูกยึดริบสิ่งของแล้ว อาจต้องโทษอาญาด้วย ดังนั้น นักท่องเที่ยวต้องอ่านรายละเอียดของเอกสารที่ต้องกรอกข้อความต่างๆ ให้ถี่ถ้วน เพื่อยื่นต่อเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองและศุลกากร ของแต่ละประเทศ

ในทางกลับกัน เมื่อเดินทางกลับเข้ามาในประเทศไทย หากซื้อเครื่องใช้ เครื่องไฟฟ้า (ชิ้นใหญ่) ซึ่งเข้าหลักเกณฑ์ที่ต้องเสียอากรขาเข้าก็ควรเปิดเผย เพื่อมิต้องถูกปรับจำนวนมาก… ดังนั้น นักท่องเที่ยว (ที่มือเติบ) จึงต้องวางแผนการจับจ่ายให้เหมาะสมโดยตรวจสอบจากพิกัดอัตราอากรขาเข้า ซึ่งจำแนกไว้ 97 ประเภท และภาค 4 ของพิกัด (ซึ่งเป็นเรื่องของสินค้าที่ได้รับยกเว้นอากร) เช่น ของที่นำเข้าชั่วคราวและจะส่งกลับออกไปใน 6 เดือน อาทิ ของใช้ในการแสดง รถยนต์ เครื่องถ่ายรูป เป็นต้น และของส่วนตัวที่เจ้าของนำเข้ามาพร้อมกับตน เพื่อใช้เอง หรือใช้ในวิชาชีพ และมีจำนวนพอสมควรแก่ฐานะ ฯลฯ

นักเรียน นักศึกษา ปัจจุบันนิยมไปเรียนกันมากที่ อเมริกา ยุโรป และออสเตรเลีย ฯลฯ บางคน (พ่อแม่) ร่ำรวย ก็สบายตัว แต่ส่วนใหญ่คงต้องทำงาน (ในต่างประเทศ) เพื่อหาเงินเล่าเรียน

กรณีของ ‘คุณหนู’ ซึ่งรับจ้าง…เอ๊ย รับเงินจากคุณพ่อคุณแม่…กฎหมายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา แทบทุกประเทศ จะบัญญัติให้ยกเว้นภาษี (เช่น มาตรา 42 (10) ของประมวลรัษฎากรของไทย ถือเป็นเงินได้ที่ได้รับจากการอุปการะตามหน้าที่ธรรมจรรยา)

กรณีจะต่างจากของ ‘ก๋วยเจ๋ง’ ซึ่งปากกัดเท้าถีบ…ทำงาน (ร้านอาหารไทยในอเมริกา) พร้อมเรียนปริญญาโท…โชคดีที่อนุสัญญาภาษีซ้อนไทย-อเมริกา บัญญัติยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ใน USA ไว้ ถึง 3 ลักษณะด้วยกัน คือ

เงินที่ได้รับจากไทย เพื่อเป็นการครองชีพ การศึกษา การเล่าเรียน การค้นคว้าวิจัย หรือการฝึกอบรมของผู้นั้น

ทุน เงินอุดหนุน หรือเงินรางวัล

เงินได้จากการทำงานในอเมริกาในจำนวนไม่เกินปีละ 3,000 USD

กรณีของ ‘ก๋วยจั๊บ’ ซึ่ง (สมมติว่า) เป็นพนักงานของบริษัท มือถือชื่อดัง จำกัด ถูกส่งไปอบรมดูงานหรือศึกษา MBA ในต่างประเทศ นั้น แม้จะได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ในอเมริกา…แต่ ‘ก๋วยจั๊บ’ ต้องเสียภาษีในประเทศไทย ตามมาตรา 41 วรรคหนึ่งแห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจากเข้าลักษณะเป็นเงินได้ เนื่องจากกิจการของนายจ้างในประเทศไทย

นักธุรกิจไทย ซึ่งต้องถือเป็นระดับอินเตอร์ฯ แล้วน่ะ (ไม่ว่าจะเป็นระดับบิ๊กๆ ของบรรษัทข้ามชาติ หรือ CEO ของ SMEs ก็เถอะ) เพราะการบินเหินฟ้าไปมา ระลอกละ 16 ชั่วโมง เนี่ย ทั้งเหนื่อย ทั้งเพลีย และเสียเวลามั่กมาก ซึ่งถ้าไม่คุ้มหรือคาดว่าจะไม่คุ้มในอนาคต รับรองว่า พ่อค้าเหล่านี้ไม่ยอมอดตาหลับขับตานอนแบบนี้แน่ๆ !

มุมภาษีของนักธุรกิจ (อินเตอร์) เหล่านี้ มีหลายเหลี่ยมหลายแง่ หลายมิติ ที่มิอาจมองข้าม ดังนี้ครับ (เช่น)…

ปัญหาความซ้ำซ้อนของภาระภาษีเงินได้นิติบุคคล จากการจัดหน่วยภาษี (tax entity) ซึ่งจะเกี่ยวพันกับหลักของแหล่งเงินได้ (Source Rule) และหลักของถิ่นที่อยู่ (Source Country) และการได้สิทธิประโยชน์ทางภาษี (ลด/ยกเว้นภาษี) ตามอนุสัญญาภาษีซ้อน (Double Taxation Agreement (DTA)) เช่น กรณีส่งสินค้าไปขายยังต่างประเทศ ควรจะทำสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาดในประเทศแหล่งเงินได้ หรือไม่ อย่างไร หรือกรณีการให้บริการ (ติดตั้ง) ควรจะแยกค่าบริการออกมาจากค่าสิทธิ (Loyalty) หรือให้ผลสำเร็จของงานเกิดที่ใด อย่างไรบ้าง เป็นต้น

ปัญหาของแหล่งกำเนิดสินค้า ตามกติกาของอนุสัญญาเขตการค้าเสรี (Free Trade Agreement (FTA)) ซึ่งจะเป็นผลให้ได้/ไม่ได้รับสิทธิจากการลด/ยกเว้นอากรขาเข้า ในการส่งสินค้าเข้าไปยังประเทศคู่ค้าต่างๆ เป็นต้น ซึ่งแต่ละ FTA อาจมีเงื่อนไข และกฎเกณฑ์แตกต่างกัน ฯลฯ แม้จะมีการลงนามข้อตกลง FTA ต่อกันแล้ว เช่น การกีดกันตลาดส่งออกกุ้งจากไทยโดยอ้างถึงวิธีเลี้ยงที่กระทบต่อระบบนิเวศวิทยาของไทย เป็นต้น…วิธีแก้ไขจึงต้องกระทำผ่านสมาคมการค้าในกลุ่มตนเพื่อผลักดันให้มีการเจรจาผ่านรัฐบาลของทั้ง 2 ประเทศคู่ค้า เป็นต้น

3. ส่งท้าย  การเปิดมิติเชิงรุกของการบินไทย ด้วยการทยอยปรับปรุงสินค้าและบริการ นับเป็นการเดินทางที่ถูกจุด…หากสามารถนำเอารูปแบบสินค้าและบริการของเที่ยวบิน ‘กรุงเทพฯ-นิวยอร์ก’ ไปเป็นแม่แบบของเที่ยวบินอื่นๆ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันได้ เชื่อว่าความฝันที่จะทวงคืนตำแหน่งเบอร์หนึ่งของยุทธจักรการบิน คงไม่ไกลเกินเอื้อม !  

     
  http://www.bangkokbizweek.com/

  คงไม่เข้ามาเขียนแล้ว ครับ  :slime_smile:



หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: พรรณชมพู ที่ 10-06-2008, 19:37
ผลสรุปสุดท้าย   คือ มันเจ๊ง ยกเลิก ขายเครื่องบิน


ตอนจะเปิดคุยโม้ไว้อย่างไร ตอนเปิดแล้วมีคนเลียไว้อย่างไร มันไม่สำคัญเท่ากับว่า ก่อนเปิดเที่ยวบิน มีคนบอกแล้วว่าเปิดเพราะอะไร และมันจะต้องเจ๊ง


ผลสรุปสุดท้าย   คือ มันเจ๊ง ยกเลิก ขายเครื่องบิน

เจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง   ไม่ว่าจะโพสหรือไม่โพส มันก็ เจ๊ง แล้ว  :slime_smile2: :slime_v:


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-06-2008, 20:00
ติดใจหลายทีแล้วครับ ว่า เห็นบอกว่า การบินไทยได้รับใบสั่งจากนักการเมือง
นี่มันเป็นยังๆไงครับ   "แบบว่า การดำเนินงานของการบินไทยนี่ไม่ได้มีแผนขยายงานเลย
ไม่เคยคิดเลย ว่าจะเพิ่มสายการบินไปทางไหนมั่งที่จะทำให้บริษัทเจริญขึ้น จะต้องซื้อเครื่องบินอีกกี่ลำ "

   แบบว่านักการเมืองเข้ามาบอกเลยว่า เฮ้ย DD อั๊วจะซื้อเครื่องบิน 8 ลำ หาเส้นทางให้วิ่งหน่อยดิ
ผมว่าแผนนะมันมี มันถูกเขียนโดยคนของการบินไทย  ว่าจะมีโครงการซื้อ เครื่องเพิ่มอีกกี่ลำบินไปไหนมั่ง
ส่วนจะได้ซื้อ ไม่ได้ซื้อนักการเมืองก็มีส่วน  และยังใช้มันต่อรองด้วย 
  " คุณเชื่อจริงๆ หรอ ว่า นักการเมืองตัดสินใจซื้อเครื่องบิน 8 ลำ เป็นหมื่นล้าน โดยไม่รู้ว่าจะใช้วิ่งไปไหน "
    ผมไม่เชื่อไปกับคุณด้วยหรอก

  ส่วนนักการเมือง มีผลประโยชน์พิเศษไหม
    คุณว่ามี  ผมว่าไม่มี  คุณหาหลักฐานได้ไหมเรื่องทุจริต
    ผม น่ะหาไม่ได้หรอกเรื่องไม่ทุจริต  ไม่มีอะไรยืนยันได้สักอย่างว่าไม่ทุจริตแน่นอน จบแล้วนาเรื่องทุจริต คุณว่าโกง ก็ โกงแล้วกัน
    ( แต่ถึงมีทุจริต กี่คงไม่เยอะเท่าที่คุณสนธิกล่าวไว้หรอก ค่าคอม หมื่นล้าน เพราะเครื่อง 8 ลำแค่ 13,200 ล้านเอง )
     
 
    เรื่องเครื่องบิน และเส้นทาง
     
        เท่าที่อ่านหลายๆข้อมูลดูแล้ว  แผนการบินเส้นนี้ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดคือ

      เราต้องการทวงความเป็นหนึ่งด้านการบิน ในภูมิภาคนี้
     ใจถึงสุดๆแล้วครับ  บินตรง  LA  NY  BKK
      ถ้าเราไม่เกิดเส้นนี้ เราต้อง ยอมสิงค์โปร์ ให้เขาเป็นศุนย์กลางการบิน
      ยอมได้มั๊ยครับ   ( วันนี้ยอมแล้ว )

     เรื่องเครื่องบิน ถ้าไม่ใช่รุ่นนี้ ลองบอกผมซิ จะใช้รุ่นไหน ( อย่าลื้มเช็ค วันผลิตด้วยนา )


       ปัจจัยที่ทำให้ต้องยกเลิก

          คนคิดแผนเส้นทาง คิดไม่ถึงว่า ผ่านไป 3 ปี น้ำมันมันจะขึ้นเกือบ 3 เท่า ( ผมก็คาดไม่ถึงหรอก )
          แล้ววันนี้ถ้าจะเขียนแผนเส้นทางจะเผื่อ ยังไงนี่  สงสัยคิดน้ำมันดิบที่ 450 ดอล/บาเรล แหงเลย

         
ลองอ่านเรื่องสมัยที่เปิดบริการดูนะครับ

บินไทยเปิดเที่ยวบิน'กทม.-นิวยอร์ก'เร็วสุด16.50ชม[/size]

การบินไทยเปิดเที่ยวบินกรุงเทพฯ-นิวยอร์ก สัปดาห์ละ 6 เที่ยวบิน ใช้เวลา 16.50 ชม.ใช้เครื่องใหม่หมดแบบแอร์บัส 340-500 ฟุ้งใช้เวลาบินไปนิวยอร์กเร็วที่สุดในภูมิภาค
นายกนก อภิรดี กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2548 การบินไทยเปิดจุดบินใหม่ โดยจะทำการบินในเส้นทางไป-กลับ กรุงเทพฯ-นิวยอร์ก สัปดาห์ละ 6 เที่ยวบิน ยกเว้นวันจันทร์ ด้วยเครื่องใหม่ทั้งหมดแบบแอร์บัส 340-500 โดยจะใช้เวลาการบิน 16.50 ชม. โดยนับเป็นสายการบินที่ใช้เวลาบินไปนิวยอร์กเร็วที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  และภายในเครื่องบินจะตกแต่งด้วยเอกลักษณ์ใหม่และอุปกรณ์สาระบันเทิง ซึ่งผู้โดยสารสามารถเลือกชมได้ด้วยตัวเอง ผ่านจอวิดีโอส่วนตัวทุกที่นั่ง

การบินไทยตั้งเป้าหมายจะมีนักท่องเที่ยวและนักเดินทางจากสหรัฐเดินทางเข้าสู่ประเทศไทยเพิ่มขึ้น จากปีละ 450,000 คน เป็นประมาณ 650,000 คนต่อปี และในช่วงปีแรกจะมีผู้โดยสารประมาณร้อยละ 70 ต่อไฟล์ และจนถึงปีที่ 2 จะมีผู้โดยสารประมาณร้อยละ 75-80 ต่อไฟล์

สำหรับการแบ่งชั้นที่นั่งเที่ยวบินกรุงเทพฯ-นิวยอร์ก จะแบ่งเป็น 3 ชั้น รวม 215 ที่นั่ง คือ ชั้นรอยัลซิล หรือชั้นธุรกิจ 60 ที่ ราคา 111,000 บาทต่อที่นั่ง ชั้นพรีเมียม อีโคโนมี 42 ที่นั่ง ราคา 45,000 บาทต่อที่นั่ง และชั้นประหยัด 113 ที่นั่ง ราคา 34,000 บาท

"การบินไทยมั่นใจว่าเที่ยวบินกรุงเทพฯ-นิวยอร์ก จะได้รับความสนใจจากนักเดินทาง เนื่องจากตั้งเป้าหมายว่า จะดึงนักเดินทางจากรอบกรุงเทพฯ เส้นฮานอย โฮจิมินห์ และจุดอื่น ๆ ในภูมิภาคมาใช้บริการเที่ยวบินกรุงเทพฯ-นิวยอร์ก ที่กรุงเทพฯ เนื่องจากเป็นเที่ยวบินที่ใช้เวลาสั้นที่สุดในภูมิภาคนี้ และยังมีที่นั่งชั้นประหยัดประมาณครึ่งต่อครึ่งกับรอยัลซิล และอีโคโนมี ซึ่งจะทำให้กำไรต่อที่นั่งการบินไทยอยู่ในสัดส่วนที่สูงกว่าเที่ยวบินปกติ"นายกนกกล่าว  
http://www.komchadluek.net/breaking/readbkk.php?lang=th&newsid=55931


กรุงเทพฯ-นิวยอร์ก

อมรศักดิ์ พงศ์พศุตม์

เพียง 3 เดือน (เริ่ม 1 พ.ค. 2548) ที่การบินไทยเปิดเที่ยวบินใหม่ กรุงเทพฯ-นิวยอร์ก 16 ชั่วโมงบิน (แบบ non-stop) นับว่าประสบความสำเร็จ และได้รับความนิยมค่อนข้างดี (เกินคาด)


สังเกตได้จากเที่ยวบินที่ผู้เขียนต้องออกแรงจอง เพราะตั๋วโดยสารเกือบเต็มทั้งเที่ยวไปและกลับ ซึ่งคลาคล่ำไปด้วยผู้โดยสารต่างชาติราว 50%+นักเรียนไทยในอเมริกา (ฝั่ง East Coast) ก็นิยมใช้บริการ+นักธุรกิจและนักท่องเที่ยว (เช่นผู้เขียน) ก็ชอบการบินแบบ non-stop เช่นกัน!

เที่ยวบิน TG 790 (ขาไป) และ TG 791 (ขากลับ) นับเป็นที่จับตาของหลายๆ ฝ่าย ว่าจะประสบความสำเร็จ? เพราะก่อนหน้านี้ สิงคโปร์แอร์ไลน์ส (คู่แข่งสำคัญ) ก็ยังล่าถอย นัยว่าไม่คุ้มค่าในเชิงธุรกิจ!

ในภาพรวม…ในสายตาของผู้เขียน ภายหลังจากที่ได้แวะเข้าไปชิม (ใช้บริการ) แล้ว ขอให้คะแนน ‘สอบผ่าน’ ด้วยเกรดค่อนข้างสูง (A- )…จึงใคร่ขอถือโอกาสประชาสัมพันธ์แก่เที่ยวบินดังกล่าว และขอเชิญชวนพวกเราหันมาทดลองใช้บริการ ‘กรุงเทพฯ-นิวยอร์ก' ด้วยความภูมิใจ และมั่นใจว่า ถ้าการบินไทยของเราปรับแนวการให้บริการ/การตลาดใหม่ๆ จ๊าบๆ แบบนี้ อย่างต่อเนื่อง เราน่าจะมีโอกาสสูงที่จะทวงคืนตำแหน่งเบอร์หนึ่งแห่งสายการบินของโลกได้ในอนาคตอันใกล้นี้!

1. กรุงเทพฯ - นิวยอร์ก… 16 ชั่วโมงบินผ่านขั้วโลกเหนือ

ขั้วโลกเหนือ เป็นจุดที่สนามแม่เหล็กของโลกมีพลังดึงดูดให้เข็มทิศของเครื่องบินทำงานผิดปกติได้…ดังนั้นในอดีต (ยุคโลว์เทค) จึงไม่ค่อยมีสายการบินใดกล้าเสี่ยง (ในอดีต) ทั้งๆ ที่เป็นเส้นทางที่ใกล้กว่าการบินในระนาบเส้นศูนย์สูตร (Equator)

การเปิดเส้นทางบินใหม่ (TG 790 และ TG 791 ตั้งแต่ 1 พ.ค. 2548) ด้วยเครื่องบิน Airbus A 340 ไฮเทคลำใหม่เอี่ยม นอกจากจะถือเป็นมิติใหม่ในเชิงการเปิดเกมรุกทางการตลาดแล้ว ยังมีส่วนในการยกระดับและสร้างภาพพจน์ในเชิงการแข่งขันได้อย่างมีสีสัน ซึ่งถือเป็นหมากสำคัญตัวหนึ่งในกระดาน ที่จะนำพา ‘การบินไทย’ ก้าวไปสู่จุดหมายของความเป็นหนึ่งได้

เที่ยวบินนี้ มีดี (และไม่ดี) อะไร…เราลองคลี่ม่านเข้าไปดูกันดีกว่า!

ตัวเครื่องบิน (A-340 รุ่นใหม่) ที่ใหม่ถอดด้ามทั้งตัวเครื่องบินและเก้าอี้ที่นั่ง (ใหม่ทันสมัย) ผนวกกับสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ มากมาย เช่น เก้าอี้ของห้องโดยสาร ชั้น Royal Silk Class (ซึ่งเทียบได้กับ Business Class ทั่วไป) ซึ่งสามารถปรับเอนได้ถึง 3 ระดับ จนถึงขั้นเกือบแบนราบเป็นเตียงนอน ซึ่งเป็นระนาบใกล้เคียงกับเก้าอี้นั่งชั้น First Class เลยเชียว+ผนวกกับสิ่งอำนวยความสะดวกที่ทันสมัย และไฮเทค เช่น จอทีวี (รุ่นใหม่) และภาพยนตร์ให้เลือกดูถึง 30-40 เรื่อง+ฟังเพลงใหม่ๆ ได้หลายอัลบั้ม หลาย Version+สามารถกดดูแผนที่อากาศ และตำแหน่งเครื่องบินได้เองตลอดเวลา…เรียกว่าสำราญหู สำราญตา อย่างจุใจเลยเชียว

ราคา ค่าโดยสารชั้น Royal Silk Class ไปกลับประมาณ 185,000 บาท ซึ่งเป็นโปรแกรมโปรโมชั่น (แบบซื้อ 1 แถม 1) ซึ่งนับว่าคุ้มค่ากับคุณภาพและบริการ (ที่ดีเยี่ยม)…สำหรับราคา Premium Economy ราคา 60,400 บาทชั้น Executive และ Economy ก็ถูกลงลดหลั่นกันลงมา

บริการ อาจจะเป็นเพราะต้องการโปรโมทเส้นทางสายนี้หรือเปล่า…การบินไทย จึงอัดทั้งแคมเปญ และบริการต่างๆ อย่าง จุใจ (take care พิเศษอย่างดี ตั้งแต่การแยกเคาน์เตอร์ Check-in พร้อมให้บริการอย่างรวดเร็ว โดยระดมสรรพกำลังมาคอยต้อนรับและบริการอย่างอุ่นหนาฝาคั่ง ทั้งบนดินและบนเครื่อง) จุปาก (กับคุณภาพอาหารที่อร่อยและดี มีคุณภาพ และให้เลือกได้มากเป็นพิเศษ) จุตา (ชมภาพยนตร์ทางจอทีวี ที่แยกพิเศษให้แต่ละที่นั่ง) และจุหู (คือจะได้ยินเสียงอันไพเราะของแอร์โฮสเตสที่คอยเดินถาม/เดินเสิร์ฟอาหารและเครื่องดื่มกันจ้าละหวั่น) ฯลฯ

พูดถึง แอร์โฮสเตส ปรากฏว่าเที่ยวบินนี้ (เข้าใจว่า) ได้คัดเลือก พนักงานที่มีคุณภาพและประสบการณ์ค่อนข้างดี ดังนั้น ผลงานจึงประทับใจ จอร์จมากๆ เลย…ซึ่งถ้าจะให้เทียบเคียงกับ แอร์โฮสเตส ในชั้น First Class ของเที่ยวบินอื่น (ซึ่งมีประสบการณ์ (อายุ) สูงมาก) ต้องบอกว่า แอร์โฮสเตสของชั้น Royal Silk Class ของเที่ยวบินนี้ (ซึ่งมีประสบการณ์ (อายุ) แค่ปานกลางค่อนข้างสูง)…ผู้เขียนต้องขอโหวตให้กับเที่ยวบิน TG 790, 791 อย่างขาดลอย…แฮ่ๆ แต่ถ้าจะให้ดีกว่านี้ ทาง การบินไทย น่าจะยอมให้มี แอร์โฮสเตสที่เพิ่งจบ+บุคลิกดี+(แต่) มีประสบการณ์ (อายุ) ย่อมเยาลงมา ก็จะชื่นใจต่อผู้โดยสารยิ่งกว่านี้มั่กมากเลยครับ แฮ่ม!

(4) นักบิน อันนี้ต้องขอชู 2 หัวแม่โป้งให้เลย เพราะ(เข้าใจว่า) การบินไทย คงคัดสรรสุดยอดฝีมือมาเป็นกัปตันของเที่ยวบินพิเศษนี้ จึงบินได้นุ่มนวล ปลอดภัยมากๆ โดยเฉพาะตอนแตะลงรันเวย์นั้น ถือว่านุ่มนวลประมาณ Smooth as Silk เลยเชียว แฮ่ม!+เทียบแล้วสู้กับนักบินฝรั่งของสายการบินใหญ่ๆ เช่น British Airways, Quantas เป็นต้น ได้สบายมาก !

(5) ปัญหา ของเที่ยวบินนี้ ซึ่งเป็นประเด็นปลีกย่อยก็คือ

การบินที่ต่อเนื่องยาวนาน (16 ชั่วโมง) อาจทำให้ผู้โดยสารอ่อนเพลียได้บ้าง

การเตรียมอาหาร 2 มื้อหลัก + อีก 1 มื้อย่อย พร้อมเครื่องดื่ม/น้ำใช้ (ห้องน้ำ) และน้ำมันเชื้อเพลิงให้เพียงพอ ต่อการบินแบบ non-stop ก็อาจทำให้เครื่องบินต้องแบกน้ำหนักมากไปนิด…แต่ การบินไทย ก็ให้บริการในส่วนนี้ได้ดี ไม่ขาดตกบกพร่องใดๆ

การแยกเคาน์เตอร์ เพื่อตรวจเช็คกระเป๋าอย่างละเอียดลออ เพราะเป็นกฎเกณฑ์ของทุกเที่ยวบินที่ต้องบินเข้าสู่อเมริกา ซึ่งเขาต้องเช็คละเอียดและปลอดภัยตั้งแต่ต้นทาง…ทำให้ผู้โดยสารต้องหงุดหงิดบ้างงงง !

2. กรุงเทพฯ-นิวยอร์ก…ในมุมภาษี

แฮ่ๆ…พอพูดถึงมุมภาษี ก็อาจจะทำให้มู้ดที่สดใส และรอยยิ้มอันละไม มีอันต้องหดหายสลายลงพลัน

ถ้าพิจารณาแยกกลุ่มจากผู้โดยสาร จะพบว่ามีอยู่ 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ นักท่องเที่ยว นักธุรกิจ และนักเรียน ซึ่งล้วนมีส่วน เกี่ยวโยงกับภาษีอากรทั้งสิ้น จึงจำต้องศึกษาและเข้าใจในหลักเกณฑ์ และสิทธิประโยชน์ทางภาษีไว้บ้าง เพื่อมิให้เกิดการผิดพลาดและเสียเปรียบต่อคู่แข่งขัน ดังนี้ครับ

นักท่องเที่ยว ทุกประเทศที่เราจะเดินทางไปท่องเที่ยว มักกำหนดข้อห้ามมิให้นำเข้าวัตถุ สิ่งของ ต่างๆ แตกต่างกันออกไป เช่น อาหาร พืชผัก ผลไม้ เมล็ดพันธุ์ต่างๆ (เพราะกลัวการแพร่เชื้อ) นอกจากนั้น อาจกำหนดให้ต้องแจ้งยอดเงินตราที่มากเกินข้อกำหนด ให้ต้องสำแดงต่อทางการด้วย…การฝ่าฝืน นอกจากจะถูกปรับทางแพ่งและถูกยึดริบสิ่งของแล้ว อาจต้องโทษอาญาด้วย ดังนั้น นักท่องเที่ยวต้องอ่านรายละเอียดของเอกสารที่ต้องกรอกข้อความต่างๆ ให้ถี่ถ้วน เพื่อยื่นต่อเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองและศุลกากร ของแต่ละประเทศ

ในทางกลับกัน เมื่อเดินทางกลับเข้ามาในประเทศไทย หากซื้อเครื่องใช้ เครื่องไฟฟ้า (ชิ้นใหญ่) ซึ่งเข้าหลักเกณฑ์ที่ต้องเสียอากรขาเข้าก็ควรเปิดเผย เพื่อมิต้องถูกปรับจำนวนมาก… ดังนั้น นักท่องเที่ยว (ที่มือเติบ) จึงต้องวางแผนการจับจ่ายให้เหมาะสมโดยตรวจสอบจากพิกัดอัตราอากรขาเข้า ซึ่งจำแนกไว้ 97 ประเภท และภาค 4 ของพิกัด (ซึ่งเป็นเรื่องของสินค้าที่ได้รับยกเว้นอากร) เช่น ของที่นำเข้าชั่วคราวและจะส่งกลับออกไปใน 6 เดือน อาทิ ของใช้ในการแสดง รถยนต์ เครื่องถ่ายรูป เป็นต้น และของส่วนตัวที่เจ้าของนำเข้ามาพร้อมกับตน เพื่อใช้เอง หรือใช้ในวิชาชีพ และมีจำนวนพอสมควรแก่ฐานะ ฯลฯ

นักเรียน นักศึกษา ปัจจุบันนิยมไปเรียนกันมากที่ อเมริกา ยุโรป และออสเตรเลีย ฯลฯ บางคน (พ่อแม่) ร่ำรวย ก็สบายตัว แต่ส่วนใหญ่คงต้องทำงาน (ในต่างประเทศ) เพื่อหาเงินเล่าเรียน

กรณีของ ‘คุณหนู’ ซึ่งรับจ้าง…เอ๊ย รับเงินจากคุณพ่อคุณแม่…กฎหมายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา แทบทุกประเทศ จะบัญญัติให้ยกเว้นภาษี (เช่น มาตรา 42 (10) ของประมวลรัษฎากรของไทย ถือเป็นเงินได้ที่ได้รับจากการอุปการะตามหน้าที่ธรรมจรรยา)

กรณีจะต่างจากของ ‘ก๋วยเจ๋ง’ ซึ่งปากกัดเท้าถีบ…ทำงาน (ร้านอาหารไทยในอเมริกา) พร้อมเรียนปริญญาโท…โชคดีที่อนุสัญญาภาษีซ้อนไทย-อเมริกา บัญญัติยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ใน USA ไว้ ถึง 3 ลักษณะด้วยกัน คือ

เงินที่ได้รับจากไทย เพื่อเป็นการครองชีพ การศึกษา การเล่าเรียน การค้นคว้าวิจัย หรือการฝึกอบรมของผู้นั้น

ทุน เงินอุดหนุน หรือเงินรางวัล

เงินได้จากการทำงานในอเมริกาในจำนวนไม่เกินปีละ 3,000 USD

กรณีของ ‘ก๋วยจั๊บ’ ซึ่ง (สมมติว่า) เป็นพนักงานของบริษัท มือถือชื่อดัง จำกัด ถูกส่งไปอบรมดูงานหรือศึกษา MBA ในต่างประเทศ นั้น แม้จะได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ในอเมริกา…แต่ ‘ก๋วยจั๊บ’ ต้องเสียภาษีในประเทศไทย ตามมาตรา 41 วรรคหนึ่งแห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจากเข้าลักษณะเป็นเงินได้ เนื่องจากกิจการของนายจ้างในประเทศไทย

นักธุรกิจไทย ซึ่งต้องถือเป็นระดับอินเตอร์ฯ แล้วน่ะ (ไม่ว่าจะเป็นระดับบิ๊กๆ ของบรรษัทข้ามชาติ หรือ CEO ของ SMEs ก็เถอะ) เพราะการบินเหินฟ้าไปมา ระลอกละ 16 ชั่วโมง เนี่ย ทั้งเหนื่อย ทั้งเพลีย และเสียเวลามั่กมาก ซึ่งถ้าไม่คุ้มหรือคาดว่าจะไม่คุ้มในอนาคต รับรองว่า พ่อค้าเหล่านี้ไม่ยอมอดตาหลับขับตานอนแบบนี้แน่ๆ !

มุมภาษีของนักธุรกิจ (อินเตอร์) เหล่านี้ มีหลายเหลี่ยมหลายแง่ หลายมิติ ที่มิอาจมองข้าม ดังนี้ครับ (เช่น)…

ปัญหาความซ้ำซ้อนของภาระภาษีเงินได้นิติบุคคล จากการจัดหน่วยภาษี (tax entity) ซึ่งจะเกี่ยวพันกับหลักของแหล่งเงินได้ (Source Rule) และหลักของถิ่นที่อยู่ (Source Country) และการได้สิทธิประโยชน์ทางภาษี (ลด/ยกเว้นภาษี) ตามอนุสัญญาภาษีซ้อน (Double Taxation Agreement (DTA)) เช่น กรณีส่งสินค้าไปขายยังต่างประเทศ ควรจะทำสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาดในประเทศแหล่งเงินได้ หรือไม่ อย่างไร หรือกรณีการให้บริการ (ติดตั้ง) ควรจะแยกค่าบริการออกมาจากค่าสิทธิ (Loyalty) หรือให้ผลสำเร็จของงานเกิดที่ใด อย่างไรบ้าง เป็นต้น

ปัญหาของแหล่งกำเนิดสินค้า ตามกติกาของอนุสัญญาเขตการค้าเสรี (Free Trade Agreement (FTA)) ซึ่งจะเป็นผลให้ได้/ไม่ได้รับสิทธิจากการลด/ยกเว้นอากรขาเข้า ในการส่งสินค้าเข้าไปยังประเทศคู่ค้าต่างๆ เป็นต้น ซึ่งแต่ละ FTA อาจมีเงื่อนไข และกฎเกณฑ์แตกต่างกัน ฯลฯ แม้จะมีการลงนามข้อตกลง FTA ต่อกันแล้ว เช่น การกีดกันตลาดส่งออกกุ้งจากไทยโดยอ้างถึงวิธีเลี้ยงที่กระทบต่อระบบนิเวศวิทยาของไทย เป็นต้น…วิธีแก้ไขจึงต้องกระทำผ่านสมาคมการค้าในกลุ่มตนเพื่อผลักดันให้มีการเจรจาผ่านรัฐบาลของทั้ง 2 ประเทศคู่ค้า เป็นต้น

3. ส่งท้าย  การเปิดมิติเชิงรุกของการบินไทย ด้วยการทยอยปรับปรุงสินค้าและบริการ นับเป็นการเดินทางที่ถูกจุด…หากสามารถนำเอารูปแบบสินค้าและบริการของเที่ยวบิน ‘กรุงเทพฯ-นิวยอร์ก’ ไปเป็นแม่แบบของเที่ยวบินอื่นๆ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันได้ เชื่อว่าความฝันที่จะทวงคืนตำแหน่งเบอร์หนึ่งของยุทธจักรการบิน คงไม่ไกลเกินเอื้อม !  

     
  http://www.bangkokbizweek.com/

  คงไม่เข้ามาเขียนแล้ว ครับ  :slime_smile:



ไปได้ก็ไปเหอะ
เหตุ และ ผล ในกระทู้มีมากมายพอที่จะให้ตัดสินใจได้แ้ล้วล่ะ

เที่ยวบินกรุงเทพ นิวยอร์ค ที่สายการบินไทยทำเจ๊ง... แต่เห็นหรือไม่ว่าสายการบินต่างชาติเขาก็ยังบินรูทนี้ต่อได้หน้าตาเฉยไม่ได้สะทกสะท้าน
1. การบินไทยและลิ่วล้อแม้วอ้างว่าน้ำมันแพง บินต่อไม่ได้ ?  ... แล้วทำไมสิงคโปร์แอร์ไลน์ยังบินต่อได้ ทั้งที่ราคาน้ำมันไทยก็อิงสิงคโปร์ ??
2. ลิ่วล้อแม้วบอก AIRBUS A340 นี่เจ๋งกว่าโบอิ้ง 747 ... แล้วทำไมสายการบินอื่นๆแทบทุกสายการบิน เขาใช้โบอิ้ง 747 มาบินไฟลต์นี้ และยังบินต่อได้โดยไม่เจ๊งเหมือนการบินไทย ??
3. ลิ่วล้อแม้วบอกคนนั่งเต็มทุกเที่ยว .... อ้าว ถ้า้เป็นอย่างที่อ้่างว่าเต็มทุกเี่ที่ยวแล้วมึงยังทำกันขาดทุนได้อีกครับ ถ้าคนนั่งเต็มทุกเที่ยว สายการบินอื่นเขาเรียกว่ากำไร
4. ลิ่วล้อแถไถไปถึงเรื่องสวัสดิการพนักงาน 20% ... มีคนมาเคลียร์แล้วเน้อ ถ้าผู้โดยสารเต็ม พนักงานก็ใช้สิทธิ์นี้ไม่ได้ ลิ่วล้อโกหกเต็มสูบ และในเมื่อพนักงานใช้สวัสดิการไม่ได้แล้ว ทำไมการบินไทยถึงบินต่อไม่ได้ ?? ทั้งที่ลิ่วล้ออ้างว่าผู้โดยสายเต็มตลอด ??

...เนี่ยผมอัศจรรย์ลิ่วล้อเหลี่ยมที่กระจายอยู่ตามเว็บบอร์ดทั่วๆไปจริงๆครับ
ปั้นเรื่องเป็นตุเป็นตะไปเรื่อย ปั้นน้ำเป็นตัวหาความชอบธรรมให้พวกเลวๆอยู่เสมอ แถมพูดจาดูเนียนมาก ใครจิตอ่อนก็คงเชื่อไปเลยแบบไม่ต้อง prove
โชคดีหน่อย ที่คนไทยบางส่วนยังมีพลังจิตเข้มแข็ง สะกดจิตยาก


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: Rule of Law ที่ 10-06-2008, 20:05

หึ  คนวางแผนคิดไม่ถึงว่า 3 ปีน้ำัมันจะพุ่งกระฉูดเหรอ?
แสดงว่า เส้นทางอื่น ยุโรป ที่บินมาเป็น30 -40 ปี เค้าคิดค่าน้ำมันไว้เผื่อซักกี่ปีล่ะคะคุณ

น้ำมัน มันไม่ได้แพงแค่ route NY อันเดียวนะคุณ ทำไม route อื่นใช้เครื่อง 747 บิน มันบินกันโครมๆ
น้ำมันแพงก็เก็บ fuel surcharge เพิ่ม  แต่ทำไม NY ถึงแก้อะไรไม่ได้แล้ว?

คุณคะ  ปัญหามันอยู่ที่จุดคุ้มทุน cabin factor ค่ะ

อย่าลืมว่า ราคาตั๋ว+surcharge มันต้องแข่งขันได้
ซึ่ง route ที่ใช้ 747 บินมันไม่มีปัญหา เพราะ cabin factor คุ้มทุนได้ไม่ยาก x ราคาเข้าไป มันพอเล่นได้

ส่วนอี NY เนี่ย จุดคุ้มทุนมันสุงมาก
ถึงเพิ่มราคา cabin factor ก็จะลดลง จนกระทั่งอยู่ไม่ได้
จะขายราคาที่ competitive  มันก็ต้องแหกตาหาผู้โดยสารเกือบเต็มลำ  มันไม่ไหว

ที่สำคัญ ไอ้สิงกโปร์มันเคยบินตรงให้ดูแล้ว ตายไปแล้ว จนต้องเปลี่ยนเครื่อง ต้องบินจอดแวะ
ไอ้นักการเมืองไทย โง่+here ก็ัยังสั่งซื้อเครื่อง 340 มาบินตรงซ้ำรอยมันอีกเนอะ

แล้วพอสิงค์โปร์มันต้องบินจอดแวะเนี่ย  แปลว่าถ้าเราไม่บินตรง เราจะสู้มันไม่ได้เหรอ??
ตรรกะนี้ยังไงกัน  คุณ mebeam

ที่สำคัญ ตอนสั่งซื้อ มันไม่ได้อ้างเรื่องศูนย์กลางการบินอะไรนี่นา ทำไมมันไม่อ้าง NY ล่ะ  อ้างเรื่องกุ้งทำไม........
โถ่เอ๊ยย อีลำไย

คุณ mebeam คงไ่ม่เข้ามาตอบแล้วเหรอ อืมม... ไว้หาเหตุผลได้ ก็ค่อยเข้ามานะ ดีแล้วหล่ะ

+++++++++++++++++++

ส่วนหลักฐานเรื่องใครรับ comission มั้ยน่ะเหรอ 
เดี๊ยนว่า หายากพอๆกับหลักฐานว่าป๋าเปรมเป็นผู้ชักใยการขับไล่ทักษิณเลยเนอะ
แต่ทำไมสาวกทักษิณเชื่อได้เชื่อดี

ข้าราชการ เป็นหัวหน้าหน่วยงาน ผู้ว่า อธิบดี แต่ละคน มีบ้านหลังละเป็นสิบๆล้านเลยนี่ ได้เงินเดือนเท่าไหร่กัน
ไม่เห็นมีหลักฐานว่าเค้ากินตามน้ำ กินทวนน้ำ เลย..........





หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: jrr. ที่ 10-06-2008, 20:23
ผลสรุปสุดท้าย   คือ มันเจ๊ง ยกเลิก ขายเครื่องบิน


ตอนจะเปิดคุยโม้ไว้อย่างไร ตอนเปิดแล้วมีคนเลียไว้อย่างไร มันไม่สำคัญเท่ากับว่า ก่อนเปิดเที่ยวบิน มีคนบอกแล้วว่าเปิดเพราะอะไร และมันจะต้องเจ๊ง


ผลสรุปสุดท้าย   คือ มันเจ๊ง ยกเลิก ขายเครื่องบิน

เจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง เจ๊ง   ไม่ว่าจะโพสหรือไม่โพส มันก็ เจ๊ง แล้ว 

..................................................................................................


ใช่ ไม่ต้องพูดให้ยืดยาวยืดเยิ้อเลย.....คำเดียวสั้นๆ.....เจ๊ง !!!


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: mebeam ที่ 10-06-2008, 21:15
ใช่ครับ สิงค์โปร์-นิวยอร์ค ยังมีอยู่


Outbound Flights   
From Singapore Changi (SIN)
To New York Newark (EWR)
Date: Tue 17 Jun 2008

--------------------------------------------------------------------------------

Flight Departs Arrives Stops Mon Tue Wed Thu Fri Sat Sun Details
SQ22
 SIN 10:50
 EWR 17:50
 0         
Flight Details Close   

SQ22
Terminal 3  (A340-500)  
 

Travel Time   
Singapore Changi – New York Newark 19:00
Total 19:00
 

http://www.singaporeair.com/saa/en_UK/FlightInfo/ettResult.jsp?JSESSIONID=LTVJlKxMCKg7QP1vnfmT32PHGTwzWHYjp7GwGyQvRQJpvyty01Fv!1294115102!NONE


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: room5 ที่ 10-06-2008, 21:20



มาดู mebeam อ่ะ สรุปว่ายังไงหรอ เห็นตัอแปะแบบนี้

สปีชี่เดียวกับ snowfake เลยนะเนี่ย

อยู่ตรง กลาง   กลางๆ กล๊างกลาง

จากข้อมูลทั้งหมดเห็นได้ชัดว่าโกง โอเค๊


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อย$
เริ่มหัวข้อโดย: Rule of Law ที่ 10-06-2008, 21:54
้ sin-jfk ต้องเปลี่ยนมาบินแบบต่อเครื่องไปเรียบร้อยแล้ว ทั้งที่เมื่อก่อนก็ใช้เครื่อง A340 นี่แหละบิน
ต่อให้ high demand ขนาดไหน ก็ยังบินต่อไม่ได้
เสียดายมันเป็นอดีตไปแล้ว ไม่สามารถหา link มาให้ดุได้

แต่ถ้าคุณ mebeam อยากจะเอาไปเปรียบเทียบกับ sin-ewk ก็ไม่ว่ากัน

พรุ่งนี้ว่ากันใหม่



หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: mebeam ที่ 10-06-2008, 22:49
วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ปีที่ 32 ฉบับที่ 4005 (3205)-ประชาชาติธุรกิจ

"วิกฤตบินไทย โอกาสสิงคโปร์แอร์ เกมA340 บินไกลขายทิ้ง-ทำบิสซิเนสทั้งลำ"

วิเคราะห์



ราคาน้ำมันขณะนี้ร้อนระอุมากกว่าทุกครั้ง ส่งผลให้สายการบินพากันปรับกลยุทธ์เที่ยวบินไกลข้ามทวีป (longhaul) คู่เปรียบเทียบรายใหญ่ในเอเชียคือ "การบินไทย" กับ "สิงคโปร์ แอร์ไลน์ส" แผนงานสดๆ ร้อนๆ ได้แก่ การปรับกระบวนทัพเที่ยวบินแบบไม่แวะพัก ใช้เวลาบินไกลที่สุด 16 ชั่วโมง (nonstop flight transpacific) เส้นทางกรุงเทพฯ-อเมริกา ทั้งนิวยอร์กและลอสแองเจลิส ซึ่งเดิมพันกันด้วยเครื่องบินแบบเดียวกันคือ แอร์บัส A340-500/600 และโบอิ้ง 747-400

ทั้ง 2 สายการบินมีแนวทางต่างกันโดยสิ้นเชิงคือ  "การบินไทย" ตัดสินใจ "ยกเลิก" เที่ยวบินไป-กลับ กรุงเทพฯ-นิวยอร์ก จะมีผลภายในมิถุนายนนี้ เพราะทนพิษต้นทุนน้ำมันข้ามทวีปแบบไม่แวะพักไม่ไหว เพราะใช้เครื่องแอร์บัส A340-500/600 รุ่นเดียวกับสิงคโปร์ แอร์ไลน์ส ก็จริง แต่จำนวนเก้าอี้ที่ติดตั้งเก้าอี้มีเพียง 215 ที่นั่ง และด้วยสภาพความแตกต่างของกลุ่มผู้โดยสารเป้าหมายของไทยเป็น นักท่องเที่ยว ส่วนสิงคโปร์เป็นกลุ่มนักธุรกิจจึงรื้อเครื่องรุˆนนี้ทำเป“นชั้นธุรกิจ (business class) ทั้งลำ ทำให้ขายตั๋วได้ดีกวˆา

หลังวันที่ 15 พฤษภาคม 2551 สิงคโปร์ แอร์ไลน์ส เปลี่ยนวิธีขายหันไปลงทุนพัฒนาฝูงบินแอร์บัส A340-500/600 บินเข้านิวยอร์กและลอสแองเจลิส โดยทำเป็นเที่ยวบินชั้นธุรกิจทั้งลำ ตั้งราคาขายตั๋ว สูงกว่าชั้นประหยัดมากกว่า 6 เท่า จึงทำให้ได้รับความนิยมทันที

นายหวง เช็ง อึ้ง รองประธานบริหารการตลาดและภาคพื้นสิงคโปร์ แอร์ไลน์ส เปิดเผยว่า ฝ่ายบริหารเห็นสัญญาณน้ำมันขึ้นราคาต่อเนื่องมาตลอด สิงคโปร์ แอร์ไลน์ส จึงวางแผนล่วงหน้า ยอมลงทุนหลายร้อยล้านเหรียญสหรัฐรื้อแอร์บัส A340-500 ทำเก้าอี้เป็นชั้นธุรกิจทั้งลำ 100 ที่นั่ง ลอตแรก 5 ลำ เมื่อ 15 พฤษภาคม 2551 เป็นต้นมา เริ่มขายตั๋วโดยสาร ไป-กลับ สิงคโปร์-นิวยอร์ก 240,000 บาท ไม่รวมค่าธรรมเนียมน้ำมันและค่าประกันการเดินทาง กระแสตอบรับจากกลุ่มตลาดนักธุรกิจดีมาก  และภายในไม่เกินปีนี้จะนำมาบินบริการเส้นทางแถบเอเชีย



นับได้ว่าสิงคโปร์ แอร์ไลน์ส เป็น สายการบินแรกของโลกที่ลงทุนทำเที่ยวชั้นธุรกิจทั้งลำ พร้อมทั้งการันตีว่าเก้าอี้ที่นำมาติดตั้งในแอร์บัส A340-500 นั้นเป็นเก้าอี้ชั้นธุรกิจที่มีรางวัลการันตี ขนาด 76 ซ.ม. กว้างกว่าเดิม 50% สามารถปรับเอนทำ เตียงนอนราบ เพียบพร้อมด้วยนวัตกรรมเอ็นเตอร์เทนเมนต์โปรแกรม KrisWorld ให้เลือกกว่า 1,000 รายการ มีบริการอาหารสไตล์ภัตตาคารตั้งโต๊ะ ผู้โดยสารสามารถเมนูได้ตามความต้องการตลอด 24 ชั่วโมง การติดตั้งเก้าอี้ภายในเครื่องบินแต่ละลำจะมีแถวละ 4 ที่นั่ง ติดริมหน้าต่างข้างละ 1 ตัว ตรงกลางอีก 2 ตัว

ฤดูกาลแรกช่วงนี้ให้บริการบิน ไป-กลับ สิงคโปร์-นิวยอร์ก 3 เที่ยว/สัปดาห์ SQ 22 ออกจากสิงคโปร์ เวลา 11.00 น. ถึงนิวยอร์ก 17.50 น. และ SQ21 ออกจากนิวยอร์ก 23.00 น. ถึงสิงคโปร์ 05.50 น. ตั้งแต่ปลายเดือนมิถุนายนนี้เป็นต้นไปจะบริการ 1 เที่ยว/วัน หรือ 7 เที่ยว/สัปดาห์ ราคาตั๋วโดยสาร 240,000 บาท/คน และ ตั้งแต่เดือนกันยายนนี้จะนำไปบินเส้นทาง สิงคโปร์-ลอสแองเจลิส 1 เที่ยว/วัน เช่นกัน ราคาตั๋วโดยสารเฉลี่ย 193,000 บาท/คน



นางวิภาวรรณ โพธิ์เกตุ ผู้จัดการฝ่ายขายประจำประเทศไทย สิงคโปร์ แอร์ไลน์ส กล่าวเสริมว่า การทำโปรดักต์ใหม่เป็นชั้นธุรกิจทั้งลำบินไกลข้ามทวีป แนวโน้มน่าจะเสนอขายแก่กลุ่มนักธุรกิจต่างชาติในไทยที่สนใจใช้บริการได้มากขึ้น ส่วน ผู้โดยสารจากไทยไปต่างประเทศช่วงสถานการณ์น้ำมันและการเมืองวุ่นวายนั้น สิงคโปร์ แอร์ไลน์ส จะขายกลุ่มเหมา เดินทางเป็นคณะ (group) ได้มากกว่านักเดินทางท่องเที่ยวทั่วไป

แต่วางแผนตลาดและการขายล่วงหน้าก่อนน้ำมันและการเมืองจะผันผวน ได้ทำแคมเปญแรกโปรโมชั่นร่วมกับบริษัท ตัวแทนขายตั๋วและโปรแกรมทัวร์ใช้โอกาสบินเข้าเมืองไทยครบ 60 ปี เพิ่งจะปิดโครงการ 16 พฤษภาคมที่ผ่านมา มีผู้สนใจซื้อหลายพันคน เส้นทางไปสิงคโปร์ ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา

แคมเปญที่สอง Greats Singapore Sale ระหว่าง 20 พฤษภาคม-10 มิถุนายนนี้ ทำร่วมกับธนาคารฮ่องกง HSBC และการท่องเที่ยวสิงคโปร์ สมาชิก HSBC จ่ายผ่านบัตรเครดิตจะได้สิทธิซื้อตั๋วสิงคโปร์ แอร์ไลน์ส ราคาพิเศษ ไป-กลับ กรุงเทพฯ-สิงคโปร์ เพียง 6,990 บาทสุทธิ แถมยังได้สิทธิประโยชน์มูลค่ารวมจำนวนมาก เช่น บัตรกำนัลช็อปปิ้ง 20 เหรียญสหรัฐ รวมคูปอง แพ็กเกจท่องเที่ยว

แหล่งข่าวระดับสูงจากการบินไทยกล่าวกับ "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า นโยบายบริหารจัดการการใช้เครื่องบินเพื่อตอบสนองการหารายได้เชิงพาณิชย์ในปัจจุบันมี เรืออากาศโทอภินันทน์ สุมนะเศรณี กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (DD) นางงามนิตย์ สมบัติพิบูลย์ รองกรรมการ ผู้อำนวยการใหญ่ฝ่ายการเงินและบัญชี นายอภิชัย แสงศศิ ผู้อำนวยการใหญ่ฝ่ายสนับสนุนปฏิบัติการ เข้ามากำกับดูแลเองอย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งมีข้อเสนอให้ยกเลิกเที่ยวบิน กรุงเทพฯ-นิวยอร์ก และลดเที่ยวบินลอสแองเจลิสมาก่อนหน้านี้ เพราะสภาพความเป็นจริงต้นทุนราคาน้ำมันเพิ่มขึ้นกว่า 60% บินอย่างไรก็ขาดทุนเดือนละเกือบ 100 ล้านบาท

กอปรกับสถานการณ์จากนี้ไปเมื่อการบินไทยเสนอ นายสันติ พร้อมพัฒน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เสนอที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เปลี่ยนวิธีจัดหาฝูงบินเดิมแบบเช่าเป็นซื้อแทน การบินไทยก็มีความจำเป็นจะต้องขายฝูงบินแอร์บัส A340-500 ซึ่งมีอยู่ 5 ลำ ออกจากฝูงเพื่อนำเงินที่ได้มาจัดซื้อฝูงบินอื่นทดแทนตามแผนการลงทุนใหม่

พร้อมทั้งเตรียมลดเที่ยวบิน กรุงเทพฯ-ลอสแองเจลิส เพื่อปลดแอกค่าใช้จ่ายเที่ยวบินไกลข้ามทวีป และ/หรือ กรุงเทพฯ-โจฮันเนสเบิร์ก (เซาท์แอฟริกา) ก็อยู่ในแผนจะยกเลิกด้วยเช่นกัน  เพราะถึงจะโอนภาระให้ผู้โดยสารด้วยการขึ้นค่าธรรมเนียมน้ำมันก็ยังไม่สามารถลดค่าใช้จ่ายลงได้
จะเห็นว่า "ยุทธวิธี" แก้วิกฤตต้นทุนน้ำมันระหว่าง "สิงคโปร์ แอร์ไลน์ส" เลือกทำโปรดักต์ให้โดนใจลูกค้าเพื่อสร้างรายได้เพิ่ม ต่างจาก "การบินไทย" ได้จังหวะใช้เหตุผลขายฝูงบินแอร์บัส A340-500 เพื่อระดมเงินบางส่วนมาอุดแผนจัดซื้อลอตใหม่แอร์บัส A330-300 ซึ่งกำลังถกเถียงกันอยู่ว่าเป็นทางออกที่ถูกต้องหรือไม่ !?



สมแล้วที่แพ้เค้า
คนทำงานวิสํยทัศน์ ความสามารถก็ต่างกัน

กองเชียร์ ก็ยังงุมมะงาหรา ด่าหมุกมุ่นแต่เรื่องโกงกิน อยู่นั่นแหละ
ขุดเรื่องเสือกเปิดมาทำไมสายนี้  ขุดรุ่นนี้มันใช้ไม่เหมาะ มาหาเรื่องกัดกันอีก

ไม่ยอมเปิดตาเปิดหู ดูว่ามันเป็นเพราะอะไร ทำไมเค้าทำอย่างไร เค้าถึงอยู่ได้
ต่อไปก็มองดูเค้าบินตาปริบ ๆ 

สะใจดีมั๊ยครับ สมน้ำหน้า สายการบินแห่งชาติของเรา
ที่เห็นด่ากัน มันปาก มันเจ๊ง มันเเจ๊ง มันเจ๊ง มันเจ๊ง ยังไงมันก็เจ๊ง

น่าเศร้าครับ
 



หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ABCAB ที่ 10-06-2008, 23:31


สมแล้วที่แพ้เค้า
คนทำงานวิสํยทัศน์ ความสามารถก็ต่างกัน

กองเชียร์ ก็ยังงุมมะงาหรา ด่าหมุกมุ่นแต่เรื่องโกงกิน อยู่นั่นแหละ
ขุดเรื่องเสือกเปิดมาทำไมสายนี้  ขุดรุ่นนี้มันใช้ไม่เหมาะ หาเรื่องกัดกันอีก

ไม่ยอมเปิดตาเปิดหู ดูว่า ทำให้ดีมันก็อยู่ได้
ต่อไปก็มองดูเค้าบินตาปริบ ๆ 

สะใจดีมั๊ยครับ สมน้ำหน้า สายการบินแห่งชาติของเรา
ที่ด่ากัน มันเจ๊ง มันเเจ๊ง มันเจ๊ง มันเจ๊ง ยังไงมันก็เจ๊ง

แต่ผมเศร้าครับ
 


กลับไปแหกตาดูหัวข้อกระทู้อีกรอบนะครับ ว่าเรื่องอะไร

กรุณาอย่าเบี่ยงประเด็น เจ้าของกระทู้เค้ารอฟังคำตอบอยู่

ถ้าไม่ตอบตามหัวข้อกระทู้ เชิญเปิดกระทู้ใหม่ได้เลย




หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: mebeam ที่ 10-06-2008, 23:38
คิดว่าตอบไปหมดแล้ว
 :slime_smile:


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-06-2008, 23:50
คิดว่าตอบไปหมดแล้ว
 :slime_smile:

เอา่น่า พี่ mebeam
สนทนากันปกติตามประสาชาวบ้าน

การบินไทยมันกระทรวงการคลังถือหุ้นใหญ่ ดังนั้นโดยนัยแล้วประชาชนทุกคนก็ยังคงถือหุ้นใหญ่การบินไทย
การบินไทยมันทำเจ๊ง เราซึ่งเป็นชาวบ้าน ก็ต้องถล่มมันเป็นธรรมดา
ไม่มีเหตุผลใดที่เราชาวบ้านจะยินดีกะการที่มันขาดทุนหรอกจ้า


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ABCAB ที่ 10-06-2008, 23:56
คิดว่าตอบไปหมดแล้ว
 :slime_smile:


งั้นกรุณาหยุด "เห่า" เถอะ

รำคาญว่ะ


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: h_e_a_t ที่ 11-06-2008, 07:14
การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?

2ปีที่แล้วแป๊ลิ้มออกมาแฉ โดนคนด่า มาวันนี้เป็นจริงตามแป๊ลิ้มพูดเป๊ๆๆๆๆๆๆๆๆ

จะอธิบายยังไงดี

 :slime_o:

หิหิ สงสัยท่านเจ้าของกระทู้เป็นลูกการบินไทย แน่ๆ

เมื่อสองวันก่อน สุภาพสตรีที่รู้จักกัน ถูกเปลี่ยนตารางการบินเกือบทั้งหมด

ได้สนทนากัน เธอบอกว่า ตอนนี้ รูท การบินต่างๆ ถูกตัดค่าใช้จ่ายมากมาย เพื่อเอามาโหมทุ่มปิดขาดทุน รูท นิวยอร์ก

ผมเลยถามว่า อ้าว รู้ทั้งรู้แล้วทำไมยังเปิดอยู่ล่ะ

เธอเล่าว่า กัปตันอาวุโสบอกเธออีกทีหนึ่งว่า  " เป็นหน้าตาของบริษัท และไอ้คนที่ประกาศว่าไทยเรามีไฟลท์ไปนิวยอร์ก".................กัปตันยังด่าเลยว่า มัน เอี้ยจริงๆ

แถมคนในสหภาพก็โดนซื้อกันไปหมดแล้ว สหภาพก็เลยไม่ออกมาโวยเท่าที่ควร

ส่วนก๊วนกัปตันที่มีพาวเวอร์พอควรในการบินไทยก็ไม่อยากโวยมาก  กลัวโดนเด้งก่อนเกษียณ เพราะส่วนใหญ่ก็ใกล้ๆกันแล้วทั้งนั้น แม้จะมีนโยบายใหม่ออกมาต่อสัญญาเพราะนักบินใหม่มีไม่ทันและไม่พอ


เรื่องของเรื่องก็คือ การบินไทยเจ๊ง ก็ไม่เป็นไร  ยิ่งดีอีก  เพราะ แอร์เอเซียจะได้รับเนื้อๆไป


ตอนนี้เรื่องเน่าล่าสุดคือ การคัด แอร์ เฟิร์สคลาส เด็กเส้นมากเหลือเกิน  ภาษาก็ไม่คล่อง โดนยัดไปเฟิร์ส หลายคนแล้ว



เพื่อนสนิทผมยังบอกว่า ดีนะที่เธอเป็น เพอร์เซอร์ที่ไม่ทะเยอทะยาน ไม่งั้นอาจต้องใช้เต้าไต่


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: Rule of Law ที่ 11-06-2008, 08:29
mebeam  ทำไมคุณถึงคิดว่าลักษณะ demand ประเภทธุรกิจของไทยกับ sin จะเหมือนกัน



หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ScaRECroW ที่ 11-06-2008, 09:35
ไปได้ก็ไปเหอะ
เหตุ และ ผล ในกระทู้มีมากมายพอที่จะให้ตัดสินใจได้แ้ล้วล่ะ

เที่ยวบินกรุงเทพ นิวยอร์ค ที่สายการบินไทยทำเจ๊ง... แต่เห็นหรือไม่ว่าสายการบินต่างชาติเขาก็ยังบินรูทนี้ต่อได้หน้าตาเฉยไม่ได้สะทกสะท้าน
1. การบินไทยและลิ่วล้อแม้วอ้างว่าน้ำมันแพง บินต่อไม่ได้ ?  ... แล้วทำไมสิงคโปร์แอร์ไลน์ยังบินต่อได้ ทั้งที่ราคาน้ำมันไทยก็อิงสิงคโปร์ ??

สิงคโปร์แอร์ไลน์ก็ขาดทุนครับ แต่ทุนมันเยอะกว่าคือสาเหตุหนึ่งที่มันยังบินอยู่ แล้วมันก็ปรับ รีโพรดัก ใหม่ มันกำลังเอาเครื่องรุ่นนี้ไปเปลี่ยนเป็น ชั้นธุรกิจทั้งลำครับ ซึ่งมันจะได้โปรดักใหม่ออกมาขายต่อไป ซึ่งมันก็ยังไม่รู้ว่าจะออกหัวหรือออกก้อย แต่การที่เขาสายป่านยาว ทำให้เขากล้าเสี่ยงจะสร้างเซ้กเม้นใหม่ขึ้นในตลาด ถ้าเจ๊งเขาก็คงเดือดร้อนแต่ไม่มากเท่าไร แล้วทำไมการบินไทยไม่ทำแบบเขาบ้าง ก็เพราะตลาดมันคนละแบบครับ เมืองไทยไม่ใช้ศูนย์กลางด้านธุรกิจ แต่สิงคโปร์เป็น บ้านเราเป็นตลาดท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวไม่ซื้อตั๋วชั้นธุรกิจมาท่องเที่ยวกันเท่าไรนัก

2. ลิ่วล้อแม้วบอก AIRBUS A340 นี่เจ๋งกว่าโบอิ้ง 747 ... แล้วทำไมสายการบินอื่นๆแทบทุกสายการบิน เขาใช้โบอิ้ง 747 มาบินไฟลต์นี้ และยังบินต่อได้โดยไม่เจ๊งเหมือนการบินไทย ??

747 เป็นเครื่องบินโดยสายที่บินได้ระยะไกลครับ Long Haul แต่เส้นทางกรุงเทพ นิวยอร์ค หรือ สิงคโปร์ นูวอาร์ค เป็น Ultra Long Haul ครับ สายการบินอื่นที่ไปลงนิวยอร์คหรือนูวอาร์ค ระยะทางเขาสั้นกว่าครับ ลองค้น ๆ ใน Google ดูนะครับ น้ำมันเต็มลำ ผู้โดยสารเต็มลำ ระวางบรรทุกเต็มลำ แล้วบินได้ 7000 ไมล์ขึ้นไปเนี่ย เท่าที่ทราบตอนนี้มีเครื่องบิน 2 แบบที่ทำได้คือ 340-500 กับ 777ER แล้วทำไมไม่ใช้ 777ER บินเส้นทางนี้ คือผมคิดว่าเครื่องรุ่นนี้มันไม่น่าจะบินเส้นทางนี้ได้ (ผมอาจจะผิด) แล้วผมก็ไม่แน่ใจว่าการบินไทยได้รับมอบเครื่องรุ่นนี้หรือยัง แต่เท่าที่รู้คือ ANA กับ UA ใช้ 777ER บินจาก นาริตะ มาลง ดัลเลส ที่ ดีซี ครับ ซึ่งระยะทางน่าจะสั้นกว่า กรุงเทพ นิวยอร์ค


3. ลิ่วล้อแม้วบอกคนนั่งเต็มทุกเที่ยว .... อ้าว ถ้า้เป็นอย่างที่อ้่างว่าเต็มทุกเี่ที่ยวแล้วมึงยังทำกันขาดทุนได้อีกครับ ถ้าคนนั่งเต็มทุกเที่ยว สายการบินอื่นเขาเรียกว่ากำไร

เต็มทุกเที่ยวตอนเริ่มบินเมื่อปี 48 ก็คงพอมีกำไรอยู่แหละครับ น้ำมันเริ่มขึ้นราคาฮวบฮาบเมื่อปีกว่า ๆ ที่ผ่านมา เชื่อกันจริง ๆ เหรอครับว่า เส้นทางนี้การบินไทยขาดทุนมาตั้งแต่เริ่มบิน ผมไม่รู้ข้อมูลหรอกครับ แต่ฟังดูแล้วยังงัยมันก็ไม่น่าเชื่อ เพราะไม่น่าจะมีใครยอมให้การบินไทยทนพิษบาดแผลอยู่นานถึง 3 ปี โดยไม่เอะอะโวยวาย  ถ้าขาดทุนมาตั้งแต่ต้น สนธิ ทำอะไรอยู่ ไม่ออกมาโวยวายแต่แต่ปี 48  


4. ลิ่วล้อแถไถไปถึงเรื่องสวัสดิการพนักงาน 20% ... มีคนมาเคลียร์แล้วเน้อ ถ้าผู้โดยสารเต็ม พนักงานก็ใช้สิทธิ์นี้ไม่ได้ ลิ่วล้อโกหกเต็มสูบ และในเมื่อพนักงานใช้สวัสดิการไม่ได้แล้ว ทำไมการบินไทยถึงบินต่อไม่ได้ ?? ทั้งที่ลิ่วล้ออ้างว่าผู้โดยสายเต็มตลอด ??

...เนี่ยผมอัศจรรย์ลิ่วล้อเหลี่ยมที่กระจายอยู่ตามเว็บบอร์ดทั่วๆไปจริงๆครับ
ปั้นเรื่องเป็นตุเป็นตะไปเรื่อย ปั้นน้ำเป็นตัวหาความชอบธรรมให้พวกเลวๆอยู่เสมอ แถมพูดจาดูเนียนมาก ใครจิตอ่อนก็คงเชื่อไปเลยแบบไม่ต้อง prove
โชคดีหน่อย ที่คนไทยบางส่วนยังมีพลังจิตเข้มแข็ง สะกดจิตยาก


ผมแปลกใจอยู่อย่างหนึ่ง พอมีคนไม่เห็นด้วย (ยกเว้นไอ้จ๊ะ ไอ้แก๊ส ไอ้ควายเลอร์ และ น้องโนว์) ทำไมเขาถึงต้องเป็นลิ่วล้ออีกฝ่ายเสมอไป



้ sin-jfk ต้องเปลี่ยนมาบินแบบต่อเครื่องไปเรียบร้อยแล้ว ทั้งที่เมื่อก่อนก็ใช้เครื่อง A340 นี่แหละบิน
ต่อให้ high demand ขนาดไหน ก็ยังบินต่อไม่ได้
เสียดายมันเป็นอดีตไปแล้ว ไม่สามารถหา link มาให้ดุได้

แต่ถ้าคุณ mebeam อยากจะเอาไปเปรียบเทียบกับ sin-ewk ก็ไม่ว่ากัน

พรุ่งนี้ว่ากันใหม่



สิงคโปร์แอร์ไลน์ ไม่เคยบิน SIN-JFK ครับ มันบินไปลง Newark, NJ ครับ




ผมว่ากรุงเทพ นิวยอร์ค เป็นการลงทุน ที่ไม่ประสบผลสำเร็จน่ะครับ โดยที่ผมเชื่อว่ามีสาเหตุสำคัญอย่าง 2 ประการ ก็คือ ราคาน้ำมัน และ การบริหารจัดการ คือถ้าบริหารจัดการดี มันช่วยลดต้นทุนได้ อย่างที่ผมบอกไปตอนแรกน่ะครับ เดือน ต.ค.49 น้ำมันเบนซินอ๊อกเทน 87 แกลลอนละ 2.4 ดอลล่าร์ ตอนนี้ 4.15 ดอลล่าร์ ครับ

ถ้ามองเรื่องนี้โดยใช้ สนธิ เป็นตัวตั้ง ก็ด่ากันต่อไปครับ
แต่ถ้ามองเรื่องนี้โดยใช้ ทุน กับ ต้นทุน เป็นตัวตั้ง อาจจะได้คำตอบอีกแบบนะครับ


ว่าไปผมเสียดายเส้นทางนี้ครับ สะดวกมากทีเดียว แต่ก็อย่างที่เรา ๆ ทราบกันดีก็คือ การเปลี่ยนแปลงเป็นนิรันดร์ ครับ


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 11-06-2008, 10:22
ผมไม่ได้เชื่อข้อมูลโกตั๊บมากไปกว่าความคิดของตัวเองหรอกครับ

ขอบคุณครับคุณ ScaRECroW
ข้อมูลหลายๆทางย่อมดีอยู่แล้วครับผม

 :slime_v:


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ScaRECroW ที่ 11-06-2008, 11:19
ผมไม่ได้เชื่อข้อมูลโกตั๊บมากไปกว่าความคิดของตัวเองหรอกครับ

ขอบคุณครับคุณ ScaRECroW
ข้อมูลหลายๆทางย่อมดีอยู่แล้วครับผม

 :slime_v:

ด้วยความยินดีครับ

ผมเชื่อว่าการใช้ความคิดเป็นตัวตั้ง แล้วใช้ข้อมูลรอบด้าน หลาย ๆ ทางเป็นองค์ประกอบ เป็นหนทางที่นำไปสู่คำตอบได้เสมอ

แต่ถ้าใช้ความคิดเป็นตัวตั้ง แล้วเอาอคติกับอารมณ์มาเป็นตัวประกอบ ก็บรรลุโสดาบันกันไปนั่นแหละครับ ไอ้คิว กับไอ้ 999 คือตัวอย่างน่ะครับ

ด้วยข้อมูล องค์ความรู้ ที่แต่ละคนมีแบบแตกต่างกัน เรามองเรื่องเดียวกันไปคนละทางได้อยู่แล้วแหละครับ :slime_smile:


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: Rule of Law ที่ 11-06-2008, 12:11

สิงคโปร์แอร์ไลน์ ไม่เคยบิน SIN-JFK ครับ มันบินไปลง Newark, NJ ครับ

ผมว่ากรุงเทพ นิวยอร์ค เป็นการลงทุน ที่ไม่ประสบผลสำเร็จน่ะครับ โดยที่ผมเชื่อว่ามีสาเหตุสำคัญอย่าง 2 ประการ ก็คือ ราคาน้ำมัน และ การบริหารจัดการ คือถ้าบริหารจัดการดี มันช่วยลดต้นทุนได้ อย่างที่ผมบอกไปตอนแรกน่ะครับ เดือน ต.ค.49 น้ำมันเบนซินอ๊อกเทน 87 แกลลอนละ 2.4 ดอลล่าร์ ตอนนี้ 4.15 ดอลล่าร์ ครับ

ถ้ามองเรื่องนี้โดยใช้ สนธิ เป็นตัวตั้ง ก็ด่ากันต่อไปครับ
แต่ถ้ามองเรื่องนี้โดยใช้ ทุน กับ ต้นทุน เป็นตัวตั้ง อาจจะได้คำตอบอีกแบบนะครับ

ว่าไปผมเสียดายเส้นทางนี้ครับ สะดวกมากทีเดียว แต่ก็อย่างที่เรา ๆ ทราบกันดีก็คือ การเปลี่ยนแปลงเป็นนิรันดร์ ครับ

คุณ scarecrow ถ้างั้นเราก็ได้ข้อมูลมาต่างกันเรื่อง sin-jfk การ prove ขอติดไว้ก่อนนะคะ

เรื่องต้นทุน

อย่างที่บอกเรื่องจุดคุ้มทุน cabin factor ของ bkk jfk นั้น เป็นเรื่องของ operatin cost ล้วนๆ
ซึ่งถึงแม้ว่าจะลดต้นทุนเรื่องญาติ เรื่อง overhead cost ต่างๆได้
operating cost ก็ยังคงหืดขึ้นคออยู่ดีกว่าที่จะคุ้มทุน






หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ScaRECroW ที่ 11-06-2008, 12:18
คุณ scarecrow ถ้างั้นเราก็ได้ข้อมูลมาต่างกันเรื่อง sin-jfk การ prove ขอติดไว้ก่อนนะคะ

เรื่องต้นทุน

อย่างที่บอกเรื่องจุดคุ้มทุน cabin factor ของ bkk jfk นั้น เป็นเรื่องของ operatin cost ล้วนๆ
ซึ่งถึงแม้ว่าจะลดต้นทุนเรื่องญาติ เรื่อง overhead cost ต่างๆได้
operating cost ก็ยังคงหืดขึ้นคออยู่ดีกว่าที่จะคุ้มทุน






http://en.wikipedia.org/wiki/Non-stop_flight  หาให้ครับ

แต่ความเห็นส่วนอื่น ๆ ของคุณ Yoyo ผมก็เห็นด้วยนะครับ


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: Rule of Law ที่ 11-06-2008, 13:20
http://en.wikipedia.org/wiki/Non-stop_flight  หาให้ครับ

แต่ความเห็นส่วนอื่น ๆ ของคุณ Yoyo ผมก็เห็นด้วยนะครับ

แต่ข้อมูลจากน้อง ticketing ของเดี๊ยนนี่แกก็ยืนยันเป็นมั่นเหมาะนะคะเรื่อง sin-jfk
เพียงแต่เดี๊ยนไม่มี hard evidence มายืนยันเท่านั้น
ซึ่งอันนี้  ต้องขอยอมรับข้อสรุปของคุณ scarecrow  เพราะ hard evidence สู้ไม่ได้ค่ะ  :slime_worship:



หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: paper punch ที่ 11-06-2008, 13:23


เพื่อนสนิทผมยังบอกว่า ดีนะที่เธอเป็น เพอร์เซอร์ที่ไม่ทะเยอทะยาน ไม่งั้นอาจต้องใช้เต้าไต่
ชอบประโยคนี้ของคุณ h_e_a_t ครับ เห็นภาพเลย แม้จะดูเหมือนจะว่าสุภาพสตรีไปซักหน่อย

ปล.ชอบกระทู้นี้ครับ ต้องให้credit กับหลายๆท่านที่ขยันหาข้อมูลมานำเสนอ รวมทั้งคุณmebeam ด้วย
     ส่วนการเชื่อเป็นของผู้อ่านทุกท่านที่จะพิจารณาเอง
      :slime_agreed:


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: paper punch ที่ 11-06-2008, 13:36
อ่านข้อความนี้แล้วขำว่ะ

นึกสงสารบักเล่อร์ตัวจริง  นี่มันจะรู้มั้ยนะว่ามีเด็กเอ๋อแอบเอาชื่อมันมาใช้ ไม่เนียนเลยว่ะ
แล้วก็สำแดงมาตรฐานต่ำเตี้ยใต้...ตีน  สำนวนแบบนี้ น่าจะเป็นนังจ๊ะซะมากกว่า


ศักดินาพ่ออีตุ๊ดก็เคยเป็นลูกจ้างการบินไทยว่ะ  ถ้าเปิดดูงบกำไรขาดทุนแล้วอ่านไม่ออก ก็อย่าสะเออะอีก

แฮะ แฮะ คุณYoYo คร้าาาบ ขอแซวหน่อย อย่าว่ากันน้าาาา
อ่านประโยคนี้ตอนต้นกระทู้ กับตอนหลังเนี่ย หวานผิดกันเลยนะ สงสัยคุณYoYo จะเป้นแบบ สวย เผ็ด ดุ   :slime_bigsmile:

จริงๆจะบอกว่าค่อนข้างจะคิดเหมือนกับคุณYoYo ในกระทู้นี้ครับ


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ScaRECroW ที่ 11-06-2008, 14:02
แต่ข้อมูลจากน้อง ticketing ของเดี๊ยนนี่แกก็ยืนยันเป็นมั่นเหมาะนะคะเรื่อง sin-jfk
เพียงแต่เดี๊ยนไม่มี hard evidence มายืนยันเท่านั้น
ซึ่งอันนี้  ต้องขอยอมรับข้อสรุปของคุณ scarecrow  เพราะ hard evidence สู้ไม่ได้ค่ะ  :slime_worship:



เพิ่ม Link ให้นะครับ

http://www.singapore-window.org/sw04/040628af.htm
http://infopedia.nlb.gov.sg/articles/SIP_413_2005-02-02.html

อ่อมีอีกเรื่องหนึ่งที่ผมไม่เห็นด้วยกับความเห็นของคุณนะครับ เรื่องที่วางแผน 3 ปี แล้วผิดพลาดน่ะครับ
คือผมเชื่อว่าในความเป็นจริงแล้ว มันไม่เคยมีแผนธุรกิจที่สมบูรณ์ที่สุดในโลก แผนทำสงครามก็เหมือนกัน แผนเขียนกันไว้เลิศหรู พอเอาไปปฏิบัติทีไร มันก็มีอะไรต้องปรับปรุง แก้ไข ทุกครั้งแหละครับ

มันถึงมีคนพูดว่า No war plan survive the first battle!!! แล้วเขาเลยเตือนกันให้ หวังในสิ่งที่ดีที่สุด เตรียมให้พร้อมกับสิ่งที่เลวร้ายที่สุด

โดยส่วนตัวผมภูมิใจในความกล้าหาญของการบินไทยในกรณี กรุงเทพ นิวยอร์ค พอสมควร เพราะเป็นเส้นทางบินที่ไกลที่สุดที่เครื่องบินมาตรฐานบินได้ สิงคโปร์แอร์ไลน์ บินไกลกว่า แต่ก็ต้องดัดแปลงลดจำนวนที่นั่งไปเพิ่มปริมาณน้ำมัน

ผมว่าคนในการบินไทยก็คงกัดทั้งฟันกัดทั้งลิ้นตัวเองเลือดกลบปาก เพื่อสู้ให้คงเส้นทางบินนี้ไว้ แต่ก็สู้ไม่ไหว พอสู้ไม่ไหวแล้วยอมแพ้ ผมก็ชื่นชมอยู่แหละครับ

จะให้ไปทับถม มันก็ไม่ใช่วิสัย ส่งนักมวยขึ้นไปชกบนเวที แล้วโดนต่อยเลือดสาดกลับมา ผมก็เช็ดเลือดให้แหละครับ ส่วนเรื่องพี่เลี้ยงอมเงินค่าอาหารบำรุงร่างกาย ทำให้นักมวยไม่แข็งแรงสูงสุด มันเป็นอีกเรื่องที่ต้องแยกไปแก้ไขต่างหาก อะไรอย่างนี้น่ะครับ จะให้ผมไปกระทืบนักมวยซ้ำก็ยังไม่ใจร้ายขนาดนั้นอะครับ

ที่ว่าสิงคโปร์บินแล้วขาดทุนก่อนหน้าการบินไทย แล้วเรายังดื้อไปทำตามก็คงไม่น่าจะใช่  สิงคโปร์บินก่อนเราก็เพราะเขาซื้อเครื่องบินก่อนเรา ตังค์มันเยอะ อะไรออกใหม่มันซื้อก่อนใครเนือง ๆ มันซื้อก่อนมันก็ได้ก่อน มันก็บินก่อน เราซื้อทีหลังก็ได้ทีหลังก็บินทีหลัง

มันเป็นการแข่งขันที่เราเป็นผู้ตามอยู่ ซึ่งมองไปข้างหน้าก็เป็นไปได้ยากที่เราจะขึ้นไปนำ แค่รักษาการตามไม่ให้ห่างก็ยากจะแย่

การเปิดบินตรงไปนิวยอร์คนั้น ผมว่ามันน่าจะเป็นการชิงไหวชิงพริบกันในเวทีแข่งขันระดับชาติ การจะบินไปลงที่ไหน ไม่ใช่นึกจะไปแล้วก็ไปได้แบบรถเมล์
มันต้องเจรจากันก่อนครับ คงเคยได้ยินคำว่า "สิทธิ์การบิน" หรือ Landing right บ้างนะครับ ประเทศต้นทางกับปลายทางต้องเจรจาแลกเปลี่ยนสิทธิ์กัน
อยู่ ๆ เราจะเปลี่ยนไปลงปักกิ่งเพื่อรับผู้โดยสารเพิ่ม แล้วต่อไปนิวยอร์ค ก็ต้องเจรจาใหม่ ต้องคุยกับจีนว่ายอมไหม อั๊วจะไปรับผู้โดยสารจากประเทศลิ๊อไปนิวยอร์ค แล้วรับจากนิวยอร์คมาลงประเทศลื๊อ แล้วก็ต้องเจรจากับอเมริกาใหม่ว่า ไอจะรับจากจีนไปหายู แล้วรับของยูมาส่งที่จีนด้วย ยูว่างัย
จีนเพื่อนเราบอกว่า สบายลื๊อทำไปเลย แต่อั๊วขอรับผู้โดยสายจากคุนหมิงไปลงภูเก็ตนะ เรายอมไหม  แล้วอเมริกาบอกว่า ไม่ได้ ไอไม่ยอมให้ยูรับจากจีนมาลงนิวยอร์ค ถ้าจะให้ไอยอมยูต้องให้ไอรับจากโตเกียวไปกรุงเทพเพิ่ม

หรือว่าทั้งจีนและอเมริกาอาจจะยอมก็ได้แบบง่าย ๆ แต่มีข้อแม้ว่าให้รับจากปักกิ่งไปได้กี่ที่นั่ง

ไปดูที่ยุโรปบ้าง ว่าทำไมการบินไทยต้องซื้อ A380 ก็เพราะว่าสิทธิ์การบินเขาจำกัดเที่ยวบิน แต่ไม่จำกัดจำนวนที่นั่ง เราใช้ 747 บินอยู่ เต็มที่เที่ยวนึงก็ สี่ร้อยกว่า ได้ 380 มาก็ฟาดเข้าไปหกเจ็ดร้อย

คงพอจะเห็นภาพนะครับ

สิงคโปร์ได้สิทธิ์ไปลงนูวอาร์ค เราได้ JFK อเมริกาก็คงได้เราไป ตอนเจรจา การบินไทยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องก็คงมองว่า มันมีโอกาสเติบโตได้ มันเปิดตลาดใหม่น่ะครับ คือหลักทั่ว ๆ ไป องค์กรมันต้องหาทางเดินไปข้างหน้าตลอดเวลาน่ะครับ (ล่าสุด แอ๊ปเปิลประกาศเปิดตัว ไอโฟน 3G) จะย่ำอยู่กับที่ ขณะที่คนอื่นเขาเดินได้หรือครับ พอมองไปข้างหน้า มันก็มีขวากหนามน่ะครับ อันนี้เป็นสัจธรรม เพราะถ้ามันไม่มีขวากหนาม ทุกผู้คนก็จะประสบความสำเร็จกันหมด ไม่มีใครผิดหวังแม้แต่คนเดียว ซึ่งมันไม่ใช่ การบินไทย เจออุปสรรคน่ะครับ เหมือนกับที่สิงคโปร์เจอ สายการบินอื่นก็เจอ

ที่อเมริกานี่ก็หนัก กระอักเลือดกันอยู่ ทนพิษบาดแผลไม่ไหว เตรียมล้มละลายอยู่หลายสายการบินครับ


ที่เป็นสีฟ้านั่น ไม่ใช่ข้อเท็จจริงนะครับ เป็นความเห็นที่ประมวลจากสิ่งที่รู้มา อาจจะผิดได้ในทุกจุดนะครับ



หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 11-06-2008, 14:35
"แป๊ะลิ้มมั่วเรื่อง TG อีกแล้ว


โดย คุณ polize60
ที่มา เวบบอร์ด พันทิปราชดำเนิน
9 มิถุนายน 2551

เกี่ยวกับเรื่อง TG ที่น้าลิ้มพูด

พอดีได้อ่านบทความที่น้าลิ้มพูดถึง เรื่องการบินไทยยกเลิกเที่ยวบินตรง(Direct) กทม.-นิวยอร์ก แล้ว รู้สึกว่า.... มันมีข้อมูลอะไรที่ผิดพลาดหลายอย่าง

ผมก็พูดเท่าที่ผมรู้นะครับ ใครรู้เพิ่มเติม หรือผิดพลาดตรงไหน แก้ไขได้นะครับ

แป๊ะลิ้มพูดถึงการยกเลิกเที่ยวบิน ของการบินไทยเที่ยวบินตรง กทม.-นิวยอร์ก เพราะขาดทุนมหาศาล

ปกติ ไฟล์ท กทม.-นิวยอร์ก(JFK) ที่บินตรง ไม่แวะที่ไหนนี้ ต้นทุนต่อเที่ยวราวสี่ล้านบาท เท่าที่ทราบ เต็มเกือบทุกไฟล์ท ข้อดีที่ไม่ต้องแวะที่ไหน

คือช่วงเปิดไฟล์ทแรก ๆ ได้กำไรอยู่พอสมควร หลัง ๆ น้ำมันอัพขึ้นเยอะ เลยขาดทุน เพราะเครื่อง 340 ไม่ได้เติมน้ำมันแค่พันสองพันปอนด์ เติมน้ำมันครั้งนึงเป็นหมื่น

การบินไทย แก้ไขโดยการลดเที่ยวบินของ A340 จาก 7 flight/weekเป็น 5 flight/week ในไฟล์ท ไดเรกลอสเองเจอลิส และใช้เครื่อง 777 ในไฟล์ทที่แวะโอซาก้า

ง่าย ๆ ก็คือ ปรับเปลี่ยน เกลี่ยให้กำไรขาดทุน อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ไม่ได้ยกเลิกหรือขายทิ้งอะไรทั้งหมด อย่างที่แป๊ะลิ้มแกบอก

การลงทุนคือความเสี่ยง การบินไทยลงทุน ก็ต้องมีความเสี่ยงเป็นธรรมดา แต่การบินไทยไม่เคยเจ๊ง

แป๊ะลิ้มเคยเจ๊งไม๊ครับ... ถ้าเคย ก็อย่าไปสอนการบินไทย ผมว่า เขาบริหารงานเก่งกว่าบริษัทเจ๊ง ๆ เยอะ

ส่วนคำพูดบางคำที่น้าลิ้มบอก....... "เพราะเครื่องบินแอร์บัส รุ่นที่จะซื้อเป็นเครื่องบินตกรุ่น "

เอิ่ม.... ถ้าผมจำไม่ผิด เทคโนโลยีของ แอร์บัส 340 นี่ พอ ๆ กับ B777 จะเป็นรองก็แค่ A380 ซึ่งเป็นเครื่องบินระดับทอป ๆ ของโลก ซีรี่ย์ 400 ที่เราซื้อมา ไม่ได้ตกรุ่นเลยแม้แต่น้อย

แป๊ะลิ้มบอกว่า "เขาจงใจที่จะซื้อเครื่องบินที่ไม่เหมาะกับการบินระยะไกล "

เออ.... แอร์บัส 340 นี่... เขาออกแบบมาให้บินระยะไกลโดยเฉพาะเลยไม่ใช้หรือครับแป๊ะลิ้ม!?!

สี่เครื่องยนต์ บินได้ครึ่งโลกสบาย ๆ นักบินสี่คนผลัดกัน

คนออกแบบเขาจบวิศวะ และสร้างเครื่องบินระดับโลกมาแล้วทั้งนั้น

ผมเชื่อวิศวะกร มากกว่า แป๊ะลิ้มครับ เพราะเครื่องบินทำได้ขนาดนี้ บินเห็นชัด ๆ ว่า ออกแบบมาให้บินระยะไกล คงไม่ได้ออกแบบมา ให้บิน ไปกลับ บ้านพระอาทิตย์สะพานมัฆวานหรอกครับ

อย่างที่รู้ ๆ กัน แป๊ะลิ้มแกรู้ทุกเรื่อง ยกเว้นรื่องจริง ทำได้ทุกอย่าง ยกเว้นงานในหน้าที่ อยู่ได้ทุกที่ ยกเว้นที่ทำงาน

กระทู้นี้เหมือนอย่างที่พระพุทธเจ้าบอก "อย่าเชื่อ เพราะฟังเขามา " ครับ

ผมผิดถูกอย่างไร หรือใครู้เพิ่มเติมอย่างไร บอกได้นะครับ"


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: mebeam ที่ 11-06-2008, 15:09
ข้อความโดย: ScaRECroW
บินได้ 7000 ไมล์ขึ้นไปเนี่ย เท่าที่ทราบตอนนี้มีเครื่องบิน 2 แบบที่ทำได้คือ 340-500 กับ 777ER แล้วทำไมไม่ใช้ 777ER  บินเส้นทางนี้ คือผมคิดว่าเครื่องรุ่นนี้มันไม่น่าจะบินเส้นทางนี้ได้ (ผมอาจจะผิด) แล้วผมก็ไม่แน่ใจว่าการบินไทยได้รับมอบเครื่องรุ่นนี้หรือยัง


มาเสริมครับ

ขณะเขียนแผนนั้นไม่มีในช๊อยครับ  777ER  ยังปรับปรุงมาสู้ไม่ทัน
bkk - jfk  เปิดเที่ยวแรก  1 พฤษภาคม 2548

โบอิ้งเฉือนแอร์บัสเปิดตัวสินค้าใหม่

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ระหว่าง 8-17 พฤศจิกายน 2548  โบอิ้งอาศัยความเร็วตัดหน้าทำโปรแกรมแนะนำสินค้าใหม่ทันที เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา นำเครื่องโบอิ้ง 777-200ER ต้นแบบมาลงที่เช็ก แลป ก๊ก ฮ่องกง  ตัดหน้าแอร์บัสซึ่งเตรียมโปรแกรมเปิดตัว A380 อย่างยิ่งใหญ่ในเอเชียในวันดังกล่าวเช่นกัน แต่แอร์บัสรอจัดเครื่องยนต์โรลสรอยซ์ เทรนซ์ 900 ติดตั้งให้ลงตัว จึงทำให้นำสินค้ารุ่น A 380 มาโชว์ล่าช้ากว่าโบอิ้ง 48 ชั่วโมง

http://www.matichon.co.th/prachachart/prachachart_detail.php?s_tag=02tou01141148&day=2005/11/14



หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: paper punch ที่ 11-06-2008, 15:46
TLE เอ๋ย เค้าไปถึงไหนแล้ว..

เอางี้นะ อาบน้ำให้สบาย กินยาระบายก่อนนอน แล้วตื่นมาค่อยเริ่มอ่านตั้งแต่ต้นนะ จะได้ไม่โง่นะ


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 11-06-2008, 15:49
TEL เอ๋ย เค้าไปถึงไหนแล้ว..

เอางี้นะ อาบน้ำให้สบาย กินยาระบายก่อนนอน แล้วตื่นมาค่อยเริ่มอ่านตั้งแต่ต้นนะ จะได้ไม่โง่นะ


แบบว่าTLEชอบขยี้จุดตายอ่ะ...แหม..มันteenเจงๆ ทั้งบี้ทั้งขยี้เน้นๆจุดตายนั่น ซี๊ดดดดดดดดดดดดด :slime_whistle:


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: paper punch ที่ 11-06-2008, 15:59

แบบว่าTLEชอบขยี้จุดตายอ่ะ...แหม..มันteenเจงๆ ทั้งบี้ทั้งขยี้เน้นๆจุดตายนั่น ซี๊ดดดดดดดดดดดดด :slime_whistle:

สรุปที่ผ่านมาไม่เคยอ่านเอาอะไรใส่สมองเลยงั้นซิ สักแต่ว่ามีteen เอ๊ยมีมือก็postแมร่งดะ


หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: Rule of Law ที่ 11-06-2008, 16:26
แฮะ แฮะ คุณYoYo คร้าาาบ ขอแซวหน่อย อย่าว่ากันน้าาาา
อ่านประโยคนี้ตอนต้นกระทู้ กับตอนหลังเนี่ย หวานผิดกันเลยนะ สงสัยคุณYoYo จะเป้นแบบ สวย เผ็ด ดุ   :slime_bigsmile:

จริงๆจะบอกว่าค่อนข้างจะคิดเหมือนกับคุณYoYo ในกระทู้นี้ครับ

ครือว่า ที่ถูกแล้ว ต้องไม่ใช้ภาษาที่รุ่นแรงอ่ะค่ะ  :slime_shy:
บักเล่อร์ปลอมเปิดประเด็นมั่วก่อน เลยต้องแรงกลับไปบ้าง



หัวข้อ: Re: การบินไทย root กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: paper punch ที่ 11-06-2008, 16:54
ครือว่า ที่ถูกแล้ว ต้องไม่ใช้ภาษาที่รุ่นแรงอ่ะค่ะ  :slime_shy:
บักเล่อร์ปลอมเปิดประเด็นมั่วก่อน เลยต้องแรงกลับไปบ้าง


:slime_agreed: :slime_agreed: :slime_agreed: :slime_inlove:


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: Rule of Law ที่ 11-06-2008, 17:01
คุณ scarecrow

เฮ่อมันพูดยากค่ะ สำหรับคนที่สัมผัสอยู่ในช่วงเวลานั้น
มันจะมีลำดับของเหตุการณ์ต่างๆสั่งสมกันมา

ตั้งแต่ตอนขออนุมัติจัดซื้อเครื่องบิน ก็จะรู้สึกงงๆกันว่า ok มี fleet ใหม่เป็น ultra long hual มาให้เราเล่นนะ
ซึ่งตอนที่มีการอนุมัตินั้น  การบินไทยยังงงๆไม่ชัดเจนกันเลยว่า เราซื้อมาเพื่อทำเส้นทางใหม่เหรอ เส้นทางไหนเป็นยังไง
เพราะปรกติ การจัดหาเครื่องใหม่มาทดแทนจะเคยเห็นแต่เอามาแทนฝูงบินเก่าค่ะ
ซึ่งตอนนั้นก็ไม่เข้าใจว่า 340 มันจะมาแทน 747 หรือจะมาบินเพิ่มในเส้นทางเดียวกัน หรือยังไง

แต่แล้ว... ก็มีข่าวออกมาว่าบอร์ดอนุมัติ...รัฐบาลอนุมัติ

มาถึง route JFK พวกที่อยู่ฝ่ายบัญชีเม้ากันมาตั้งแต่ก่อนเปิดแล้ว ว่าไปไม่รอดแน่
กระแสข่าวร้ายเป็นที่สนใจอย่างกว้างขวาง
แต่ไม่เคยเลยที่ผู้บริหารในยุคนั้นจะออกมาชี้แจงว่า มันเป็นอย่างไรกันแน่.....

แต่ในแง่ที่ว่า ตัวเส้นทาง JFK อาจจะทำกำไรไม่ได้ แต่ช่วยยอดขาย network ของเส้นทางอื่น
อันนี้ เดี๊ยนขอตำหนิวิธีคิดของการบินไทยโดยตรง
จะเล่นแนวนี้ได้  ต้องสายป่านยาวเท่านั้น สำหรับการบินไทยเหรอ ดู net profit(volume) ก็รู้ว่าเล่นไม่ได้แน่นอนค่ะ


แล้วก็มาถึงบทสรุป... ขายทิ้ง 340-500 ทั้ง 5 ลำค่ะ 
แม้แต่จะไปบินใน route อื่นซึ่ง fuel consumption อาจจะต่างกับ JFK  ก็ยังไม่กล้าเลยนะคะ




หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: Rule of Law ที่ 11-06-2008, 17:06
"แป๊ะลิ้มมั่วเรื่อง TG อีกแล้ว


ส่วนอันเนี้ย มาตรฐานนังจ๊ะตัวจริง จะเปลี่ยนอีกกี่ชื่อ ก็มาตรฐานเดิม  :slime_smile2:



หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: room5 ที่ 11-06-2008, 19:20
ส่วนอันเนี้ย มาตรฐานนังจ๊ะตัวจริง จะเปลี่ยนอีกกี่ชื่อ ก็มาตรฐานเดิม  :slime_smile2:



จ๊ะมันมีมาตรฐานอะไรเล่า ขนาดชื่อมันยังใช้ชื่อเดิมไม่ได้เลย
พอถึงจุดตกต่ำสุดขีดของชีวิตมันก็เปลี่ยนชื่อ ลอกคราบไปเรื่อยๆ ดูคนอื่นเขาแล้วกัน
มัจุดยืนชัดเจนไม่ต้องกลังคำพูดจะกลับมาหลอกตัวเอง กล้าใช้ชื่อเดิมกันทั้งนั้น


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: KILL...ER ที่ 11-06-2008, 19:46
ข้อมูลในพันทิป ห้องบลู นั่นน่ะน่าเชื่อถือที่สุด ตัวจริงเสียจริงของแท้


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: mebeam ที่ 11-06-2008, 20:31
ข้อมูลในพันทิป ห้องบลู นั่นน่ะน่าเชื่อถือที่สุด ตัวจริงเสียจริงของแท้

ผมเคยกดลิ๊งเข้าไปดู แล้วไม่ได้เซพไว้
แล้วนึกว่ามันอยู่หว้ากอ กลับไปหาเกือบตาย ไม่ยักเจอนึกว่าโดนลบไปแล้ว

ข้อมูล ดีมาก ปลอดการเมือง แต่ไม่ยักปลอดคนเกลียดสนธิลิ้ม :slime_smile:

http://www.pantip.com/cafe/blueplanet/topic/E6689769/E6689769.html



หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: NAJ ที่ 11-06-2008, 21:38
เคยได้ยินมาว่าเพราะเครื่องหนัก บินไกล ต้องบรรทุกน้ำมันเยอะ
เลยมีน้ำหนักเหลือให้ใส่ cargo น้อยมากๆ ซึ่งส่วนนี้จริงๆแล้วทำเงินได้เยอะทีเดียว
แค่ราคาน้ำมันคงตัวก็ไม่ค่อยจะคุ้มทุนอยู่แล้ว นี่เจอราคาน้ำมันดีดขึ้นไปอีก
แต่สายการบินในอเมริกาหลายสายเองก็เจ็บระนาวเหมือนกัน
คงจะเหลือแต่ southwest ล่ะมั้งที่ต้นทุนอื่นๆต่ำ แถมยัง forward น้ำมันเอาไว้ล่วงหน้าอยู่หลายปี

เสียดาย route นี้อะ สะดวกและสบายมากจริงๆ


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: ABCAB ที่ 11-06-2008, 21:45
เคยได้ยินมาว่าเพราะเครื่องหนัก บินไกล ต้องบรรทุกน้ำมันเยอะ
เลยมีน้ำหนักเหลือให้ใส่ cargo น้อยมากๆ ซึ่งส่วนนี้จริงๆแล้วทำเงินได้เยอะทีเดียว
แค่ราคาน้ำมันคงตัวก็ไม่ค่อยจะคุ้มทุนอยู่แล้ว นี่เจอราคาน้ำมันดีดขึ้นไปอีก
แต่สายการบินในอเมริกาหลายสายเองก็เจ็บระนาวเหมือนกัน
คงจะเหลือแต่ southwest ล่ะมั้งที่ต้นทุนอื่นๆต่ำ แถมยัง forward น้ำมันเอาไว้ล่วงหน้าอยู่หลายปี

เสียดาย route นี้อะ สะดวกและสบายมากจริงๆ


น้ำมัน forward ได้ ความรู้ใหม่

ขอบคุณครับ


หัวข้อ: Re: การบินไทย route กรุงเทพ-นิวยอร์ค ขาดทุนย่อยยับใครรับผิดชอบ?
เริ่มหัวข้อโดย: mebeam ที่ 11-06-2008, 22:04
  :slime_smile: