ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด (รุ่นแรก)

ทั่วไป => สภากาแฟ => ข้อความที่เริ่มโดย: Cherub Rock ที่ 09-05-2008, 07:49



หัวข้อ: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Cherub Rock ที่ 09-05-2008, 07:49
'อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ'

โดย เกษียร เตชะพีระ

(http://www.matichon.co.th/news-photo/matichon/2008/05/act01090551p1.jpg)

คุณโชติศักดิ์ อ่อนสูง เป็นนักศึกษาของผมคนหนึ่ง เขาเคยเข้ามาเรียนในวิชาที่ผมสอนที่ธรรมศาสตร์

หลังเรียนจบแล้ว เขาห่างหายจากมหาวิทยาลัยไป จนปรากฏข่าวอื้อฉาวว่าเขาถูกตั้งข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ

เท่า ที่ทราบจากข่าว ผมไม่เห็นด้วยกับสิ่งที่คุณโชติศักดิ์ทำ ถ้าเขายังเรียนกับผมอยู่ ผมคงโต้แย้งถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ทัดทานตักเตือนเขา

แต่คุณโชติ ศักดิ์ก็ได้ทำสิ่งนั้นไปแล้ว และในฐานะบุคคลผู้บรรลุนิติภาวะ รู้ผิดชอบชั่วดี เขาก็ต้องรับผิดชอบต่อสิ่งที่เขากระทำ โดยเป็นไปตามครรลองของกฎหมาย ผ่านกระบวนการยุติธรรม

ในความหมายนี้ ฐานะของคุณโชติศักดิ์จึงไม่ใช่ทั้ง "วีรชน" และก็ไม่ใช่ "ปีศาจ" อย่างที่มีใครบางฝ่ายพยายามปั้นให้เป็น เขาเป็นเพียงผู้ต้องหาคดีอาญา ซึ่งศาลตุลาการจะเป็นผู้พิพากษาตัดสินในที่สุดว่าเขามีความผิดจริงหรือไม่? และหากผิดจริง เขาควรต้องรับโทษสถานใด?

การเรียกร้องให้ใช้ศาลเตี้ย เล่นงานเขาด้วยความคะนองปากผ่านสื่อมวลชนบางสำนัก ย่อมไม่ต่างอะไรกับวาทกรรม "ฆ่าตัดตอน" แห่งสงครามต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดสมัยรัฐบาลทักษิณ หรือการประณามด่าว่าฝ่ายตรงข้ามและผู้เห็นต่างทางการเมืองอย่างดูหมิ่น ทำลายศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของคนผู้นั้นตามเว็บบอร์ดฝ่ายต่างๆ ในระยะหลังนี้ ซึ่งล้วนปลุกระดมสร้างเสริมบรรยากาศความเกลียดชังอย่างขาดสติอันจะนำไปสู่ การกร่อนเซาะบ่อนทำลายความอดทนอดกลั้นต่อกันและหลักนิติธรรมหรือการปกครอง ด้วยกฎหมาย (the rule of law) ในที่สุด

เราไม่ควรทำซ้ำในสิ่งที่เรา ประณามว่าคนอื่นทำ เราไม่ควรใช้วิธีการอันเลวร้ายที่คู่ต่อสู้ของเราใช้หากเราคิดว่าเราแตก ต่างจากคู่ต่อสู้ของเรา

หนทางที่คนไทยเราจะหาทางออกจากความขัดแย้ง ทางการเมืองเรื่องต่างๆ ที่กำลังเข้มข้นงวดตัวขึ้นในปัจจุบัน โดยไม่ต้องลุกขึ้นมาฆ่ากันเองจนนองเลือดเหมือนที่ผ่านมาและที่อาจจะเกิด ขึ้นได้อีก ก็คือ : -

อย่าทำให้คดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพกลายเป็นประเด็นการเมือง

อย่าใช้สถาบันกษัตริย์เป็นเครื่องมือทำลายฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง

หากต้องยึดมั่นให้คดีเหล่านี้ดำเนินไปตามครรลองของกฎหมายโดยวิถีทางแห่งกระบวนการยุติธรรมอย่างที่มันควรจะเป็นจนถึงที่สุด

นั่นคือผิดเป็นผิด และต้องรับโทษตามกฎหมาย, ไม่ผิดเป็นไม่ผิด และได้รับอิสระพ้นมลทินไป

นี่ต่างหากคือวิธีป้องกันรักษาประชาชาติบ้านเมืองและสถาบันกษัตริย์ให้มั่นคงปลอดภัยจากไฟแห่งความขัดแย้งแตกแยกทางการเมืองที่ดีที่สุด

เมื่อ 32 ปีก่อน เหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 ที่ธรรมศาสตร์เกิดขึ้นและดำเนินไปสู่การนองเลือดจากองค์ประกอบเหล่านี้คือ : -

- มีการกล่าวหาฝ่ายตรงข้ามทางการเมืองว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ

- มีการกล่าวหารัฐมนตรีบางรายว่าเป็นคอมมิวนิสต์และเดินขบวนกันไปล้อมทำเนียบรัฐบาล

- ไทยฆ่าไทย

- รัฐประหาร

ด้วยบทเรียนในอดีตที่เรามี สังคมไทยต้องช่วยยับยั้งซึ่งกันและกันให้หยุด อย่าเดินต่อไปตามเส้นทางสายเก่าสู่สถานการณ์อย่าง 6 ตุลาฯ

บน เส้นทางสายที่กำลังปูลาดกันอยู่นี้ คนอย่างคุณโชติศักดิ์ เว็บข่าวประชาไท และนิตยสารฟ้าเดียวกัน เป็นแค่เหยื่อริมทาง จุดหมายปลายทางอยู่ที่ทำเนียบรัฐบาล โดยมีจักรภพ เพ็ญแข และสมัคร สุนทรเวช เป็นเป้าหมาย และชีวิตเลือดเนื้อของคนไทยด้วยกันเป็นเครื่องสังเวย

ที่มา หน้า 6 หนังสือพิมพ์มติชน วันที่ 09 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

(http://www.vanhara.com/wp-photos/thumb.20061028-231702-5.jpg)

http://www.matichon.co.th/news_detail.php?id=30369&catid=16


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: northstar ที่ 09-05-2008, 07:58
ใครครับ... เกษียร เตชะพีระ... ขอโทษนะเพราะผมไม่ทราบจริงๆครับ  :slime_shy:


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ::วิญญาณห้อง2:: ที่ 09-05-2008, 08:05
" คนอย่างคุณโชติศักดิ์ เว็บข่าวประชาไท และนิตยสารฟ้าเดียวกัน เป็นแค่เหยื่อริมทาง "

พูดออกมาได้หน้าด้านๆ

มันเป็นผู้จุดชนวนต่างหาก

แต่ครั้งนี้ ประชาชน คงไม่โดนหลอกใช้เหมือน 6 ตุลาคมหรอก เลี๊ยบ เพ็ญ และไอพวกซ้ายสุดโต่ง


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Cherub Rock ที่ 09-05-2008, 08:12
(http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/123/1123/images/mob1.JPG)

ผมว่ายุคนี้มันไม่ได้อยู่ที่ประเด็นหมิ่นหรือเปล่า

แต่มันอยู่ที่คนใช้ความรุณแรงแล้วไม่มีใครมาจัดการ

ก็ไม่แปลกที่จะมีความรุณแรงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

ม็อบเนชั่น เวิร์ดเทรด สี่เสา ม็อบนกเขา




ยุคนี้แล้วยังใช้กำลังตัดสิน
ด้อยพัฒนาแท้ๆ :slime_dizzy:


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ปุถุชน ที่ 09-05-2008, 08:51
ใครครับ... เกษียร เตชะพีระ... ขอโทษนะเพราะผมไม่ทราบจริงๆครับ  :slime_shy:

เป็นคนเดือนตุลาคนหนึ่ง ที่มีบทบาททางวิชาการ ประสิทธิ์ประศาสน์ ความรู้ให้นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสังคมไทย

http://www.nidambe11.net/person/biography/kasian_tejapira.htm


http://www.thaioctober.com/forum/index.php?topic=628.msg23728

http://www.thaitopic.com/mag/soc/dome03.htm





หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ปุถุชน ที่ 09-05-2008, 08:54
อย่าทำให้คดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพกลายเป็นประเด็นการเมือง

อย่าใช้สถาบันกษัตริย์เป็นเครื่องมือทำลายฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง

หากต้องยึดมั่นให้คดีเหล่านี้ดำเนินไปตามครรลองของกฎหมายโดยวิถีทางแห่งกระบวนการยุติธรรมอย่างที่มันควรจะเป็นจนถึงที่สุด

นั่นคือผิดเป็นผิด และต้องรับโทษตามกฎหมาย, ไม่ผิดเป็นไม่ผิด และได้รับอิสระพ้นมลทินไป

นี่ต่างหากคือวิธีป้องกันรักษาประชาชาติบ้านเมืองและสถาบันกษัตริย์ให้มั่นคงปลอดภัยจากไฟแห่งความขัดแย้งแตกแยกทางการเมืองที่ดีที่สุด

เกษียร เตชะพีระ.


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: northstar ที่ 09-05-2008, 09:10
ขอบคุณครับคุณปุ...เพียงแต่อ่านแล้วมันคิดได้สองแง่สามมุมก็เลยถามดูก่อน  :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: see - u ที่ 09-05-2008, 19:30
*  เรื่องของการดึง สถาบัน เข้ามาเกี่ยว ...  คงปฎิเสธไม่ได้ ..... ว่าไม่มี

    ถามว่าทำไมถึงต้องโยงไปที่   " สถาบัน  "

    เพราะ... เป็นเรื่องที่อ่อนไหวและกระทบกะความรู้สึกของคนได้ง่าย

    ที่น่าแปลกใจก็คือ ..... ไม่ว่าเหตุการณ์ต่าง ๆ จะผ่านมาหลายปีแล้ว

    แต่เรื่องการเอาสถาบันกษัตริย์ .... มาเป็นข้อต่อรองทางการเมืองยังมีอยู่ตลอดเวลา

    พฤติกรรมของ  โชติศักดิ์ ..... นอกจากที่จะมีการพยายามที่จะโยงเหตุการณ์ไปในเรื่องเหล่านั้น

   ยังมีการพยายามดึงเอาเรื่องสิทธิมนุษยชนเข้ามาเกี่ยว และ มีการพยายามขยายผลเรื่องนี้ออกไปในสื่อต่างประเทศ

   ดิฉัน  เห็นด้วยตรงข้อความที่คุณปุ เอามาโพส  ในประโยคที่ว่า  ...........

   >   อย่าทำให้คดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพกลายเป็นประเด็นการเมือง  < 

   ...................   เพื่อเข้าทางใครบางคน  !!!


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: DAWN ที่ 09-05-2008, 21:02
โดยความเคารพในความคิด และสติปัญญาของทุกๆท่าน ผเห็นว่าครั้งนี้ไม่ใช่การดึงเอาคดีหมิ่นฯ มาเป็นประเด็นการเมือง
 แต่ การหมิ่นฯ ที่เกิดขึ้นมันเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการล้มล้าง มันเริ่มจากจุดเล็กๆ มันค่อยๆสร้างประเด็นหลายๆจุด แล้วเตรียมที่จะนำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมารวมกัน สร้างเป็นภาพร้ายๆของสถาบันฯ เมื่อมองเห็นแผนที่ชัดเจน ของผู้ที่หวังทำลายอย่างนี้ ท่านจะไม่ให้ปกป้องหรือครับ ท่านจะปล่อยให้ไฟริบหรี่มันลามมากจนถึงจุดวาบไฟหรือ ผมเห็นด้วยอย่างยิ่งที่ไม่ควรนำมาเป็นประเด็นทางการเมือง
แต่เราควรช่วยกันต้านภัยร้ายภัยนี้
:slime_fighto: :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Limmy ที่ 09-05-2008, 21:25
ไม่อยากเดินไปสู่จุด 6 ตุลาหรอกครับอาจารย์

แต่อีเพ็ญมันทั้งผลัก ทั้งลากผม ไปหลายร้อยเมตรแล้ว


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: พรรณชมพู ที่ 09-05-2008, 21:41
ในคดีที่สะเทือนขวัญ และสะเทือนความรูสึกของประชาชน หลายคดี   จำเลยจะต้องได้รับความคุ้มครองจากจเหน้าที่ตำรวจอย่างแน่นหนา เพราะประชาชนที่โกรธแค้นจากการกระทำนั้น จะเข้ารุมประชาทัณฑ์

การกระทำเช่นนั้นผิดกฎหมาย เพราะจำเลยต้องได้รับการพิพากษา และลงโทษตามกฎหมาย

อะไรคือกฎหมาย  กฎหมายในความหมายที่ถูกต้อง คือกฎของสังคมที่ผู้คนในสังคมนั้นๆ เป็นผู้ร่วมกันกำหนดขึ้นมา มีกฎหมายที่ดูแปลกประหลาดมากมายในโลกนี้ ซึ่งก็ล้วนแล้วแต่ผู้คนในสังคมนั้นๆเองจะร่างขึ้นมา

และกฎที่ใช้ความคุมสังคมให้สงบสุข นอกจากกฎหมายแล้วยังมีกฎสังคม

บางครั้งเราเรียกกฎของสังคมนั้นว่า กฎหมู่ บางครั้งเราเห็นว่ามันป่าเถื่อน  แต่มันก็ยังคงดำรงอยู่เสมอมา

ตาต่อตา ฟันต่อฟัน  ตามประมวลกฎหมายของฮุมมูราบี ยังคงมีการหยิบยกมาใช้เสมอๆ

คนแก่ไร้ทางต่อสู้บางคน ในสังคมบางสังคมที่ชอบขายเสียง ถูกขับไล่ออกจากสังคมที่ตนอาศํยอยู่มาทั้งชีวิต เพราะคนในสังคมนั้นกล่าวหาว่าเป็น ผีปอบ หากไม่โยกย้ายถิ่นฐานหนีภัย ก็อาจจะถูกกฎหมู่ประชาทัณฑ์ถึงแก่ชีวิตได้

คนหนุ่มที่มีการศึกษาบางคน ที่คิดว่า ไม่ยืน ไม่ผิด อาจจะไม่ได้ยืนต่อไป เพราะต้องนอนลงด้วยบาทาของกฎสังคม

ไม่รู้จะช่วยอย่างไร ลำบากใจจริงๆ  :slime_smile2:


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: so what? ที่ 09-05-2008, 22:17
เงื่อนไขมันต่างกันครับ

สมัยหกตุลา เงื่อนไขปัจจัยเร่งเร้ามันมาจากภายนอก จากความหวาดกลัวภัยคุกคามของลัทธิคอมมิวนิสต์ โดยมีปัจจัยภายในอย่างไอ้หมักไอ้จืดและอื่นๆเป็นตัวช่วย ระบบข้อมูลข่าวสารที่ยังไม่ทันสมัยแบบปัจจุบันทำให้เกิดการบิดเบือนและถูกใช้เป็นเครื่องมือทำลายกันได้ง่ายๆ

เรื่องคดีหมิ่นของไอ้อ้วนดำเหม็นตัวนี้ รวมทั้งกรณีเว็บประชาไท ไฮทักษิณ อีเพ็ญ ฯลฯ เกิดจากตัวพวกมันเองออกมาเปิดเกมล่อเป้าทั้งนั้น และเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ไอ้เหลี่ยมสูญเสียอำนาจมาแล้ว

ปัญญาชนอย่างอาจารย์เกษียร น่าจะมองเห็นความแตกต่างได้ไม่ยากนะครับ  :slime_dizzy:


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 09-05-2008, 22:22
พฤติกรรมท้าทายกฎหมายมิใช่กรณีนี้กรณีเดียว

การชี้หน้ากล่าวหากันในสังคมยังมีอีกมากมายหลายกรณี

หากขบวนการยุติธรรมไม่ชี้ผิดถูกให้ประชาชนรับรู้....สังคมก็ย่ำแย่ถกเถียงแตกแยกกันไป

อีกอย่างหนึ่งกรณี "โชติศักดิ์" หากศาลพิจารณาแล้วว่า "ไม่ผิด" สังคมจะยอมรับได้มั๊ย

เกษียร เตชะพีระ นำเสนอแง่มุมที่น่าคิด

การไม่ดำเนินคดี หรือกระบวนการยุติธรรมที่ช้าเกินไปก็ไม่ใช่ความยุติธรรม ไม่สามารถแก้ปัญหาสังคมได้

กรณี ฟ้าเดียวกันและประชาไท หากกระทรวงไอซีทีดำเนินการไปตามอำนาจหน้าที่ ก็ไม่น่าจะมีปัญหา

เพราะเป็นเรื่องของ "การตีความ" ของพนักงานเจ้าหน้าที่

ในเชิงกลยุทธ์ หรือ การทิ้งประเด็น "หมิ่นเบื้องสูง" หรือ สิ่งที่กระทบกระเทือนสถาบันเอาไว้

ก็คือ การเตรียมประเด็นเพื่อให้เป็นเหตุผลที่จะนำไปสู่การปฎิวัติ

การให้เหตุผลของคณะปฏิวัติ 19 กันยายน เรื่องมีการทำให้"สถาบันกระทบกระเทือน"

แต่ผลของการดำเนินการ ปรากฎว่าฝ่ายต่อต้านทักษิณ กลับโดนคดีเสียเอง

บางทีการเสี่ยงเล่นดึงสถาบันฯ ลงมาเกี่ยวข้อง ก็เป็นไปได้ทั้งสองว่า ฝ่ายที่อยากให้มีปฏิวัติปั่นกระแสขึ้นมา และฝ่ายตรงข้ามก็เต็มใจทำแบบท้าทาย

หากจับน้ำเสียงของทหาร เค้าก็ปรามทุกฝ่าย อย่าใช้สถาบันฯเป็นเครื่องมือต่อสู้กันเอง

เพราะถึงที่สุดฝ่ายทหารนั่นเอง จะใช้เป็นเหตุผลในการปฏิวัติเสียเอง

ขนาดใช้รัฐธรรมนูญ 2550 มีสภา มีรัฐบาลจากการเลือกตั้ง

มันยังมีพวกบ้าๆ ออกมาบอกว่า เมื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญแล้ว ประเทศชาติจะเป็นประชาธิปไตย

เลยไม่เข้าใจเหมือนกันว่า ประชาชนลงประชามติเป็นประชาธิปไตยมั๊ย ประชาชนไปเลือกตั้งผู้แทนทุกระดับเป็นประชาธิปไตยมั๊ย

หรือพสก สส. บ้าๆ รัฐบาลบวม ๆ มันมาจากพวกเผด็จการ

*********

เว็บ ม. เที่ยงคืน ถือว่าเป็นอีกแหล่งความรู้ ที่เกษียร นิธิ และ กลุ่มอาจารย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จัดทำขึ้น

แม้จะมองว่าเป็นกลุ่มซ้ายๆ แต่ก็เป็นกลุ่มปัญญาชนที่เรียกว่า...กลุ่มสายพิราบ...

และเป็นกลุ่มแรกที่แต่งดำ ออกแถลงการประนามการปฏิวัติ 19 กันยายน 2549


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ชัย คุรุ เทวา โอม ที่ 09-05-2008, 23:09
การปกป้องพระผู้เป็นเจ้าจนเกินเหตุ

ผมไม่ทราบว่าเป็นเพราะเหตุอะไร

เพราะหนึ่งคือ มันเป็นลักษณะ ที่ไม่ใช่ประเพณี ในการยืนขณะเคารพเพลงสรรเสริญพระบารมี

แต่มันเป็นเพียงวัฒนธรรม

หารที่เรามองว่าการกระทำของโชติศักดิ์ เป็นสิ่งที่ผิด

ก็ไม่ใช่เรื่องผิดอะไรที่เราจะมองเช่นนั้นได้

อาจจะจำได้ว่า มีชายวิกลจริตคนหนึ่ง ไปทุบพระพรหม

คนคนที่สักการะ ทำร้ายเขาจนเสียชีวิต

ผมไม่ทราบเหมือนกันว่า ชีวิตคนๆหนึ่งกับรูปปั้น อันไหนจะสำคัญกว่ากัน

เรื่องนี้ก็เช่นกัน การกระทำของโชติศักดิ์ เหมือนกับการกระทำของใครหลายๆคนที่ผมรู้จัก

ในการกลัดเข็มดาวแดง แทนเข็ม มหาลัยเขา

เป็นการกระทำที่เรียกว่า ลนหาที่

ผมไม่ทราบเหมือนกันว่าการกระทำของโชติศักดิ์ จะก่อให้เกิดกระแสแค่ไหน

แต่ที่แน่ๆ ผมเห็นการกระทำของโชติศักดิ์ เป็นการกระทำที่สิ้นคิดที่สุดในรอบปีเลยทีเดียว








หัวข้อ: จดหมายเปิดผนึกประณามพฤติกรรมของสื่อในเครือข่าย "ผู้จัดการ"
เริ่มหัวข้อโดย: snowflake ที่ 10-05-2008, 01:21
นักสหภาพแรงงาน นักกิจกรรมทางสังคม นักศึกษา และนักวิชาการ
กว่า 130 คนลงชื่อในจดหมายเปิดผนึกประณามพฤติกรรมของสื่อ
ผู้จัดการ


บุคคลที่ลงชื่อประณามสื่อ ผู้จัดการ มีนักวิชาการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รวมถึงคณบดีคณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นอกจากนี้มีอดีต ส.ว. กรุงเทพฯ จอน อึ๊งภากรณ์ เรวดี ประเสริฐเจริญสุข (ที่ปรึกษา
คณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน) อาจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์ ผู้นำสหภาพ
แรงงานในภาคสิ่งทอและยานยนต์ และนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน

ร.ศ. ใจ อึ๊งภากรณ์
ผู้ประสานงานจดหมายเปิดผนึก


เราขอประณามพฤติกรรมของสื่อในเครือข่าย ผู้จัดการ
กรณีคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ


เรา ผู้ลงชื่อท้ายจดหมายนี้ ขอประณามพฤติกรรมของสื่อ ผู้จัดการ ในการยุให้เกิด
ความรุนแรงกับผู้ที่มองต่างมุม กรณีคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
 
ในรายการ Metro Life ของวิทยุผู้จัดการมีการส่งเสริมยุให้ประชาชนเข้าไปทำร้าย
ร่างกายของผู้เข้าร่วมการสัมมนาเรื่องสิทธิมนุษยชนที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ
ก่อนหน้านั้นสื่อ ผู้จัดการ ได้เปิดเวปไซท์ให้ผู้ที่ส่งเสริมการทำร้ายร่างกายของบุคคล
ที่ไม่ยอมยืนในโรงภาพยนตร์ และผู้ที่สนับสนุนสิทธิเสรีภาพของบุคคลนั้นในการแสดง
ออกอีกด้วย มีการโฆษณาทั้ง ชื่อ ที่อยู่ และแนะนำให้คนร้ายไปรอดักทำร้ายร่างกาย
 
การส่งเสริมความรุนแรงต่อผู้ที่มองต่างมุม ถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพพื้นฐานใน
ระบอบประชาธิปไตย และเป็นพฤติกรรมคล้ายกับการกระทำของพวกฝ่ายขวาจัดที่นำ
ไปสู่เหตุการณ์นองเลือด ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙

 
เรา
• ขอเรียกร้องให้ทุกคนที่รักสิทธิเสรีภาพและประชาธิปไตย ร่วมกันบอยคอตสื่อ
ทุกชนิดในเครือข่ายผู้จัดการ

• ขอเรียกร้องให้ สมศักดิ์ โกศัยสุข พิภพ ธงไชย และสมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ ออก
มาประณามการกระทำของสื่อนี้ด้วย

 
ลงชื่อ

ใจ อึ๊งภากรณ์  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธนาพล อิ๋วสกุล  สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน
บุญยืน สุขใหม่  เลขาธิการกลุ่มสหภาพแรงงานภาคตะวันออก
บังอร แสงงาม  รองเลขาธิการสภาแรงงานศูนย์กลางฯ
สิทธิ์ จันทาเทศ  ประธาน สหภาพแรงงานกรุงเทพผลิตเหล็ก
ศุกาญตา สุขไผ่ตา  ประธาน กลุ่ม สหภาพแรงงาน ย่านรังสิต และใกล้เคียง
วิเชษฐ์ เชยนิ่ม  ประธานกลุ่มเยาวชน คนงานแห่งประเทศไทย
ศรีไพร นนทรีย์  นักเคลื่อนไหวแรงงานย่านรังสิต
ไพริน ผ่อนจรุง  ประธาน สหภาพแรงงาน อุตสาหกรรม ของเด็กเล่น
จะเด็จ เชาวน์วิไล  มูลนิธิเพื่อนหญิง
จรรยา ยิ้มประเสริฐ  โคงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
เรวดี ประเสริฐเจริญสุข  ที่ปรึกษาคณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน
 (กปอพช.)
จอน อึ๊งภากรณ์  อดีต ส.ว. กรุงเทพฯ
ไชยันต์ ไชยพร  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จรัส สุวรรณมาลา  คณบดี คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นฤมล ทับจุมพล  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กฤตยา อาชวนิจกุล อาจารย์สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
ดนัย ลินจงรัตน์  นักเคลื่อนไหวสิทธิคนรักเพศเดียวกัน
จันทวิภา อภิสุข  นักเคลื่อนไหวสิทธิบริการ Empower
จุมพล อภิสุข  ศิลปิน
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ  อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์
 จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย
นิธิ เอียวศรีวงศ์
สุชาดา จักรพิสุทธิ์
ศิริชัย สิงห์ทิศ  ผู้ประสานงาน สหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอฯ
ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา  อาจารย์สายแรงงาน
มาลี พฤกษ์พงศาวลี  อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิภา ดาวมณี  อาจารย์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เกษียร เตชะพีระ  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สมเกียรติ ตั้งนโม  มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สมบัติ บุญงามอนงค์  มูลนิธิกระจกเงา
เจษฎา โชติกิจภิวาท  กลุ่มประชาธิปไตยเพื่อรัฐสวัสดิการ
บาหยัน อิ่มสำราญ  อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์
 มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุชาย ตรีรัตน์  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อนุสรณ์ ลิ้มมณี  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศุภมิตร ปิติพัฒน์  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระ สมบูรณ์  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตระกูล มีชัย  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุรวุฒน์ ช่อไม้ทอง  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
 วิทยาเขตปัตตานี
ทิพย์อักษร มันปาติ  ผู้สื่อข่าวสำนักข่าวประชาธรรม
ประสิทธิ์ ค่ายกนกวงศ์  พนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิต
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี  นิสิตปริญญาเอก คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชุมพล อุนพัฒนาศิลป์  นิสิตปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณัฎฐณิชา นันตา  นิสิตปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ทิพสุดา ญาณาภิรัตน์  นิสิตปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตรา คชเดช  ประธานสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศไทย
สมสมัย นิมา  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศไทย
บุญรอด สายวงค์  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศ-
 ไทย
วิภา มัจฉาชาติ  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศ-
 ไทย
รติพร จันทรตรี  ประธานสตรีสหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอการตัดเย็บเสื้อผ้า
 ผลิตภัณฑ์หนังฯ
บุญเสริม คำรส  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศไทย
ศรุดา ดอนกระโทก  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศ-
 ไทย
วิภร ขวัญศร  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศไทย
วาสนา คงหินตั้ง  กรรมการสตรีสหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอการตัดเย็บเสื้อผ้า-
 ผลิตภัณฑ์หนังฯ
จินตรา ขวานทอง  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศ-
 ไทย
พรมมา ภูมิพันธ์  ประธานสหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอการตัดเย็บเสื้อผ้าผลิต-
 ภัณฑ์หนังฯ
เซีย จำปาทอง  เลขาธิการสหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอการตัดเย็บเสื้อผ้าผลิต-
 ภัณฑ์หนังฯ
อินชวน ขันคำ  เลขาธิการกรรมกรปฎิรูป
บรรจง เจริญผล  กรรมกรปฎิรูป
สุนทร บุญยอด  กรรมกรปฎิรูป
วันชัย แหลมทองหลาง  กรรมการสหภาพแรงงานสิ่งทอไทย (พิพัฒน์สัมพันธ์)
วสุ แดงสูงเนิน  สมาชิกสหภาพแรงงานสิ่งทอไทย (พิพัฒน์สัมพันธ์)
รัชดากร คงภักดี  สมาชิกสหภาพแรงงานสิ่งทอไทย (พิพัฒน์สัมพันธ์)
พรทิพย์ ดีพร้อม  สมาชิกสหภาพแรงงานสิ่งทอไทย (พิพัฒน์สัมพันธ์)
มิ่งขวัญ ศรีเลิศ  กรรมการสหภาพแรงงานกรุงเทพผลิตเหล็ก
เสณีย์ พูลสระน้อย  เจ้าหน้าที่สหพันธ์แรงงานอาหารและเครื่องดื่มฯ
ประยงค์ เอมโอด  ประธานสหพันธ์แรงงานอาหารและเครื่องดื่มฯ
ธนวัฒน์ ปูพบุญ  ประธานสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
วิโรจน์ ใกลชิต  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
ชุน บุญเชิญ  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
นิกร เพ็งมาก  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
เพรชรุ่ง พุฒบ้านหลุม  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
รัตนา ขันสัมฤทธิ์  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
ชญาดา ศรีวิเสฐ  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
ประสิทธิ์ ยอดโค้น  เลขาธิการสหภาพแรงงานสยามอินเตอร์
ประวร มาดี  กรรมการสหภาพแรงงานไทยอคิริคไฟเบอร์
ชุมพล ภูมิพันธ์  กรรมการสหภาพแรงงานไทยอคิริคไฟเบอร์
นายภูมิวัฒน์ นุกิจ  นักกิจกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคม
ปกป้อง เลาวัณย์ศิริ  นักกิจกรรมด้านสิทธิมนุษยชน
นุ่มนวล ยัพราช  โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
เปรมใจ ใจกล้า  โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
จารุวัฒน์ เกยูรวรรณ  โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
สุริยา โพธิ์ชัยเลิศ  นักสหภาพแรงงาน
เอกรินทร์ ต่วนศิริ  เครือข่ายเยาวชนเพื่อสันติภาพ 3จังหวัดชายแดนภาคใต้ นิสิต
 ป.โท คณะรัฐศาสตร์จุฬาฯ
ชารีป สะอิ  สมาพันธ์นิสิตนักศึกษาจังหวัดปัตตานี
ซูลกิฟลี ปูต๊ะ  สมาพันธ์นิสิตนักศึกษาจังหวัดยะลา
อาฟันดี เด็ง  สมาพันธ์นิสิตนักศึกษาจังหวัดสงขลา
รอมซี ดอฆอ  สหพันธ์นิสิตนักศึกษา 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้
อนุธีร์ เดชเทวพร  กลุ่มสังคมนิยมประชาธิปไตยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สุทธิพงษ์ พูนกล้า  มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ศิริภาส ยมจินดา  นักศึกษา ป.โท คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศัษยา บุรณษถิตย์พร  นักศึกษา ป.โท Imperial College, University of London   
ศุษม อรรถวิภาคไพศาลย์   พนักงานบริษัท
วิทยา อาภรณ์  นักกิจกรรมภาคประชาชน
พรพรรณ แก้วมุงคุณ                               
ดำรงพล แสงมณี
ปิยวีร์  รื่นจินดา
อานนท์ ชวาลาวัณย์  นิสิตปริญญาโทคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กานต์ ยืนยง
ขวัญระวี หวังอุดม
บุษยรัตน์ กาญจนดิษฐ์
อดิศร เกิดมงคล
โอภาส ภาสบุตร  เครือข่ายพลเมืองเพื่อการมีส่วนร่วม
จริยา พงศ์วิวัฒน์  มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
วรดุลย์ ตุลารักษ์
เก่งกิจ กิติเรียงลาภ  นิสิตปริญญาเอกคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สาวสิริลักษณ์ ศรีประสิทธิ์
สายสัมพันธ์ รัตนปรีดากร  นักศึกษา interior design
วรดุลย์ ตุลารักษ์
พงษ์เลิศ พงษ์วนานต์
ปรัชญา สุรกำจรโรจน์
สฤณี อาชวานันทกุล  นักวิชาการอิสระ
รัฐพงศ์ ภิญโญโสภณ  นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี4
นรสิงห์  ศรีโรจน์
พรทิพย์  ธรรมศรีใจ
เทวฤทธิ์ มณีฉาย  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต-
 พัฒนบริหารศาสตร์
ปริณดา มีฉลาด  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต-
 พัฒนบริหารศาสตร์
กุสุมา โกศล  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒน-
 บริหารศาสตร์
ธัญลักษณ์ จีนแก้วเปี่ยม  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบัน-
 บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ฤทธิวัฒน์ ทั่งกลาง  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต-
 พัฒนบริหารศาสตร์
ชโลธร สายทัด  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒน-
 บริหารศาสตร์   
ฉกาจ ลอยทอง  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒน-
 บริหารศาสตร์
ชยา อุทยานิก  นักศึกษาปริญญาโท คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร-
 ศาสตร์
ณัฐพร อาจหาญ  นักศึกษาปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นที วลัญชพฤษ์  นักศึกษาปริญญาตรี คณะวิทยาศาตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
เอกรินทร์ ต่วนศิริ  เครือข่ายเยาวชนเพื่อสันติภาพ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ นิสิต
 ป.โท คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
สุธัมมะ ธรรมศักดิ์  อดีตนักศึกษานิด้าเพื่อประชาธิปไตย
ธีระพจน์ คำรณฤทธิศร  อดีตนักศึกษานิด้าเพื่อประชาธิปไตย
สันต์ ดอนศรี  อดีตนักศึกษานิด้าเพื่อประชาธิปไตย
อารยะ มังกรานนท์ชัย  อดีตนักศึกษานิด้าเพื่อประชาธิปไตย
ประกอบ สุทธิกาโมทย์
กานต์ ธงไชย
ขุนกลาง ขุขันชิน
คณิศร ทับทัม
สุภาพร ชัยฤกษ์
จารุวรรณ สาทลาสัย  คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ภรทิพย์ มั่นคง  กลุ่ม Food Not Bomb
โยฮัน สาตออุมา  อดีตนักกิจกรรม มอ. ปัตตานี
นูรุดดี โตะตาหยง  อดีตนักกิจกรรม มอ. ปัตตานี                                                               

10 พฤษภาคม 2551

http://www.pcpthai.org/autopagev3/show_page.php?group_id=1&auto_id=1&topic_id=566&topic_no=276&page=1&gaction=on


หัวข้อ: Re: จดหมายเปิดผนึกประณามพฤติกรรมของสื่อในเครือข่าย "ผู้จัดการ"
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-05-2008, 01:38
นักสหภาพแรงงาน นักกิจกรรมทางสังคม นักศึกษา และนักวิชาการ
กว่า 130 คนลงชื่อในจดหมายเปิดผนึกประณามพฤติกรรมของสื่อ
ผู้จัดการ


บุคคลที่ลงชื่อประณามสื่อ ผู้จัดการ มีนักวิชาการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รวมถึงคณบดีคณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นอกจากนี้มีอดีต ส.ว. กรุงเทพฯ จอน อึ๊งภากรณ์ เรวดี ประเสริฐเจริญสุข (ที่ปรึกษา
คณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน) อาจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์ ผู้นำสหภาพ
แรงงานในภาคสิ่งทอและยานยนต์ และนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน

ร.ศ. ใจ อึ๊งภากรณ์
ผู้ประสานงานจดหมายเปิดผนึก


เราขอประณามพฤติกรรมของสื่อในเครือข่าย ผู้จัดการ
กรณีคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ


เรา ผู้ลงชื่อท้ายจดหมายนี้ ขอประณามพฤติกรรมของสื่อ ผู้จัดการ ในการยุให้เกิด
ความรุนแรงกับผู้ที่มองต่างมุม กรณีคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
 
ในรายการ Metro Life ของวิทยุผู้จัดการมีการส่งเสริมยุให้ประชาชนเข้าไปทำร้าย
ร่างกายของผู้เข้าร่วมการสัมมนาเรื่องสิทธิมนุษยชนที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ
ก่อนหน้านั้นสื่อ ผู้จัดการ ได้เปิดเวปไซท์ให้ผู้ที่ส่งเสริมการทำร้ายร่างกายของบุคคล
ที่ไม่ยอมยืนในโรงภาพยนตร์ และผู้ที่สนับสนุนสิทธิเสรีภาพของบุคคลนั้นในการแสดง
ออกอีกด้วย มีการโฆษณาทั้ง ชื่อ ที่อยู่ และแนะนำให้คนร้ายไปรอดักทำร้ายร่างกาย
 
การส่งเสริมความรุนแรงต่อผู้ที่มองต่างมุม ถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพพื้นฐานใน
ระบอบประชาธิปไตย และเป็นพฤติกรรมคล้ายกับการกระทำของพวกฝ่ายขวาจัดที่นำ
ไปสู่เหตุการณ์นองเลือด ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙

 
เรา
• ขอเรียกร้องให้ทุกคนที่รักสิทธิเสรีภาพและประชาธิปไตย ร่วมกันบอยคอตสื่อ
ทุกชนิดในเครือข่ายผู้จัดการ

• ขอเรียกร้องให้ สมศักดิ์ โกศัยสุข พิภพ ธงไชย และสมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ ออก
มาประณามการกระทำของสื่อนี้ด้วย

 
ลงชื่อ

ใจ อึ๊งภากรณ์  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธนาพล อิ๋วสกุล  สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน
บุญยืน สุขใหม่  เลขาธิการกลุ่มสหภาพแรงงานภาคตะวันออก
บังอร แสงงาม  รองเลขาธิการสภาแรงงานศูนย์กลางฯ
สิทธิ์ จันทาเทศ  ประธาน สหภาพแรงงานกรุงเทพผลิตเหล็ก
ศุกาญตา สุขไผ่ตา  ประธาน กลุ่ม สหภาพแรงงาน ย่านรังสิต และใกล้เคียง
วิเชษฐ์ เชยนิ่ม  ประธานกลุ่มเยาวชน คนงานแห่งประเทศไทย
ศรีไพร นนทรีย์  นักเคลื่อนไหวแรงงานย่านรังสิต
ไพริน ผ่อนจรุง  ประธาน สหภาพแรงงาน อุตสาหกรรม ของเด็กเล่น
จะเด็จ เชาวน์วิไล  มูลนิธิเพื่อนหญิง
จรรยา ยิ้มประเสริฐ  โคงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
เรวดี ประเสริฐเจริญสุข  ที่ปรึกษาคณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน
 (กปอพช.)
จอน อึ๊งภากรณ์  อดีต ส.ว. กรุงเทพฯ
ไชยันต์ ไชยพร  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จรัส สุวรรณมาลา  คณบดี คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นฤมล ทับจุมพล  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กฤตยา อาชวนิจกุล อาจารย์สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
ดนัย ลินจงรัตน์  นักเคลื่อนไหวสิทธิคนรักเพศเดียวกัน
จันทวิภา อภิสุข  นักเคลื่อนไหวสิทธิบริการ Empower
จุมพล อภิสุข  ศิลปิน
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ  อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์
 จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย
นิธิ เอียวศรีวงศ์
สุชาดา จักรพิสุทธิ์
ศิริชัย สิงห์ทิศ  ผู้ประสานงาน สหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอฯ
ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา  อาจารย์สายแรงงาน
มาลี พฤกษ์พงศาวลี  อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิภา ดาวมณี  อาจารย์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เกษียร เตชะพีระ  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สมเกียรติ ตั้งนโม  มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สมบัติ บุญงามอนงค์  มูลนิธิกระจกเงา
เจษฎา โชติกิจภิวาท  กลุ่มประชาธิปไตยเพื่อรัฐสวัสดิการ
บาหยัน อิ่มสำราญ  อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์
 มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุชาย ตรีรัตน์  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อนุสรณ์ ลิ้มมณี  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศุภมิตร ปิติพัฒน์  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระ สมบูรณ์  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตระกูล มีชัย  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุรวุฒน์ ช่อไม้ทอง  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
 วิทยาเขตปัตตานี
ทิพย์อักษร มันปาติ  ผู้สื่อข่าวสำนักข่าวประชาธรรม
ประสิทธิ์ ค่ายกนกวงศ์  พนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิต
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี  นิสิตปริญญาเอก คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชุมพล อุนพัฒนาศิลป์  นิสิตปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณัฎฐณิชา นันตา  นิสิตปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ทิพสุดา ญาณาภิรัตน์  นิสิตปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตรา คชเดช  ประธานสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศไทย
สมสมัย นิมา  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศไทย
บุญรอด สายวงค์  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศ-
 ไทย
วิภา มัจฉาชาติ  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศ-
 ไทย
รติพร จันทรตรี  ประธานสตรีสหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอการตัดเย็บเสื้อผ้า
 ผลิตภัณฑ์หนังฯ
บุญเสริม คำรส  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศไทย
ศรุดา ดอนกระโทก  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศ-
 ไทย
วิภร ขวัญศร  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศไทย
วาสนา คงหินตั้ง  กรรมการสตรีสหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอการตัดเย็บเสื้อผ้า-
 ผลิตภัณฑ์หนังฯ
จินตรา ขวานทอง  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศ-
 ไทย
พรมมา ภูมิพันธ์  ประธานสหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอการตัดเย็บเสื้อผ้าผลิต-
 ภัณฑ์หนังฯ
เซีย จำปาทอง  เลขาธิการสหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอการตัดเย็บเสื้อผ้าผลิต-
 ภัณฑ์หนังฯ
อินชวน ขันคำ  เลขาธิการกรรมกรปฎิรูป
บรรจง เจริญผล  กรรมกรปฎิรูป
สุนทร บุญยอด  กรรมกรปฎิรูป
วันชัย แหลมทองหลาง  กรรมการสหภาพแรงงานสิ่งทอไทย (พิพัฒน์สัมพันธ์)
วสุ แดงสูงเนิน  สมาชิกสหภาพแรงงานสิ่งทอไทย (พิพัฒน์สัมพันธ์)
รัชดากร คงภักดี  สมาชิกสหภาพแรงงานสิ่งทอไทย (พิพัฒน์สัมพันธ์)
พรทิพย์ ดีพร้อม  สมาชิกสหภาพแรงงานสิ่งทอไทย (พิพัฒน์สัมพันธ์)
มิ่งขวัญ ศรีเลิศ  กรรมการสหภาพแรงงานกรุงเทพผลิตเหล็ก
เสณีย์ พูลสระน้อย  เจ้าหน้าที่สหพันธ์แรงงานอาหารและเครื่องดื่มฯ
ประยงค์ เอมโอด  ประธานสหพันธ์แรงงานอาหารและเครื่องดื่มฯ
ธนวัฒน์ ปูพบุญ  ประธานสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
วิโรจน์ ใกลชิต  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
ชุน บุญเชิญ  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
นิกร เพ็งมาก  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
เพรชรุ่ง พุฒบ้านหลุม  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
รัตนา ขันสัมฤทธิ์  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
ชญาดา ศรีวิเสฐ  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
ประสิทธิ์ ยอดโค้น  เลขาธิการสหภาพแรงงานสยามอินเตอร์
ประวร มาดี  กรรมการสหภาพแรงงานไทยอคิริคไฟเบอร์
ชุมพล ภูมิพันธ์  กรรมการสหภาพแรงงานไทยอคิริคไฟเบอร์
นายภูมิวัฒน์ นุกิจ  นักกิจกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคม
ปกป้อง เลาวัณย์ศิริ  นักกิจกรรมด้านสิทธิมนุษยชน
นุ่มนวล ยัพราช  โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
เปรมใจ ใจกล้า  โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
จารุวัฒน์ เกยูรวรรณ  โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
สุริยา โพธิ์ชัยเลิศ  นักสหภาพแรงงาน
เอกรินทร์ ต่วนศิริ  เครือข่ายเยาวชนเพื่อสันติภาพ 3จังหวัดชายแดนภาคใต้ นิสิต
 ป.โท คณะรัฐศาสตร์จุฬาฯ
ชารีป สะอิ  สมาพันธ์นิสิตนักศึกษาจังหวัดปัตตานี
ซูลกิฟลี ปูต๊ะ  สมาพันธ์นิสิตนักศึกษาจังหวัดยะลา
อาฟันดี เด็ง  สมาพันธ์นิสิตนักศึกษาจังหวัดสงขลา
รอมซี ดอฆอ  สหพันธ์นิสิตนักศึกษา 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้
อนุธีร์ เดชเทวพร  กลุ่มสังคมนิยมประชาธิปไตยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สุทธิพงษ์ พูนกล้า  มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ศิริภาส ยมจินดา  นักศึกษา ป.โท คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศัษยา บุรณษถิตย์พร  นักศึกษา ป.โท Imperial College, University of London   
ศุษม อรรถวิภาคไพศาลย์   พนักงานบริษัท
วิทยา อาภรณ์  นักกิจกรรมภาคประชาชน
พรพรรณ แก้วมุงคุณ                               
ดำรงพล แสงมณี
ปิยวีร์  รื่นจินดา
อานนท์ ชวาลาวัณย์  นิสิตปริญญาโทคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กานต์ ยืนยง
ขวัญระวี หวังอุดม
บุษยรัตน์ กาญจนดิษฐ์
อดิศร เกิดมงคล
โอภาส ภาสบุตร  เครือข่ายพลเมืองเพื่อการมีส่วนร่วม
จริยา พงศ์วิวัฒน์  มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
วรดุลย์ ตุลารักษ์
เก่งกิจ กิติเรียงลาภ  นิสิตปริญญาเอกคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สาวสิริลักษณ์ ศรีประสิทธิ์
สายสัมพันธ์ รัตนปรีดากร  นักศึกษา interior design
วรดุลย์ ตุลารักษ์
พงษ์เลิศ พงษ์วนานต์
ปรัชญา สุรกำจรโรจน์
สฤณี อาชวานันทกุล  นักวิชาการอิสระ
รัฐพงศ์ ภิญโญโสภณ  นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี4
นรสิงห์  ศรีโรจน์
พรทิพย์  ธรรมศรีใจ
เทวฤทธิ์ มณีฉาย  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต-
 พัฒนบริหารศาสตร์
ปริณดา มีฉลาด  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต-
 พัฒนบริหารศาสตร์
กุสุมา โกศล  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒน-
 บริหารศาสตร์
ธัญลักษณ์ จีนแก้วเปี่ยม  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบัน-
 บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ฤทธิวัฒน์ ทั่งกลาง  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต-
 พัฒนบริหารศาสตร์
ชโลธร สายทัด  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒน-
 บริหารศาสตร์   
ฉกาจ ลอยทอง  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒน-
 บริหารศาสตร์
ชยา อุทยานิก  นักศึกษาปริญญาโท คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร-
 ศาสตร์
ณัฐพร อาจหาญ  นักศึกษาปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นที วลัญชพฤษ์  นักศึกษาปริญญาตรี คณะวิทยาศาตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
เอกรินทร์ ต่วนศิริ  เครือข่ายเยาวชนเพื่อสันติภาพ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ นิสิต
 ป.โท คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
สุธัมมะ ธรรมศักดิ์  อดีตนักศึกษานิด้าเพื่อประชาธิปไตย
ธีระพจน์ คำรณฤทธิศร  อดีตนักศึกษานิด้าเพื่อประชาธิปไตย
สันต์ ดอนศรี  อดีตนักศึกษานิด้าเพื่อประชาธิปไตย
อารยะ มังกรานนท์ชัย  อดีตนักศึกษานิด้าเพื่อประชาธิปไตย
ประกอบ สุทธิกาโมทย์
กานต์ ธงไชย
ขุนกลาง ขุขันชิน
คณิศร ทับทัม
สุภาพร ชัยฤกษ์
จารุวรรณ สาทลาสัย  คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ภรทิพย์ มั่นคง  กลุ่ม Food Not Bomb
โยฮัน สาตออุมา  อดีตนักกิจกรรม มอ. ปัตตานี
นูรุดดี โตะตาหยง  อดีตนักกิจกรรม มอ. ปัตตานี                                                               

10 พฤษภาคม 2551

http://www.pcpthai.org/autopagev3/show_page.php?group_id=1&auto_id=1&topic_id=566&topic_no=276&page=1&gaction=on

โอ้ย
หัดคิดอะไรเองมั่งสิวะ
เห็นแล้วหงุดหงิดเป็นบ้่า

อยากด่าอีบ้าอีกซักทีจัง แต่มันไม่สุภาพ เลยทำไม่ได้


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Gemini ที่ 10-05-2008, 01:39
อ้างถึง
จันทวิภา อภิสุข  นักเคลื่อนไหวสิทธิบริการ Empower
จุมพล อภิสุข  ศิลปิน
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ  อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์
 จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย
นิธิ เอียวศรีวงศ์
 :slime_inlove: :slime_inlove:
สุชาดา จักรพิสุทธิ์

ศิริชัย สิงห์ทิศ  ผู้ประสานงาน สหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอฯ
ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา  อาจารย์สายแรงงาน
มาลี พฤกษ์พงศาวลี  อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์



เฟ้ย!
เอาชื่อไปใส่มั่วนี่หว่า
ส่วนหนึ่งของรายชื่อ ไม่ได้เป็นพวกกะลาประชาไท ฟ้าเดียวกัน ขี้ข้าทักษิณสักหน่อย

โมโหมาก!
เด๋ว วันจันทร์ มีเฮแน่มรึง
ไอ้พวกมั่วนิ่ม


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: jnaj1 ที่ 10-05-2008, 02:39
ผมได้ฟังเทปรายการที่ว่าแล้วครับ มีดีเจสองคนคุยกันเรื่อง สัมมนาที่ธรรมศาสตร์ วันศุกร์ก่อน

ที่โชติศักดิ์จะมาเป็นวิทยากร


ปรากฎว่าพูดคะนองกันยังไงไม่ทราบ ดีเจคนนึงบอกว่า ให้เอาขวดน้ำไปปาโชติศักดิ์ ได้มั๊ย

ซึ่งก็มีการพูดแย้งกันไปแย้งกันมา แล้วก็มีสายจากทางบ้าน เข้ามาบอกว่าจะเข้าไปชกโชติศักดิ์ ประมาณนี้

แต่ตอนหลัง ดีเจสรุปว่า พูดเล่น อย่าไปทำจริง ประมาณนี้


เรื่องนี้ ดีเจปากเสีย จริงครับ .... ซึ่งผู้จัดการได้ออกแถลงการณ์ขอโทษแล้ว



หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 10-05-2008, 02:45
บก.ลายจุด ทำเอง อิ อิ


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: mini ที่ 10-05-2008, 02:52
ผมได้ฟังเทปรายการที่ว่าแล้วครับ มีดีเจสองคนคุยกันเรื่อง สัมมนาที่ธรรมศาสตร์ วันศุกร์ก่อน

ที่โชติศักดิ์จะมาเป็นวิทยากร


ปรากฎว่าพูดคะนองกันยังไงไม่ทราบ ดีเจคนนึงบอกว่า ให้เอาขวดน้ำไปปาโชติศักดิ์ ได้มั๊ย

ซึ่งก็มีการพูดแย้งกันไปแย้งกันมา แล้วก็มีสายจากทางบ้าน เข้ามาบอกว่าจะเข้าไปชกโชติศักดิ์ ประมาณนี้

แต่ตอนหลัง ดีเจสรุปว่า พูดเล่น อย่าไปทำจริง ประมาณนี้


เรื่องนี้ ดีเจปากเสีย จริงครับ .... ซึ่งผู้จัดการได้ออกแถลงการณ์ขอโทษแล้ว


ผมได้ฟังเทปรายการที่ว่าแล้วครับ มีดีเจสองคนคุยกันเรื่อง สัมมนาที่ธรรมศาสตร์ วันศุกร์ก่อน

ที่โชติศักดิ์จะมาเป็นวิทยากร


ปรากฎว่าพูดคะนองกันยังไงไม่ทราบ ดีเจคนนึงบอกว่า ให้เอาขวดน้ำไปปาโชติศักดิ์ ได้มั๊ย

ซึ่งก็มีการพูดแย้งกันไปแย้งกันมา แล้วก็มีสายจากทางบ้าน เข้ามาบอกว่าจะเข้าไปชกโชติศักดิ์ ประมาณนี้

แต่ตอนหลัง ดีเจสรุปว่า พูดเล่น อย่าไปทำจริง ประมาณนี้


เรื่องนี้ ดีเจปากเสีย จริงครับ .... ซึ่งผู้จัดการได้ออกแถลงการณ์ขอโทษแล้ว

http://www.bangkokbiznews.com/2008/05/08/news_26347863.php?news_id=26347863

รายการวิทยุแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ออกอากาศเวลา 21.30 น. เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2551 มีการหยิบยกประเด็นงานเสวนาที่จัดขึ้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม หัวข้อสิทธิมนุษยชนกับความเห็นที่แตกต่าง ซึ่งในงานนี้ ก็ได้มีการเชิญวิทยากรจำนวนมากมาพูดคุยแลกเปลี่ยนความเห็น ซึ่งในรายการก็มีการเชิญชวนผู้ฟังรายการให้มาร่วมงานเสวนางานนี้ โดยผู้ดำเนินรายการ 2 คน

เนื้อหาส่วนหนึ่งของรายการเป็นดังนี้

"ผู้ดำเนินรายการ 1 : วันศุกร์นะฮะ ห้องประชุม 101 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไปอวยพรเขาหน่อย

ผู้ดำเนินรายการ 2 : ศุกร์ที่ 2 นี้นะฮะ ศุกร์ที่ 2 นี้นะฮะ (พูดเน้นเสียง) ใครที่อยากเจอโชติศักดิ์ อ่อนสูง ผู้ที่ใส่เสื้อ "คิดต่างไม่ใช่อาชญากรรม ไม่ยืนไม่ใช่อาชญากร" ผมอยากให้ไปกันนะฮะ งานนี้ใครจะไปผมไม่สน ผมเห็นชื่อโชติศักดิ์ อ่อนสูง แล้วผมสนใจ เราก็แสดงสิทธิด้วยการขว้างขวดน้ำ หรืออะไร (ไม่ได้-ผู้ดำเนินรายการอีกคนแทรก) ได้ๆๆๆ ในกฎระเบียบห้องนั้นผมไม่เคยเห็นว่ามีห้ามขว้างขวดน้ำหรืออะไร ห้ามสูบบุหรี่มี แล้วก็ห้ามส่งเสียงดังตอนบรรยายอะไรคงไม่ได้ แต่ผมว่าถ้าจะมีขวดน้ำน่ะได้ ถ้าเขาพูดอะไรที่เราไม่เห็นด้วย โห่ได้มั้งผมว่า

(เปิดสายให้ผู้ฟังทางบ้าน)

ผู้ฟังทางบ้าน : คือห้อง 101 ผมว่ามันไม่ใหญ่นะ ปารองเท้าไปยังถึงเลย คือ ผมอยู่ตึกข้างบนอยู่แล้ว มีคนไม่ชอบกันเยอะ ผมจะระดมกันไปให้เยอะๆ

ผู้ดำเนินรายการ 1 : มีผู้ฟังทางบ้านถามว่า ถ้าเราตีหัวคนนี่เราต้องจ่าย 500 หรือเปล่า เข้าใจว่าต้องจ่าย แต่ต้องไม่ให้เกิดเลือด อย่าใช้อาวุธ ต้องให้ไม่เกิดเลือดถึงเลือดออกก็ 500 แต่ส่วนใหญ่ก็จ่ายแค่ค่าเข็มเท่านั้นเอง ...ห้อง 101 นะฮะ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หาไม่ยากหรอก ติดโรงอาหาร

ผู้ฟังทางบ้าน : ชกครับ ชก ไม่ต้องเสียค่าเย็บปาก เสียค่าพยาบาล ค่าปรับ 500 บาท กำถ่านไฟฉายไปด้วยนะฮะ

ผู้ฟังทางบ้าน : เขามีตรวจอาวุธหรือเปล่าพี่...

ผู้ดำเนินรายการ 1 : ไม่มีหรอก แล้วคุณจะเอาอาวุธไปทำไม…

ผู้ดำเนินรายการ 2 : โชติศักดิ์บอกว่า ไม่ว่าใครทำอะไรผิดถูกอย่างไร เขาต่างมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ที่จะไม่ถูกทำร้ายร่างกายหรือถูกดู หมิ่น...แล้วเยี่ยวใส่หน้าบุพการีของคุณเลยฮะ ไม่ผิดกฎหมายดีฮะ

ผู้ฟังทางบ้าน : ผมอึดอัดครับ...ไอ้คนนี้มันน่ากระทืบครับ"

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

Clip at http://www.sameskybooks.org/2008/05/07/metro-life-download/


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Cherub Rock ที่ 10-05-2008, 02:55

    การฆ่าฟันศัตรูภายในชาติด้วยคำกล่าวว่า "เพื่อรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์"  การสร้างความมั่นคงให้กับสถาบันพระมหากษัตริย์ที่เริ่มต้นด้วยความ"เกลียด ชัง" ด้วยความ"หวาดระแวง" และ "ด้วยความริษยาอาฆาต"นั้น..หาใช่การเดินตามรอยพระยุคลบาทไม่ และด้วยเหตุที่บางครั้ง บางบุคคล..ก่อกำเนิดความรักพระมหากษัตริย์บน"ความเกลียดชัง"บุคคลอื่นๆ...สถาบันพระมหากษัตริย์มิอาจที่จะปฏิเสธ"ทัศนะแห่งความแตกต่าง"ของบรรดาพสกนิกรใดๆได้เลย

    แต่ตลอดเวลาที่ผ่านมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงกล่าวย้ำหลายต่อหลายครั้งให้พสกนิกรของพระองค์ยึดมั่นอยู่ใน"วิถีทางแห่งธรรม" ให้ฝักใฝ่ใน"สันติ" ให้มีความรักความเอื้อเฟื้อต่อเพื่อนมนุษย์ทั้งในสังคมประเทศและแม้กระทั่งในสังคมโลก

    ความพยายามที่จะเป็นที่รัก,เพื่อใกล้ชิด,เพื่อเป็นที่ไว้ว่างพระราชหฤทัย..ฯลฯโดยปราศจาก"เมตตาธรรม"ต่อผู้อื่นนั้น หาใช่วิถีทางที่สอดคล้องกับ"ธรรมะแห่งองค์พระมหากษัตริย์"ไม่

    บุคคลใดก็ตาม..ที่ยึดมั่นอยู่กับวิถีทางแห่งธรรม บุคคลนั้นย่อมเป็นที่ไว้วางพระราชหฤทัยแห่งองค์พระมหากษัตริย์ผู้ทรงประกาศยึดมั่นอยู่ใน"ทศพิธราชธรรม"มาโดยตลอด เราอาจจะมองพระมหากษัตริย์จากความเป็น"มนุษย์"ได้..แต่เราไม่อาจมองพระมหากษัตริย์แยกออกจากสถานะ และ"ธรรมะ"ที่พระองค์ทรงรักษา จนเป็นพระราชจริยาวัตรอันมั่นคงจนกระทั่งถึงปัจจุบันนี้

    แน่นอนว่า..สังคมย่อมมีการเปลี่ยนแปลง และบ่อยครั้งที่ความเปลี่ยนแปลงเหล่านั้น อาจจะพุ่งเป้าหมายถึงสถานะของสถาบันพระมหากษัตริย์ด้วยความไม่เข้าใจ หรือ ด้วยความ"ไม่รู้"

    ปัจจุบันเราอาจจะต้องกล่าวว่า..ไม่ว่าจะพิจารณาโดยทางการเมืองหรือโดยทางศีลธรรม สถาบันพระมหากษัตริย์ดำรงอยู่เสมือนหนึ่งจิตวิญญาณของประเทศ เป็นภาพสะท้อนสังคมในอดีต เป็นภาพแห่งคำอธิบายในปัจจุบัน และเป็นคำถามที่สังคมจะต้องตอบไปในอนาคต  คำ ตอบใดก็ตาม...ที่ห่างออกจาก"ธรรม"หรือห่างไกลจากความเมตตา ห่างไกลออกจากวิถีทางที่สันติ ความเปลี่ยนแปลงใดที่บังเกิดขึ้นเพียงเพื่อ"ส่วนใดส่วนหนึ่ง"หรือ "คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง"จะ เป็นคำตอบที่ล้มเหลวอย่างแน่นอน..ภายใต้ความเปลี่ยนแปลงนานาประการในสังคม ไทย จะต้องเป็นความเปลี่ยนแปลงที่สอดคล้องกับความต้องการของอาณาประชาราษฎร์ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มที่มีทัศนะแตกต่างกันเพียงใดก็ตาม

    การดำรงอยู่ของสถาบันพระมหากษัตริย์ ยังได้ถูกเน้นความหมายครั้งแล้วครั้งเล่า ด้วยบทบาทว่าด้วยเรื่องของ"ความสามัคคี" ความสามัคคีที่จะต้องบังเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงของสังคมภายใน หรือ สังคมภายนอกก็แล้วแต่ เหตุผลแห่งความสามัคคีหรือความสำคัญของการ" รู้รักสามัคคี "นั้น ถูกถ่ายทอดออกมาโดยพระราชดำรัสของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์หลาย พระองค์ เป็นสิ่งที่ตอกย้ำแก่ปวงชนชาวไทยว่า..ควรจะก้าวผ่าน"ความเปลี่ยนแปลง"นานาประการด้วยทัศนะเช่นใด

(http://www.vanhara.com/wp-photos/thumb.20061028-231702-5.jpg)

http://forum.serithai.net/index.php?topic=9109.msg132951#msg132951

(http://www.moomkafae.com/images/1121893641/09.jpg)

ขอแปะบางส่วนจากจุดไฟในนาคร-ชัชรินทร์ ไชยวัฒน์
 
ผมว่าทั้งโชติศักดิ์และผู้จัดการ กำลังเป็นแนวร่วมมุมกลับกันหรือเปล่า :slime_hmm: :slime_whistle:


ปล.ถึงตื้บหมอนี่ไปก็ไม่ได้ทำให้มันเกิดปัญญาขึ้นมาได้ :slime_surrender:






หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 10-05-2008, 03:36
เข้าทางคนที่อยากให้มีปฏิวัติ

ก็ดีเหมือนกันครับ จะได้ บรรลัยวายวอด เหมือนคำตาหมัก อิ อิ

ทหารก็เตือนแล้ว นักวิชาการ สื่อมวลชน ก็เตือนๆ กันแล้ว

หากยังไม่เลิก ยุแยงตะแคงรั่ว คนเลือดร้อนมันมีทั้งสองฝ่าย

เดี๋ยวก็ได้ตายกันทั้งสองฝ่ายนั่นแหละครับ

ทำไมไม่ให้กฎหมายจัดการกันไปล่ะ


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-05-2008, 03:52
เริ่มรู้สึกรักสมัคร สุนทรเวช ที่ทำสมัย 6 ตุลาแล้วสิ

อย่างน้อยพวกซ้ายอย่างว่าก็มีจริง และเยอะด้วย จากที่พวกมันบอกว่าไม่มี โดนใส่ร้าย..
เสียดายที่รอดน้ำมือสมัครไปได้

แถมยังนิรโทษกรรมให้อีก

ตีงูตีไม่ตายก็แบบนี้แหละ

ในที่สุดก็ได้เข้าใจว่า
ต่อให้ไทยแลนด์เป็นรีพับบลิค ก็ไม่เจริญหรอกครับ
เพราะพวกที่อ้างตัวว่าตัวเองหัวสมัยใหม่ไร้เจ้า ศรัทธาระบอบปกครองแบบนั้นแบบนี้
ดันมีแต่ตัวเฮงซวย

ส่วนมเองผมมันก็คนหัวเก่าครับ
ขออภัยผ่านสื่อละกันครับ ที่ผมบังอาจไปล่วงเกินบางคนที่แม้แต่เกิดก็ยังเกิดหลังผมเกือบสิบปี

ผมมันโง่เองครับ ที่ไม่เลือกเรียนรัฐศาสตร์ ไม่ได้มีอุดมการณ์นักต่อสู้จอมปลอมหรือจริง
ผมมันโง่เองครับ ที่ผมไม่ได้เป็นคนที่เที่ยวไปจดจำคำคมการปกครองของใครเค้า
ผมเลยคร่ำครึอยู่แบบนี้

ผมขอให้เขาคนนั้น ซึ่งเป็นเยาวชนหัวรีพับบลิครุ่นใหม่ พาชาติไทยให้เจริญยิ่งกว่าคนรุ่นผมนะครับ


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: see - u ที่ 10-05-2008, 14:17
    การฆ่าฟันศัตรูภายในชาติด้วยคำกล่าวว่า "เพื่อรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์" 
    การสร้างความมั่นคงให้กับสถาบันพระมหากษัตริย์ที่เริ่มต้นด้วยความ"เกลียด ชัง" ด้วยความ"หวาดระแวง"
    และ "ด้วยความริษยาอาฆาต"นั้น..หาใช่การเดินตามรอยพระยุคลบาทไม่ และด้วยเหตุที่บางครั้ง
    บางบุคคล..ก่อกำเนิดความรักพระมหากษัตริย์บน"ความเกลียดชัง"บุคคลอื่นๆ...
    สถาบันพระมหากษัตริย์มิอาจที่จะปฏิเสธ"ทัศนะแห่งความแตกต่าง"ของบรรดาพสกนิกรใดๆได้เลย

*  บทความที่คุณ  Cherub Rock  เอามาลงใน คห. ที่ 20 ..... เป็นแง่คิดที่ดี

    ในความเป็นจริงแล้ว  ดิฉัน  เชื่อว่าไม่ว่าฝ่ายไหนก็ตามที่ดึงอาสถาบันมาเกี่ยวข้อง .........

    ล้วนแต่เอามาเป็นข้ออ้างเพื่อความ " ชอบธรรม"  ของตัวเองทั้งสิ้น

    >  ในขณะที่สถานะของผู้ที่ถูกพาดพิง ..... ไม่สามารถแสดงบทบาทได้ชัดเจนมากนัก  <

    บางครั้งมันก็ทำให้  ดิฉัน  รู้สึกว่า  .... เอาเข้าจริงแล้วที่หลายฝ่ายบอกว่ารักชาติ  นั่นคือ การ รัก แบบไหนกันแน่  ??

    ยิ่งระยะหลัง ๆ ที่ผ่านมานี้ ..... มีการพูดถึงเหตุการณ์  นองเลือด  ว่าจะต้องเกิดขึ้น  อีกครั้ง  บ่อยมาก

    มันก็แปลกดี  ...... ที่เรื่องนี้กลายเป็นที่ยอมรับว่าคงเกิดขึ้นจริง  แล้วเราก็เฝ้ามองดูมัน

    หรือว่า  ........................  มันถึง  ทางตัน  จริง ๆ แล้ว  ??



หัวข้อ: Re: จดหมายเปิดผนึกประณามพฤติกรรมของสื่อในเครือข่าย "ผู้จัดการ"
เริ่มหัวข้อโดย: Şiłąncē Mőbiuş ที่ 10-05-2008, 14:31
นักสหภาพแรงงาน นักกิจกรรมทางสังคม นักศึกษา และนักวิชาการ
กว่า 130 คนลงชื่อในจดหมายเปิดผนึกประณามพฤติกรรมของสื่อ
ผู้จัดการ


บุคคลที่ลงชื่อประณามสื่อ ผู้จัดการ มีนักวิชาการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รวมถึงคณบดีคณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นอกจากนี้มีอดีต ส.ว. กรุงเทพฯ จอน อึ๊งภากรณ์ เรวดี ประเสริฐเจริญสุข (ที่ปรึกษา
คณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน) อาจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์ ผู้นำสหภาพ
แรงงานในภาคสิ่งทอและยานยนต์ และนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน

ร.ศ. ใจ อึ๊งภากรณ์
ผู้ประสานงานจดหมายเปิดผนึก


เราขอประณามพฤติกรรมของสื่อในเครือข่าย ผู้จัดการ
กรณีคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ


เรา ผู้ลงชื่อท้ายจดหมายนี้ ขอประณามพฤติกรรมของสื่อ ผู้จัดการ ในการยุให้เกิด
ความรุนแรงกับผู้ที่มองต่างมุม กรณีคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
 
ในรายการ Metro Life ของวิทยุผู้จัดการมีการส่งเสริมยุให้ประชาชนเข้าไปทำร้าย
ร่างกายของผู้เข้าร่วมการสัมมนาเรื่องสิทธิมนุษยชนที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ
ก่อนหน้านั้นสื่อ ผู้จัดการ ได้เปิดเวปไซท์ให้ผู้ที่ส่งเสริมการทำร้ายร่างกายของบุคคล
ที่ไม่ยอมยืนในโรงภาพยนตร์ และผู้ที่สนับสนุนสิทธิเสรีภาพของบุคคลนั้นในการแสดง
ออกอีกด้วย มีการโฆษณาทั้ง ชื่อ ที่อยู่ และแนะนำให้คนร้ายไปรอดักทำร้ายร่างกาย
 
การส่งเสริมความรุนแรงต่อผู้ที่มองต่างมุม ถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพพื้นฐานใน
ระบอบประชาธิปไตย และเป็นพฤติกรรมคล้ายกับการกระทำของพวกฝ่ายขวาจัดที่นำ
ไปสู่เหตุการณ์นองเลือด ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙

 
เรา
• ขอเรียกร้องให้ทุกคนที่รักสิทธิเสรีภาพและประชาธิปไตย ร่วมกันบอยคอตสื่อ
ทุกชนิดในเครือข่ายผู้จัดการ

• ขอเรียกร้องให้ สมศักดิ์ โกศัยสุข พิภพ ธงไชย และสมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ ออก
มาประณามการกระทำของสื่อนี้ด้วย

 
ลงชื่อ

ใจ อึ๊งภากรณ์  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธนาพล อิ๋วสกุล  สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน
บุญยืน สุขใหม่  เลขาธิการกลุ่มสหภาพแรงงานภาคตะวันออก
บังอร แสงงาม  รองเลขาธิการสภาแรงงานศูนย์กลางฯ
สิทธิ์ จันทาเทศ  ประธาน สหภาพแรงงานกรุงเทพผลิตเหล็ก
ศุกาญตา สุขไผ่ตา  ประธาน กลุ่ม สหภาพแรงงาน ย่านรังสิต และใกล้เคียง
วิเชษฐ์ เชยนิ่ม  ประธานกลุ่มเยาวชน คนงานแห่งประเทศไทย
ศรีไพร นนทรีย์  นักเคลื่อนไหวแรงงานย่านรังสิต
ไพริน ผ่อนจรุง  ประธาน สหภาพแรงงาน อุตสาหกรรม ของเด็กเล่น
จะเด็จ เชาวน์วิไล  มูลนิธิเพื่อนหญิง
จรรยา ยิ้มประเสริฐ  โคงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
เรวดี ประเสริฐเจริญสุข  ที่ปรึกษาคณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน
 (กปอพช.)
จอน อึ๊งภากรณ์  อดีต ส.ว. กรุงเทพฯ
ไชยันต์ ไชยพร  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จรัส สุวรรณมาลา  คณบดี คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นฤมล ทับจุมพล  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กฤตยา อาชวนิจกุล อาจารย์สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
ดนัย ลินจงรัตน์  นักเคลื่อนไหวสิทธิคนรักเพศเดียวกัน
จันทวิภา อภิสุข  นักเคลื่อนไหวสิทธิบริการ Empower
จุมพล อภิสุข  ศิลปิน
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ  อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์
 จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย
นิธิ เอียวศรีวงศ์
สุชาดา จักรพิสุทธิ์
ศิริชัย สิงห์ทิศ  ผู้ประสานงาน สหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอฯ
ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา  อาจารย์สายแรงงาน
มาลี พฤกษ์พงศาวลี  อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิภา ดาวมณี  อาจารย์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เกษียร เตชะพีระ  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สมเกียรติ ตั้งนโม  มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สมบัติ บุญงามอนงค์  มูลนิธิกระจกเงา
เจษฎา โชติกิจภิวาท  กลุ่มประชาธิปไตยเพื่อรัฐสวัสดิการ
บาหยัน อิ่มสำราญ  อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์
 มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุชาย ตรีรัตน์  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อนุสรณ์ ลิ้มมณี  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศุภมิตร ปิติพัฒน์  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระ สมบูรณ์  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตระกูล มีชัย  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุรวุฒน์ ช่อไม้ทอง  อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
 วิทยาเขตปัตตานี
ทิพย์อักษร มันปาติ  ผู้สื่อข่าวสำนักข่าวประชาธรรม
ประสิทธิ์ ค่ายกนกวงศ์  พนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิต
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี  นิสิตปริญญาเอก คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชุมพล อุนพัฒนาศิลป์  นิสิตปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณัฎฐณิชา นันตา  นิสิตปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ทิพสุดา ญาณาภิรัตน์  นิสิตปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตรา คชเดช  ประธานสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศไทย
สมสมัย นิมา  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศไทย
บุญรอด สายวงค์  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศ-
 ไทย
วิภา มัจฉาชาติ  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศ-
 ไทย
รติพร จันทรตรี  ประธานสตรีสหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอการตัดเย็บเสื้อผ้า
 ผลิตภัณฑ์หนังฯ
บุญเสริม คำรส  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศไทย
ศรุดา ดอนกระโทก  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศ-
 ไทย
วิภร ขวัญศร  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศไทย
วาสนา คงหินตั้ง  กรรมการสตรีสหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอการตัดเย็บเสื้อผ้า-
 ผลิตภัณฑ์หนังฯ
จินตรา ขวานทอง  กรรมการสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศ-
 ไทย
พรมมา ภูมิพันธ์  ประธานสหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอการตัดเย็บเสื้อผ้าผลิต-
 ภัณฑ์หนังฯ
เซีย จำปาทอง  เลขาธิการสหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอการตัดเย็บเสื้อผ้าผลิต-
 ภัณฑ์หนังฯ
อินชวน ขันคำ  เลขาธิการกรรมกรปฎิรูป
บรรจง เจริญผล  กรรมกรปฎิรูป
สุนทร บุญยอด  กรรมกรปฎิรูป
วันชัย แหลมทองหลาง  กรรมการสหภาพแรงงานสิ่งทอไทย (พิพัฒน์สัมพันธ์)
วสุ แดงสูงเนิน  สมาชิกสหภาพแรงงานสิ่งทอไทย (พิพัฒน์สัมพันธ์)
รัชดากร คงภักดี  สมาชิกสหภาพแรงงานสิ่งทอไทย (พิพัฒน์สัมพันธ์)
พรทิพย์ ดีพร้อม  สมาชิกสหภาพแรงงานสิ่งทอไทย (พิพัฒน์สัมพันธ์)
มิ่งขวัญ ศรีเลิศ  กรรมการสหภาพแรงงานกรุงเทพผลิตเหล็ก
เสณีย์ พูลสระน้อย  เจ้าหน้าที่สหพันธ์แรงงานอาหารและเครื่องดื่มฯ
ประยงค์ เอมโอด  ประธานสหพันธ์แรงงานอาหารและเครื่องดื่มฯ
ธนวัฒน์ ปูพบุญ  ประธานสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
วิโรจน์ ใกลชิต  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
ชุน บุญเชิญ  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
นิกร เพ็งมาก  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
เพรชรุ่ง พุฒบ้านหลุม  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
รัตนา ขันสัมฤทธิ์  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
ชญาดา ศรีวิเสฐ  กรรมการสหภาพแรงงานแอมคอร์ประเทศไทย
ประสิทธิ์ ยอดโค้น  เลขาธิการสหภาพแรงงานสยามอินเตอร์
ประวร มาดี  กรรมการสหภาพแรงงานไทยอคิริคไฟเบอร์
ชุมพล ภูมิพันธ์  กรรมการสหภาพแรงงานไทยอคิริคไฟเบอร์
นายภูมิวัฒน์ นุกิจ  นักกิจกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคม
ปกป้อง เลาวัณย์ศิริ  นักกิจกรรมด้านสิทธิมนุษยชน
นุ่มนวล ยัพราช  โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
เปรมใจ ใจกล้า  โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
จารุวัฒน์ เกยูรวรรณ  โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
สุริยา โพธิ์ชัยเลิศ  นักสหภาพแรงงาน
เอกรินทร์ ต่วนศิริ  เครือข่ายเยาวชนเพื่อสันติภาพ 3จังหวัดชายแดนภาคใต้ นิสิต
 ป.โท คณะรัฐศาสตร์จุฬาฯ
ชารีป สะอิ  สมาพันธ์นิสิตนักศึกษาจังหวัดปัตตานี
ซูลกิฟลี ปูต๊ะ  สมาพันธ์นิสิตนักศึกษาจังหวัดยะลา
อาฟันดี เด็ง  สมาพันธ์นิสิตนักศึกษาจังหวัดสงขลา
รอมซี ดอฆอ  สหพันธ์นิสิตนักศึกษา 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้
อนุธีร์ เดชเทวพร  กลุ่มสังคมนิยมประชาธิปไตยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สุทธิพงษ์ พูนกล้า  มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ศิริภาส ยมจินดา  นักศึกษา ป.โท คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศัษยา บุรณษถิตย์พร  นักศึกษา ป.โท Imperial College, University of London   
ศุษม อรรถวิภาคไพศาลย์   พนักงานบริษัท
วิทยา อาภรณ์  นักกิจกรรมภาคประชาชน
พรพรรณ แก้วมุงคุณ                               
ดำรงพล แสงมณี
ปิยวีร์  รื่นจินดา
อานนท์ ชวาลาวัณย์  นิสิตปริญญาโทคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กานต์ ยืนยง
ขวัญระวี หวังอุดม
บุษยรัตน์ กาญจนดิษฐ์
อดิศร เกิดมงคล
โอภาส ภาสบุตร  เครือข่ายพลเมืองเพื่อการมีส่วนร่วม
จริยา พงศ์วิวัฒน์  มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
วรดุลย์ ตุลารักษ์
เก่งกิจ กิติเรียงลาภ  นิสิตปริญญาเอกคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สาวสิริลักษณ์ ศรีประสิทธิ์
สายสัมพันธ์ รัตนปรีดากร  นักศึกษา interior design
วรดุลย์ ตุลารักษ์
พงษ์เลิศ พงษ์วนานต์
ปรัชญา สุรกำจรโรจน์
สฤณี อาชวานันทกุล  นักวิชาการอิสระ
รัฐพงศ์ ภิญโญโสภณ  นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี4
นรสิงห์  ศรีโรจน์
พรทิพย์  ธรรมศรีใจ
เทวฤทธิ์ มณีฉาย  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต-
 พัฒนบริหารศาสตร์
ปริณดา มีฉลาด  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต-
 พัฒนบริหารศาสตร์
กุสุมา โกศล  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒน-
 บริหารศาสตร์
ธัญลักษณ์ จีนแก้วเปี่ยม  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบัน-
 บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ฤทธิวัฒน์ ทั่งกลาง  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต-
 พัฒนบริหารศาสตร์
ชโลธร สายทัด  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒน-
 บริหารศาสตร์   
ฉกาจ ลอยทอง  นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒน-
 บริหารศาสตร์
ชยา อุทยานิก  นักศึกษาปริญญาโท คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร-
 ศาสตร์
ณัฐพร อาจหาญ  นักศึกษาปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นที วลัญชพฤษ์  นักศึกษาปริญญาตรี คณะวิทยาศาตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
เอกรินทร์ ต่วนศิริ  เครือข่ายเยาวชนเพื่อสันติภาพ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ นิสิต
 ป.โท คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
สุธัมมะ ธรรมศักดิ์  อดีตนักศึกษานิด้าเพื่อประชาธิปไตย
ธีระพจน์ คำรณฤทธิศร  อดีตนักศึกษานิด้าเพื่อประชาธิปไตย
สันต์ ดอนศรี  อดีตนักศึกษานิด้าเพื่อประชาธิปไตย
อารยะ มังกรานนท์ชัย  อดีตนักศึกษานิด้าเพื่อประชาธิปไตย
ประกอบ สุทธิกาโมทย์
กานต์ ธงไชย
ขุนกลาง ขุขันชิน
คณิศร ทับทัม
สุภาพร ชัยฤกษ์
จารุวรรณ สาทลาสัย  คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ภรทิพย์ มั่นคง  กลุ่ม Food Not Bomb
โยฮัน สาตออุมา  อดีตนักกิจกรรม มอ. ปัตตานี
นูรุดดี โตะตาหยง  อดีตนักกิจกรรม มอ. ปัตตานี                                                               

10 พฤษภาคม 2551

http://www.pcpthai.org/autopagev3/show_page.php?group_id=1&auto_id=1&topic_id=566&topic_no=276&page=1&gaction=on

ว่าแต่ว่า ไอ้นี่ มันเกี่ยวอะัไรกับกระทู้นี้  :slime_doubt:


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: h_e_a_t ที่ 10-05-2008, 14:54
เอามาเปรียบกันไม่ได้สักนิด เพราะ คนละเรื่องเดียวกันเลย

มันจะเดินไปหาได้ไงครับ 6 ตุลา น่ะ..................ผมงง


ปัจจุบันนั้น การหลู่สถาบัน เป็นการ "โยนหินถามทาง" ขอรับ

มันถามทางคนในปัจจุบันทั้งประเทศแหละว่า "ยึดติด" หรือเปล่าก่อน โดยดูจากผลที่โยนหินถามมาหลายปี หลายครั้ง

นั่เป็นเพียงเสมือนการทำโพลล์ คู่ขนานไปกับแผนทางการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง

มันทำโพลล์แบบนี้มานานแล้วครับ และก็ไม่ใช่ครั้งแรกหรือครั้งสุดท้าย แต่เป็นเสมือน มอนิเตอริ่งโพลล์ในเรื่องนี้


ถามว่าได้ผลไหม  ได้ผลสิครับ เพราะปัจจุบัน ปริมาณผู้ที่มีแนวคิดเบี่ยงเบนไปในทางแผนของพวกนี้มีมากขึ้น แบบไม่ต้องใช้เงินซื้อด้วย


ช้าหรือเร็วเท่านั้นเอง


การเปลี่ยนแปลงที่ไม่มีใครในตอนนี้อยากให้เกิด แม้กระทั่งผมเอง มันก็จะต้องเกิดขึ้นอยู่ดี


หัวข้อ: Re: จดหมายเปิดผนึกประณามพฤติกรรมของสื่อในเครือข่าย "ผู้จัดการ"
เริ่มหัวข้อโดย: snowflake ที่ 10-05-2008, 18:42
ว่าแต่ว่า ไอ้นี่ มันเกี่ยวอะัไรกับกระทู้นี้  :slime_doubt:

อ่านตลอดหรือยัง

ถ้าไม่ขยันก็เอาแค่ ที่ อ.เกษียร เขียน กะที่ คุณ mini ตอบ


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: An.mkII ที่ 10-05-2008, 19:12
ใครจะคิดอย่างไรผมก็ไมรู้...


แต่ผมรู้ว่า ถ้าจะว่าใครด่าใคร  เราต้องมองด้วยความเป็นธรรม  ความเป็นธรรมที่ว่า ถ้าเราจะด่าใคร เราก็ต้องดูที่มาที่ไป และถ้าจะด่า็อย่าเลือกด่า แต่ถ้าใครมันผิดก็ต้องด่ามันทั้งนั้น  ซึ่งถ้าไม่กระทำแบบนั้นผมก็ว่ามันตลก

ตลกที่ว่าบอกให้คนอื่นมีความเป็นธรรม  เเต่ตนเองเป็นธรรมรึไม่


ซึ่งเฉกเช่นเดียวกะกรณีนี้..ที่ผมก็ิคิดว่า การที่ผู้จัดการ เอาประเด็นเรื่องนี้มาโยง เอาประเด็นนี้มาใชเพื่อสร้างกระเเสให้คนใช้้ความรุนเเรง.. มันเป็นสิ่งที่ไม่สมควรกระทำ..

แต่ในกรณีนี้ ผมก็คิดว่าสิ่งที่คุณโชติศักกระทำ ผมว่ามันก็ไม่ได้ต่างจากผู้จัดการเลยซักนิด..


ที่ว่าถ้าเขาเป็นเเค่พวกเกรียน ที่อยากลองของผมไม่ว่า  แต่นี้เขาทำเพื่อให้เกิดกระเเส ในบ้านนี้เมืองนี้  ใช่รึไม่ใช่ครับ ที่มีการวางเเผนมามีการตระเตรียมดำเนินการกัน  ใครที่มีความเป็นธรรมยอมรับตรงจุดนี้รึไม่ล่ะครับ

แต่ทำไมคนที่ด่าผู้จัดการไม่ด่าโชติศักดิ์มั่ง... นี่คือความเป็นธรรมที่ผมต้องการถามหา...


ฉะนั้นในกระกรณีนี้๊ี้ผมคิดว่ามันก็พอๆกัน  ที่เป็นการกระทำที่สมควรประนาม  ทั้งโชติศักดิ์ และผู้จัดการ รวมถึงไอ้พวกที่ ปากเป็นธรรมเเต่ในใจมันไม่ธรรมตามปาก 



อ้อ..

และผมก็บอกแล้วในหลายๆคราว่า  การที่คุณๆไม่ชอบสถาบันมันเป็นสิทธิ์คุณ


แต่คุณต้องทำอย่างสง่างามเปิดเผย มิใช่กระทำตัวอีเเอบสร้างกระเเสอะไรแบบโชติศักดิ์  เพื่อจุดประเด็นให้เกิดเรื่องบ้าๆในบ้านนี้เมืองนี้


แบบเดียวกะที่ว่าถึงเเม้นผมจะเกลียดทักษิณ แต่ผมก็ไม่ชอบให้ใครมามั่ัี่วข่าวด่าทักษิณ...


เพราะคนเราน่ะ  ผมคิดว่า การจะเลือกข้างไหนเขาข้างใครมันไม่ผิด แต่หนทางนั้นต้องถุกต้องตามธรรมนองครองธรรม ก็แค่นั้นเอง...


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ชัย คุรุ เทวา โอม ที่ 10-05-2008, 19:26
น่าชื่นชม รายชื่อทั้งหมด


น่ากังวล กับกลุ่มหลงชาติกระฎุมพี


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Kittinunn ที่ 10-05-2008, 21:18
งี่เง่าทั้งคู่ทั้งประชาไท-ผู้จัดการ
เถียงกันไป โต้กันมา ปัญญาอ่อนชิบหาย

อ้างถึง
ไม่ขอวิจารณ์ผ่านบทความในบล็อก ทั้งประชาไทกับผู้จัดการก็เป็นผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือเหมือนกัน แต่ สำคัญที่ว่า ทั้งประชาไทและผู้จัดการกำลังทำอะไรที่เกินเลยมากไปหรือไม่

การแสดงออกของผู้จัดการ โอเค หลายคนก็มองเหมือนผม เป็นวารสารศาสตร์ตำรับพลีชีพ ตายเป็นตาย เจ๊งเป็นเจ๊ง แต่สำหรับประชาไท เป็นวารสารศาสตร์ทางเลือกที่นำเสนอเรื่องของการเคลื่อนไหวภาคประชาชน ทีนี้ผมคิดว่าการเคลื่อนไหวในแบบฉบับเอาเป็นเอาตาย

ผู้จัดการ เคลื่อนไหวเรื่องโชติศักดิ์หมิ่น โยงไปถึงม็อบ นปก. แม้จะอ้างได้ว่าไม่หนุนทักษิณ แต่พฤติการณ์มันส่อเจตนาคล้ายจะเป็น "แนวร่วมมุมกลับ"

แคน สาริกา เคยประเมินเอาไว้ว่า ที่พันธมิตรไม่ออกมาต่อต้านรัฐประหาร เพราะต้องการให้โอกาสชำระระบอบแม้ว แต่ในทางกลับกัน ฝ่ายหัวไม่เอาทหาร ก็อาศัยกลุ่มคนรักทักษิณขับเคลื่อนเพื่อโค่นทหาร (อาจจะขยายผลไปถึงระบอบศักดินาก็ได้)

ทีนี้ สำหรับประชาไท คือมันงี่เง่าตรงที่มีรายการคุยเล่น เค้าหมั่นไส้โชติศักดิ์ แน่นอนชาวบ้านที่จงรักภักดีเค้าก็ออกมาเล่นด้วย แต่เจ้าหัวโตกลับเขียนบทความใส่ไฟเต็มที่ หาเป็นดาวสยามอย่างงั้น บิดเบือนอย่างงี้ ล่าสุดก็ใช้วิธีเอารายชื่อมายันเพื่อให้ตัวเองรู้สึกว่า เฮ้ย กรูมีพลังเท่านั้นโว้ย พาวเวอร์แต่ละคน อาจารย์จอนงั้น อาจารย์จรัสงี้ หรืออาจารย์นิธิ (เซ็นเป็นคู่กับภรรยาใหม่)

บอกตามตรง งี่เง่าครับกับข้อเรียกร้อง บอกบอยคอตผู้จัดการ ไม่มีวิธีอะไรที่มันดีกว่านี้แล้วเหรอ กับคำว่าบอยคอตเนี่ย คือผมมองว่ามันเหมือนกับเป็นการเข้าทางอะไรบางอย่าง

เอาล่ะ ท้ายที่สุด ผมคิดว่า ทั้งประชาไทและผู้จัดการ ก็คือกะหล่ำปลีที่มี “ยาฆ่าแมลง” ปนเปื้อนอยู่นั่นแหละ สำคัญอยู่ที่ว่าเวลาคุณจะรับประทาน คุณจะต้องหยิบมันมาล้างน้ำให้ยาที่ตกค้างชะล้างไปมากน้อยขนาดไหน ถึงจะรับประทานได้


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ปุถุชน ที่ 10-05-2008, 21:47
ใครจะคิดอย่างไรผมก็ไมรู้...


แต่ผมรู้ว่า ถ้าจะว่าใครด่าใคร  เราต้องมองด้วยความเป็นธรรม  ความเป็นธรรมที่ว่า ถ้าเราจะด่าใคร เราก็ต้องดูที่มาที่ไป และถ้าจะด่า็อย่าเลือกด่า แต่ถ้าใครมันผิดก็ต้องด่ามันทั้งนั้น  ซึ่งถ้าไม่กระทำแบบนั้นผมก็ว่ามันตลก

ตลกที่ว่าบอกให้คนอื่นมีความเป็นธรรม  เเต่ตนเองเป็นธรรมรึไม่


ซึ่งเฉกเช่นเดียวกะกรณีนี้..ที่ผมก็ิคิดว่า การที่ผู้จัดการ เอาประเด็นเรื่องนี้มาโยง เอาประเด็นนี้มาใชเพื่อสร้างกระเเสให้คนใช้้ความรุนเเรง.. มันเป็นสิ่งที่ไม่สมควรกระทำ..

แต่ในกรณีนี้ ผมก็คิดว่าสิ่งที่คุณโชติศักกระทำ ผมว่ามันก็ไม่ได้ต่างจากผู้จัดการเลยซักนิด..


ที่ว่าถ้าเขาเป็นเเค่พวกเกรียน ที่อยากลองของผมไม่ว่า  แต่นี้เขาทำเพื่อให้เกิดกระเเส ในบ้านนี้เมืองนี้  ใช่รึไม่ใช่ครับ ที่มีการวางเเผนมามีการตระเตรียมดำเนินการกัน  ใครที่มีความเป็นธรรมยอมรับตรงจุดนี้รึไม่ล่ะครับ

แต่ทำไมคนที่ด่าผู้จัดการไม่ด่าโชติศักดิ์มั่ง... นี่คือความเป็นธรรมที่ผมต้องการถามหา...


ฉะนั้นในกระกรณีนี้๊ี้ผมคิดว่ามันก็พอๆกัน  ที่เป็นการกระทำที่สมควรประนาม  ทั้งโชติศักดิ์ และผู้จัดการ รวมถึงไอ้พวกที่ ปากเป็นธรรมเเต่ในใจมันไม่ธรรมตามปาก 



อ้อ..

และผมก็บอกแล้วในหลายๆคราว่า  การที่คุณๆไม่ชอบสถาบันมันเป็นสิทธิ์คุณ


แต่คุณต้องทำอย่างสง่างามเปิดเผย มิใช่กระทำตัวอีเเอบสร้างกระเเสอะไรแบบโชติศักดิ์  เพื่อจุดประเด็นให้เกิดเรื่องบ้าๆในบ้านนี้เมืองนี้


แบบเดียวกะที่ว่าถึงเเม้นผมจะเกลียดทักษิณ แต่ผมก็ไม่ชอบให้ใครมามั่ัี่วข่าวด่าทักษิณ...


เพราะคนเราน่ะ  ผมคิดว่า การจะเลือกข้างไหนเขาข้างใครมันไม่ผิด แต่หนทางนั้นต้องถุกต้องตามธรรมนองครองธรรม ก็แค่นั้นเอง...




ผู้ที่ร่วมลงนามด้วยมี...
จิตรา คชเดช  ประธานสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศไทย....


ผู้หญิงคนนี้ใส่เสื้อดำมีข้อความอย่างเดียวกับ'โชติศักดิ์' ไปออกรายการ NBT ใช่ไหม.... :?:


หัวข้อ: Re: จิตรา คชเดช
เริ่มหัวข้อโดย: An.mkII ที่ 10-05-2008, 22:00


ผู้ที่ร่วมลงนามด้วยมี...
จิตรา คชเดช  ประธานสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลแห่งประเทศไทย....


ผู้หญิงคนนี้ใส่เสื้อดำมีข้อความอย่างเดียวกับ'โชติศักดิ์' ไปออกรายการ NBT ใช่ไหม.... :?:
 



NBT เล่นซะแล้ว เอาคนใส่เสื้อ ไม่ยืนไม่ใช่อาชญากร มาขึ้นจอ  (อ่าน 377 ครั้ง)

http://forum.serithai.net/index.php?topic=25596.msg286350;topicseen


จิตรา คชเดช ประธานสหภาพแรงงานไทรอัมพ์ฯ สวมเสื้อสกรีนข้อความ “ไม่ยืน – ไม่ใช่อาชญากร คิดต่าง – ไม่ใช่อาชญากรรม” ออกรายการ "กรองสถานการณ์" ทาง NBT เมื่อวันที่ 24 เม.ย.51

http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9510000049467


(http://pics.manager.co.th/Images/551000005409501.JPEG)


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 10-05-2008, 22:08
ฝ่ายต้องการล้มเจ้าปล่อยดาวยั่วออกมาเต้น ฝ่านรักเจ้าก็ส่งดาวยั่วออกมาต้าน

ในเวลา และ สถานการณ์ที่พอเหมาะพอเจาะ เหตุการณ์ "น้ำผึ้งหยดเดียว" ก็เกิดขึ้นจนได้

เมื่อทะเลาะกันถึงขีดสุด เส้นทางสู่การคลี่คลายสถานการณ์ก็จบลงที่คนมีปืน

เวลาทหารอเมริกันมันไปรบนอกประเทศ ก็มักมีคำถามว่า "กรูมารบเนี่ย...เพื่ออะไรวะ"

แต่มันก็มักหาคำตอบปลอบใจตัวเองว่า "มารบเพื่อสันติภาพ"

เหมือนภาษิตจีนในหนังสือกำลังภายในที่ว่า "ฆ่าเพื่อระงับการฆ่า"

ฝ่ายที่รักษากฎหมายต้องดำเนินการบางเรื่องอย่างทันสถานการณ์

ฝ่ายที่จะให้ความยุติธรรมควรเร่งรัดตัดสิน ให้เกิดความกระจ่าง

ให้ประชาชนได้รู้ว่า อะไรผิดกฎหมาย อะไรควรทำไม่ควรทำ

ก่อนที่เหตุการณ์จะพัฒนาไปสู่ความรุนแรงของผู้คนในสังคมคนไทยด้วยกัน


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Kittinunn ที่ 11-05-2008, 00:16
ข้อโต้แย้งบางประการ ถึง อ.เกษียณ และ อ.สมศักดิ์ ; กรณีปรากฏการณ์จุดชนวน ๖ ตุลา โดย ดาวสยาม-ยานเกราะ ยุคใหม่
โดย ธงไท เทอดอุดม 10 พฤษภาคม 2551 23:38 น.
 
ด้วยบทความที่ปรากฏในสื่อหลายฉบับโดย อ.สมศักดิ์ เจียมธีรกุล ในประเด็น : ผู้จัดการ-พันธมิตร กำลังก่อกระแส ‘ละคอนแขวนคอ’ ยุคใหม่ เผยแพร่ทางเว็บไซต์ ประชาไท และ ฟ้าเดียวกัน รวมทั้งการนำเสนอประเด็นดังกล่าวในมติชนรายวันด้วยนั้น สอดคล้องกับบทความของ อ.เกษียณ เตะพีระ เรื่อง “อย่าเดินไปสู่ ๖ ตุลาคม” ในมติชนรายวัน ฉบับวันที่ ๙ พฤษภาคมที่ผ่านมา
       
       ในฐานะ ผู้อ่านสื่อ หรือจะในฐานะพลเมืองผู้กระตือรือร้น(Active Citizens) ที่ถูกเนื้อหาบางประเด็นในบทความดังกล่าว กระตุ้นต่อมสำนึกที่เป็นธุระในเรื่องบ้านเมือง ต้องขอใช้สิทธิในการ “เห็นต่าง” กับความพยายามในการจุดกระแสว่า คนอื่นกำลังจุดกระแส ของท่านสองอาจารย์ ดังนี้
       
       ในความเป็นจริงประการหนึ่ง คือ ผมเอง เป็นผู้ร่วมอยู่ในขบวนการ และเหตุการณ์วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ เฉกเช่นเดียวกับอาจารย์ทั้งสอง โดยมีบทบาทหน้าที่ทั้งในความรับผิดชอบทางการเมือง การจัดตั้งในส่วนศิลปวัฒนธรรม รวมทั้ง มีส่วนในการรักษาความปลอดภัยอีกด้วย
       
       เช้าตรู่วันที่ ๖ ตุลาคม เมื่อ ๓๒ ปีก่อน ผมประจำอยู่ในสมรภูมิส่วนหน้าที่ปะทะแลกเลือด แลกชีวิตกับทั้งกระทิงแดง นวพล รวมทั้ง ตชด. อยู่ด้านหน้าตึกนิติ ถอยร่นมายันอยู่หน้าตึก อมธ.เพื่อปะทะประทัง ให้พี่น้องประชาชนหนีออกจากวงล้อมปราบนองเลือดให้มากที่สุด โดยตัวเองได้รับบาดเจ็บ ถูกทำร้าย และถูกจับโยนใส่คุกนครปฐมอยู่สามเดือนกว่า...
       
       ที่ต้องเล่าเรื่องเก่านี้เพื่อบอกว่า ไม่ว่า ดร.เกษียณ ดร.สมศักดิ์ จะอยู่ในตำบลแห่งหนไหนในนาทีที่เขารุมฆ่าประชาชนนั้น ผมอยู่แถวหน้าของแนวปะทะตลอด นั่นหมายถึงผมย่อมมี “อารมณ์” เคียดแค้น ชิงชัง ชนชั้นปกครอง โดยเฉพาะ “ศักดินาใหญ่” ที่เราล้วนเชื่อว่าอยู่เบื้องหลังคำสั่งฆ่าประชาชน เช่นเดียวกับอารมณ์โกรธ เกลียด พ.อ.อุทาร และวิทยุยานเกราะ นสพ.ดาวสยามและบางกอกโพสต์ ทมยันตี กิติวุฒโฑ รวมทั้ง นายสมัคร คนนี้ด้วยเช่นเดียวกับท่านอาจารย์ทั้งสอง และขบวนนักศึกษาประชาชนที่ถูกปราบปรามทำร้ายนั้นเช่นกัน...
       
       ความเคียดแค้นในวัยเยาว์นำผมและเพื่อนจำนวนมากเข้าสู่สงครามประชาชน แลกเลือดด้วยเลือด ห้ำหั่นประหัตประหารกันเองอย่างหนักหน่วง ผมได้เข้าร่วมกองทัพปลดแอกและได้ “ฆ่า” ทหาร ตำรวจ และโดยเฉพาะ “ตชด.” กับมือตนเองจำนวนมาก ในระหว่างสงคราม ด้วยความ “สะใจ” ที่ได้สางแค้นแทนเพื่อนที่ตายไปในธรรมศาสตร์เมื่อ ๖ ตุลาคม ๑๙ เป็นการระบายความเคียดแค้นโดยสงครามแลกเลือดแลกชีวิตกันกว่า ๕ ปี ในเขตป่าเขา...
       
       เสียดายที่ อ.เกษียณ อ.สมศักดิ์ รวมทั้ง อ.ธงชัย วินิจกุล ไม่มีโอกาสตรงนี้..ที่จะได้ระบายอารมณ์ “เคียดแค้น” ตามสัญชาติญาณดิบของความเป็นมนุษย์ของเราได้มาก....ความอาฆาต ที่คั่งแค้นอัดแน่นจึงไม่ต้องเก็บอัดไว้ในส่วนลึกถึง ๓๒ ปี ที่ท่านยังเก็บรับเหตุการณ์ ๖ ตุลา ไว้ในอารมณ์ที่เหมือนเพิ่งผ่านมาเมื่อวานนี้ ในขณะที่ผมระลึกถึงด้วยการคำนึงถึงในอนุสติที่เตือนใจและตรองความคิดทุกครั้งที่คิดถึง มิได้อัดแน่นด้วยอารมณ์คั่งแค้นที่เก็บอัดไม่มีทางระบายออก จนเปี่ยมล้นในงานวิชาการของ อ.สมศักดิ์ และ อ.ธงชัย ที่ยังจ้อง “เล่น” โจทย์เก่าอย่างต่อเนื่องด้วยงานวิชาการที่ห่อหุ้มด้วยอารมณ์ความรู้สึกส่วนลึกตลอดระยะ ๓๒ ปีที่ผ่านมา....
       
       ต้องขอโทษที่บังอาจวิเคราะห์ทางจิต จี้จุดต่อมใต้สำนึกของท่านอาจารย์ที่เปี่ยมวรยุทธ์ในวงวิชาการยิ่งนัก หากชี้ผิดไปก็ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้
       
       ประการที่สอง ในเนื้อหาการจุดกระแสของท่านทั้งสอง ว่ามีผู้จุดกระแสคล้ายคลึงก่อนเกิดเหตุการณ์ ๖ ตุลา นั้น ผมมีความเห็นว่า หากเทียบเคียงรูปแบบหรือใช้ตรรกะศาสตร์มาเทียบเคียงปรากฏการณ์หนึ่ง กับ หนึ่ง นั้นดูเหมือนใช่ ดูเหมือนเป็นเรื่องเดียวกัน ดูเหมือนดาวสยาม กับ ผู้จัดการ จะเป็นเรื่องเดียวกัน ดูเหมือนขบวนนวพล-กระทิงแดง จะเหมือน ขบวนพันธมิตร เช่นนั้น ฤา? แล้วตัวละครอย่าง เนวิน ประชา กับม็อบถ่***โชว์กระจู๋หน้า ธรรมศาสตร์ วันนั้น เทียบเคียงกับกลุ่มใด บุคคลใดในอดีตได้เล่า ? เขาคือ ขบวนนิสิต นศ.ประชาชน ผู้ต่อต้านการกลับเข้ามาของถนอม เช่นนั้นฤา ? ดูว่า ตรรกะของ อ.สมศักดิ์ จะพิลึกพิลั่นอยู่กระมัง
       
       ประการที่สาม หากพิจารณาการจุดกระแสของ อ.สมศักดิ์ ว่าการเคลื่อนไหวต่อต้านขบวนการหมิ่นฯ ของเครือผู้จัดการและขบวนพันธมิตรนั้น เป็นเรื่องเดียวกันกับขบวนปลุกปั่นยุยงให้สังคมเกลียดชังนักศึกษาเมื่อวันที่ ๕ ตุลา ๑๙ ได้ โดยเฉพาะกรณีการใช้รูปที่ใช้เทคนิคตกแต่งภาพให้ดูเหมือนพระบรมวงศานุวงศ์ในหนังสือพิมพ์ดาวสยาม ดูเหมือนจะเป็นปรากฏการณ์เดียวกับที่สื่อในเครือผู้จัดการ ออกมาอัดขบวนการหมิ่นฯ กรณีโชติศักดิ์ กรณีเว็บประชาไท-ฟ้าเดียวกัน กรณีใบปลิว และอื่นๆ นั้น คงเป็นการใช้ตรรกะ ของ อ.สมศักดิ์ ที่ขาดน้ำหนักในการพิจารณาเนื้อแท้ของปรากฏการณ์ทั้งสองยุคนั้นว่ามีส่วนที่เหมือนและต่างกันเช่นใด
       
       กล่าวคือ การจุดกระแสด้วยกรณีหมิ่นฯ ของดาวสยาม-ยานเกราะ โดยใช้รูปเหมือนที่ใช้เทคนิคตกแต่งภาพ เมื่อ ๖ ตุลา ๑๙ นั้น เป็นเรื่องจอมปลอมที่หลอกลวงสังคม ผมรู้จักอภินันท์ ดี และอยู่ในเหตุการณ์ที่ต้องเลือกเขาไปแขวนคอในละคอนการเมืองเทียบเคียงกับการฆ่าแขวนคอกรรมกรที่นครปฐมนั้นเพราะเขาเป็นคนตัวเล็กใช้ผ้าขาวม้ามัดเป็นเทคนิคได้ มิใช่เพราะเขาหน้าเหมือนเจ้านายพระองค์ใด หรือเป็นความจงใจจะทำการหมิ่นฯ ข้อนี้สามสิบปีที่ผ่านมาสังคมก็เรียนรู้และประจักษ์ชัด อ.เกษียณ และ อ.สมศักดิ์ ก็ย่อมต้องเข้าใจอย่างแท้จริงในเจตนาว่าตั้งใจหมิ่นฯ หรือไม่หมิ่นฯ เทียบเคียงกับกรณีโชติศักดิ์ ที่ทั้ง อ.เกษียณ อ.สมศักดิ์ รวมทั้ง อ.ธงชัย รู้จักดีทั้งฐานะลูกศิษย์ที่ซึมซับวิธีคิดและอารมณ์เคียดแค้นพยาบาท “เจ้า” ในจิตใต้สำนึกของท่านทั้งหลายที่สืบสานยังผู้เชื่อมั่นและศรัทธาในตัวท่าน และ กรณีโชติศักดิ์นั้น เจ้าตัวตั้งใจอย่างยิ่งที่จะไม่ยืนเคารพเมื่อเปิดเพลงสรรเสริญในโรงภาพยนตร์ รวมทั้งการทำแคมเปญ ไม่ยืน ไม่หมิ่น คิดต่าง มิใช่อาชญากร ทั้งในการทำเสื้อรณรงค์สวมใส่ในกลุ่มพวกหรือการรับลูกของเว็บไซต์ประชาไทและฟ้าเดียวกัน ที่ท่าน อ.สมศักดิ์ เป็นผู้มีบารมีใกล้ชิดกันอยู่แล้วมิใช่หรือ?
       
       การที่ อ.สมศักดิ์ จุดกระแส โจมตีผู้อื่นว่าจุดกระแส ๖ ตุลา จึงเป็นความไม่ถูกต้อง เพราะเนื้อแท้ของปรากฏการณ์ที่ดูเหมือนกันนั้น แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง และผมยังตั้งข้อสังเกต อ.สมศักดิ์ ว่าคนในระดับท่านนั้นเชี่ยวชาญการเมืองและแม่นยำเหตุการณ์ทั้งยังเก่งในการใช้ตรรกะเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้อ่านหรือสังคมคล้อยตามตรรกะของท่านได้บ่อยๆ นั้น จะไม่รู้จริงๆ หรือว่า การใช้กรณีหมิ่นฯ เป็นเหตุโจมตีทางการเมืองของทั้งสองกรณีนั้นไม่เหมือนกัน เมื่อสามสิบสองปีก่อนนั้นของปลอม แต่ พ.ศ.นี้ “ของจริง” แต่ที่ท่าน อ.สมศักดิ์ดูเปรียบเทียบเลอะเลือนเช่นนี้ ก็เป็นเพราะความจงใจในการบิดเบือนข้อเท็จจริงเพื่อปกป้อง “โชติศักดิ์” และขบวนของเขา รวมทั้งกลุ่มความคิดฟ้าเดียวกัน ที่ท่านใกล้ชิด และมีอิทธิพลทางความคิดต่อเด็กๆ เหล่านี้ยิ่งนัก?
       
       ว่ากันว่า คนกลุ่มนี้ศรัทธาท่านทั้งสามยิ่งนัก เท็จจริงประการใด วานบอก...
       
       นี่เรายังไม่ได้โต้แย้งในเรื่องที่ ท่าน อ.สมศักดิ์ กล่าวแก้ต่างแทนกลุ่มคิด “ปฏิญญาฟินแลนด์” ว่าเป็นเรื่องไร้สาระ คงต้องแนะนำให้ อ.สมศักดิ์ ไปค้นที่มาที่ไปในเรื่องนี้ให้ชัดก่อน ย้อนไปดูบทสัมภาษณ์ของ อมร และหาโอกาสไปคุยกับคนวงในอย่างพี่มิ้ง พี่เกรียง พี่อ้วน..ก่อนก็ได้ การเขียนบทความตัดสินบางเรื่องว่าไร้สาระโดยอัตวิสัยนั้นหาใช่คุณสมบัติที่ดีของนักวิชาการนะครับ หรือให้รีบกลับไปอ่านบทความเรื่อง Republics ของปราชญ์สยามตัวจริง อ.ชัยอนันต์ ก็ได้ อ.สมศักดิ์จึงจะได้เรียนรู้เรื่องราวการเมืองในเบื้องลึกได้ลึกซึ้งกว่าที่ผายลมผ่านบทความของตนเช่นนั้น
       
       ส่วนประเด็นที่ อ.เกษียณ เรียกร้องไม่ให้ใช้กรณีหมิ่นฯ และสถาบันกษัตริย์ เป็นเครื่องมือทางการเมืองทำลายฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง และเตือนว่าอย่าเดินไปสู่ ๖ ตุลาฯ นั้น น่าจะเป็นข้อกังวลร่วมกัน เพียงแต่ผมเห็นว่า อ.เกษียณ น่าจะหันปลายปากกาไปเตือน “โชติศักดิ์” และพวก ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของ อ.เกษียณเอง ว่าไม่ควรทำอะไรที่ “อ่อนหัด ไร้เดียงสา และฉวยโอกาสเอียงซ้าย” แบบสุดๆ เช่นนี้อีก เพราะสิ่งที่ลูกศิษย์ท่านทำการ “ห่ามๆ”เช่นนี้ รังจะเป็นผลร้ายต่อขบวนประชาธิปไตย เป็นเงื่อนไขให้ทหารทำรัฐประหาร และเผด็จการ หรือการปราบปรามประชาชนก็จะตามมา เด็กเมื่อวานซืนอย่างโชติศักดิ์และพวกมองไม่เห็นหรอกว่า คำว่า “หายนะ” นั้นสะกดอย่างไร ต้องเป็นธุระของคนในรุ่นเราที่ผ่านเหตุการณ์เลวร้ายนั้นต้องชะลอความแรงของคนรุ่นหนุ่มเช่นนี้ มิใช่ให้ท้ายส่งเดชอย่างที่ อ.สมศักดิ์ ทำอยู่
       
       สุดท้าย ฝากถึง อ.ธงชัย ที่อยู่แดนไกล ด้วยว่า น่าจะพบธรรมของพระพุทธองค์ได้แล้ว ทั้ง อ.สมศักดิ์ด้วย เลิกอาฆาตพยาบาทได้แล้ว เพื่อสติปัญญาเหนือคนอย่างพวกท่านทั้งสามจะได้เกิดประโยชน์แก่สังคมได้ด้วยไม่เจือปนโมหะจริตอยู่อย่างที่เป็นอยู่นี้ เลือดต้องล้างด้วยเลือดตามเนื้อเพลงที่จิตร ภูมิศักดิ์ แต่งไว้นั้น ในชีวิตจริงผมผ่านมาแล้วด้วยชีวิตแลกชีวิตด้วยมือตนเอง ผมผ่านมาหมดแล้ว ผมพอแล้ว ... กรรมใดใครก่อก็ต้องพบกรรมตามสนอง..นี่สิของจริง....


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ปุถุชน ที่ 11-05-2008, 00:19
*  เรื่องของการดึง สถาบัน เข้ามาเกี่ยว ...  คงปฎิเสธไม่ได้ ..... ว่าไม่มี

    ถามว่าทำไมถึงต้องโยงไปที่   " สถาบัน  "

    เพราะ... เป็นเรื่องที่อ่อนไหวและกระทบกะความรู้สึกของคนได้ง่าย

    ที่น่าแปลกใจก็คือ ..... ไม่ว่าเหตุการณ์ต่าง ๆ จะผ่านมาหลายปีแล้ว

    แต่เรื่องการเอาสถาบันกษัตริย์ .... มาเป็นข้อต่อรองทางการเมืองยังมีอยู่ตลอดเวลา

    พฤติกรรมของ  โชติศักดิ์ ..... นอกจากที่จะมีการพยายามที่จะโยงเหตุการณ์ไปในเรื่องเหล่านั้น

   ยังมีการพยายามดึงเอาเรื่องสิทธิมนุษยชนเข้ามาเกี่ยว และ มีการพยายามขยายผลเรื่องนี้ออกไปในสื่อต่างประเทศ

   ดิฉัน  เห็นด้วยตรงข้อความที่คุณปุ เอามาโพส  ในประโยคที่ว่า  ...........

   >   อย่าทำให้คดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพกลายเป็นประเด็นการเมือง  < 

   ...................   เพื่อเข้าทางใครบางคน  !!!




น่าประหลาดใจมากกว่านั้น....
คนที่กำเริบ จาบจ้วง เป็นคนรัก'นักประชาธิปไตยแม๊วๆ'
เป็นคนฝ่ายรัฐบาลนอมินี แนวร่วมเป็ดไก่ พรรคปล้นชาติ....
คนพวกนี้ไม่เกรงกลัวกฏหมายบ้านเมืองจะเอาผิด
เพราะคิดว่า'รัฐบาลลูกกรอก'เป็นของ'ผู้มีบารมีเหนือนายกฯ'.... :?:




หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: สมชายสายชม ที่ 11-05-2008, 00:58

       การที่ อ.สมศักดิ์ จุดกระแส โจมตีผู้อื่นว่าจุดกระแส ๖ ตุลา จึงเป็นความไม่ถูกต้อง เพราะเนื้อแท้ของปรากฏการณ์ที่ดูเหมือนกันนั้น แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง และผมยังตั้งข้อสังเกต อ.สมศักดิ์ ว่าคนในระดับท่านนั้นเชี่ยวชาญการเมืองและแม่นยำเหตุการณ์ทั้งยังเก่งในการใช้ตรรกะเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้อ่านหรือสังคมคล้อยตามตรรกะของท่านได้บ่อยๆ นั้น จะไม่รู้จริงๆ หรือว่า การใช้กรณีหมิ่นฯ เป็นเหตุโจมตีทางการเมืองของทั้งสองกรณีนั้นไม่เหมือนกัน เมื่อสามสิบสองปีก่อนนั้นของปลอม แต่ พ.ศ.นี้ “ของจริง” แต่ที่ท่าน อ.สมศักดิ์ดูเปรียบเทียบเลอะเลือนเช่นนี้ ก็เป็นเพราะความจงใจในการบิดเบือนข้อเท็จจริงเพื่อปกป้อง “โชติศักดิ์” และขบวนของเขา รวมทั้งกลุ่มความคิดฟ้าเดียวกัน ที่ท่านใกล้ชิด และมีอิทธิพลทางความคิดต่อเด็กๆ เหล่านี้ยิ่งนัก?
       
       ว่ากันว่า คนกลุ่มนี้ศรัทธาท่านทั้งสามยิ่งนัก เท็จจริงประการใด วานบอก...
       
       นี่เรายังไม่ได้โต้แย้งในเรื่องที่ ท่าน อ.สมศักดิ์ กล่าวแก้ต่างแทนกลุ่มคิด “ปฏิญญาฟินแลนด์” ว่าเป็นเรื่องไร้สาระ คงต้องแนะนำให้ อ.สมศักดิ์ ไปค้นที่มาที่ไปในเรื่องนี้ให้ชัดก่อน ย้อนไปดูบทสัมภาษณ์ของ อมร และหาโอกาสไปคุยกับคนวงในอย่างพี่มิ้ง พี่เกรียง พี่อ้วน..ก่อนก็ได้ การเขียนบทความตัดสินบางเรื่องว่าไร้สาระโดยอัตวิสัยนั้นหาใช่คุณสมบัติที่ดีของนักวิชาการนะครับ หรือให้รีบกลับไปอ่านบทความเรื่อง Republics ของปราชญ์สยามตัวจริง อ.ชัยอนันต์ ก็ได้ อ.สมศักดิ์จึงจะได้เรียนรู้เรื่องราวการเมืองในเบื้องลึกได้ลึกซึ้งกว่าที่ผายลมผ่านบทความของตนเช่นนั้น
       

ประโยคตรงที่เป็นสีแดง  เชื่อว่า ไอ้พวกนักวิชาการลิ่วล้อพรรคหลงหอ มันรู้ แต่แสร้งทำเป็นไม่รู้

 :slime_cool:


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ฮูลิแกน ที่ 13-05-2008, 20:52
อ่านบทความที่คุณกิตินันท์เอามาลง แล้วถึงบางอ้อ..
ว่าทำไม พวกซ้ายเก่าที่เคยสู้รบจริงๆ อย่างเจ้าของบทความนั้น อย่างธีรยุทธ หรือเสกสรรค์
จึงมีความเห็นต่างกันคนละโยชน์ กับพวกนักพ่นสี อย่งไอ้หัวโต หรือธงชัยฯลฯ
เพราะพวกแรก ได้ปลดปล่อย+เรียนรู้ มาแล้วอย่างโชกโชน ในสนามรบจริง

แต่อย่างน้อย เกษียร ยังไม่เข้าข้างใครจนสุดโต่ง เพราะอย่างน้อยแกก็ไม่ได้คอยให้ท้ายนายโฉดคนนี้ แค่บอกให้ระวังอย่างใช้วิธีนอกกฏหมาย

แล้วก็มีคำถามเช่นเดียวกับบางคนในที่นี้ว่า ถ้าจะประนาม ผู้จัดการ แล้วทำไมไม่ประนาม ประชาไท ด้วย :slime_p:
เพราะมันก็เสี้ยมเขาคือกัน :slime_o:

ปล.คนอย่างโฉดสัก ไม่เหมาะกับการเป็นผู้นำฝ่ายซ้ายหรอกนะจ๊ะ พุงยื่นๆแบบนี้ ส่อให้เห็นว่าเป็นผู้บริโภคมากกว่าใช้แรงงานสร้างผลผลิตนะจ๊ะ เลยมีพลังงานเหลือตกค้างในตัวมากมาย :slime_v:


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ฮูลิแกน ที่ 13-05-2008, 21:16
อ้างถึง
ดูเหมือนดาวสยาม กับ ผู้จัดการ จะเป็นเรื่องเดียวกัน ดูเหมือนขบวนนวพล-กระทิงแดง จะเหมือน ขบวนพันธมิตร เช่นนั้น ฤา? แล้วตัวละครอย่าง เนวิน ประชา กับม็อบถ่***โชว์กระจู๋หน้า ธรรมศาสตร์ วันนั้น เทียบเคียงกับกลุ่มใด บุคคลใดในอดีตได้เล่า ? เขาคือ ขบวนนิสิต นศ.ประชาชน ผู้ต่อต้านการกลับเข้ามาของถนอม เช่นนั้นฤา ? ดูว่า ตรรกะของ อ.สมศักดิ์ จะพิลึกพิลั่นอยู่กระมัง

แปลว่า ป๋าหมาก กะป้าเพ็ญ ในตอนนี้ เทียบได้กับ ชวน เสนีย์ อานันท์ฯลฯ ในตอนนั้น ใช่ป่ะ กร๊ากๆๆ :slime_smile2:
แล้วสนติ๊ลิ้ม ตอนนี้ เทียบได้กะป๋าหมากวันนั้น ใช่อีกป่ะ?:slime_inlove:
..........................

ถ้าคุณเคยเตือนลูกหลานคุณ ไม่ให้ไปเล่นแหย่รังแตน?
แต่ลูกหลานมันดื้อ มันดันทุรังไปแหย่เล่น ตอนกลางวันแสกๆ เพราะความคึกคะนอง(ทั้งๆที่ไม่มีความจำเป็นเลย ในขณะนั้น)
แล้วก็โดนรุมต่อยจนเข้าโรงพยาบาล
ใครจะต้องมีส่วนรับผิดชอบกับเหตุการณ์แบบนี้มากที่สุด ลูกหลาน? แตน? หรือตัวเองที่ไม่มีปัญญาห้าม?
OK.แม้ใครจะบอกว่าคนมีสมองมากกว่าแตน
แต่มันก็มีสัญชาติญาณหมู่บางอย่างเหมือนกันนั่นแหละ
ในเมืองนอกยังเคยมี คนเอารูปพระเยซูมาวาดล้อเลียน แล้วโดนลอบวางเพลิงเลย
อ้อ แล้วถ้า โฉดสัก ไม่ตอแหลต่อตัวเอง...
ก็คงไม่หลงลืมว่า ก่อนหน้านี้ เคยเขียนอะไรไว้ในหนังสือ Questionmark แล้วก็ เวบบอร์ดมหาลัยเที่ยงคืน
สิ่งที่โฉดสักเขียน ไม่ใช่มีนิยามแค่คำว่า ไม่เคารพ แน่นอน


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: RXP 215 ที่ 13-05-2008, 21:47
เกียจพวกไม่เคารพสถาบัน พวกนี้เลวมาก


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ฮูลิแกน ที่ 13-05-2008, 22:39
ผมไม่ได้มองว่าพวกป๋าหมักกับป๋าจืดผิดคนเดียวหรอก
แต่พฤติกรรมของพวกนักศึกษามันก็มีส่วนทำให้เกิดความรุนแรงด้วย :slime_cool:

อย่ามาบอกนะว่าในวันนั้น ไม่มีเหิ้ยหางแดงปนอยู่ ฮ่าฮ่าฮ่า :slime_bigsmile:
อ้ายหัวโตกับธงชัย ก็ยังเคยยอมรับว่าตัวเองคลั่งไคล้ลัทธิหางแดง คนร่วมยุคที่ติดตามประวัติศาสตร์ตรงนี้ก็คงรู้
จริงอยู่ ถ้ามองตามหลักสิทธิสากลว่า เพียงแค่อยากเป็นเหิ้ยไม่ควรจะถูกกระทำรุนแรงขนาดนั้น
แต่ถ้ามองถึงเหตุการณ์โลกในเวลานั้น พวกเหิ้ยหางแดงในประเทศเพื่อนบ้าน(เช่นเขมรแดง)ก็ทำเรื่องยำยำตำบอนโคตรๆเช่นกัน
มันไม่แปลกที่พลเมืองไทยหลายคนตอนนั้นจะหันมาเชียร์กระทิงแดง เพราะเกลียดความโหด***มของฝ่ายซ้ายในบางประเทศ
นักศึกษาส่วนใหญ่(ที่อ้างว่าแค่มาต่อต้านจอมพลถนอมฯ)เลยซวยโดนหางเลขไปด้วย แม้หางจะไม่แดงก็ตาม  :slime_sleeping:

มันน่าสนใจว่าทำไมตอนสิบสี่ตุลาฯ ใครๆก็เชียร์ขบวนการนักศึกษา
แต่ทำไมตอนหกตุลาฯพวกนี้จึงกลายเป็นหมาหัวเน่า :slime_v:
เพราะกระบอกเสียงของรัฐจากอำนาจเก่าเท่านั้นหรือ? ผมว่าไม่ใช่แค่นั้น
เพราะพฤติกรรมได้คืบเอาศอก ได้ศอกเอาวา ของพวกนักศึกษาบางคนด้วยหรือเปล่า(ผมเองก็เกิดไม่ทัน แต่เคยอ่านจากบันทึกของคุณ*bonny รวมทั้งบันทึกอื่นๆอีก ของหัวโต ธงชัย หรือธีรยุทธ ก็เคยอ่าน)

แม้แต่ทุกวันนี้ หางแดงบางตัวก็ยังไม่ทิ้งความซ้ายจัดของตัวเอง
เพราะแม้จะอนุญาตให้คุณเป็นมาร์กซิสต์ หรือคอมมิวนิสต์ได้ แต่"กฏหมายเชิงจารีต"บางอย่างยังมีอยู่
ก็เหมือนกับอนุญาตให้คุณเกิดเป็นหมาได้ แต่ยังไม่อนุญาติให้"เห่าเครื่องบิน"ได้ พวกนี้บางตัวเลยไม่พอใจ?

"อ้าว! หมาไม่เห่าก็เสียชาติหมาซิ!"(พวกซ้ายใหม่อาจกำลังคิดในใจเช่นนี้) :slime_surrender:


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: oho ที่ 13-05-2008, 23:03
ไม่ต้องอ่านเลยครับ..
แค่เห็นชื่อไอ้ อาจารย์คอมมิวนิสต์ ก็รู้แล้ว ว่ามันจะพูดอะไร??
มันก็แค่ "หน้าตัวเมีย"หลบอยู่หลังฉาก "อ้ยโชติศักดิ์"
คอยผลักดันศิษย์ออกหน้า..อาจารย์อยู่หลังตรูด
เห็นมีแต่แก๊งอั้ยเหลี่ยม ที่ชื่นชอบชื่นชมไอ้อาจารย์หัวหงอกตัวนี้
เพราะอุดมการณ์มันตรงกันกับแก๊งอั้ยเหลี่ยม...
เห็นมันไปโผล่นั่งเทียนเขียนบทความ
อยู่ในเว็บไซด์ ม.เที่ยงคืน(แก๊ง อ.นิธิ ก๊กไอ้เหลี่ยม)


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ชัย คุรุ เทวา โอม ที่ 13-05-2008, 23:14
ไม่ต้องอ่านเลยครับ..
แค่เห็นชื่อไอ้ อาจารย์คอมมิวนิสต์ ก็รู้แล้ว ว่ามันจะพูดอะไร??
มันก็แค่ "หน้าตัวเมีย"หลบอยู่หลังฉาก "อ้ยโชติศักดิ์"
คอยผลักดันศิษย์ออกหน้า..อาจารย์อยู่หลังตรูด

ไม่เหมือนใครบางคน "นางพญาผมขาว"หุหุหุ :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 13-05-2008, 23:26
ผมยังตั้งข้อสังเกต อ.สมศักดิ์ ว่าคนในระดับท่านนั้นเชี่ยวชาญการเมืองและแม่นยำเหตุการณ์ทั้งยังเก่งในการใช้ตรรกะเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้อ่านหรือสังคมคล้อยตามตรรกะของท่านได้บ่อยๆ นั้น จะไม่รู้จริงๆ หรือว่า การใช้กรณีหมิ่นฯ เป็นเหตุโจมตีทางการเมืองของทั้งสองกรณีนั้นไม่เหมือนกัน เมื่อสามสิบสองปีก่อนนั้นของปลอม แต่ พ.ศ.นี้ “ของจริง” แต่ที่ท่าน อ.สมศักดิ์ดูเปรียบเทียบเลอะเลือนเช่นนี้ ก็เป็นเพราะความจงใจในการบิดเบือนข้อเท็จจริงเพื่อปกป้อง “โชติศักดิ์” และขบวนของเขา รวมทั้งกลุ่มความคิดฟ้าเดียวกัน ที่ท่านใกล้ชิด และมีอิทธิพลทางความคิดต่อเด็กๆ เหล่านี้ยิ่งนัก?
       
       ว่ากันว่า คนกลุ่มนี้ศรัทธาท่านทั้งสามยิ่งนัก เท็จจริงประการใด วานบอก...

-----------------

โดนมาก ๆ


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ปุถุชน ที่ 14-05-2008, 01:17
ผมยังตั้งข้อสังเกต อ.สมศักดิ์ ว่าคนในระดับท่านนั้นเชี่ยวชาญการเมืองและแม่นยำเหตุการณ์ทั้งยังเก่งในการใช้ตรรกะเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้อ่านหรือสังคมคล้อยตามตรรกะของท่านได้บ่อยๆ นั้น  จะไม่รู้จริงๆ หรือว่า การใช้กรณีหมิ่นฯ เป็นเหตุโจมตีทางการเมืองของทั้งสองกรณีนั้นไม่เหมือนกัน เมื่อสามสิบสองปีก่อนนั้นของปลอม แต่ พ.ศ.นี้ “ของจริง” แต่ที่ท่าน อ.สมศักดิ์ดูเปรียบเทียบเลอะเลือนเช่นนี้ ก็เป็นเพราะความจงใจในการบิดเบือนข้อเท็จจริงเพื่อปกป้อง “โชติศักดิ์” และขบวนของเขา รวมทั้งกลุ่มความคิดฟ้าเดียวกัน ที่ท่านใกล้ชิด และมีอิทธิพลทางความคิดต่อเด็กๆ เหล่านี้ยิ่งนัก?
       
       ว่ากันว่า คนกลุ่มนี้ศรัทธาท่านทั้งสามยิ่งนัก เท็จจริงประการใด วานบอก...

-----------------

โดนมาก ๆ


เห็นด้วย.......



ปล. ผมยังตั้งข้อสังเกต อ.สมศักดิ์ ว่าคนในระดับท่านนั้นเชี่ยวชาญการเมืองและแม่นยำเหตุการณ์ทั้งยังเก่งในการใช้ตรรกะเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้อ่านหรือสังคมคล้อยตามตรรกะของท่านได้บ่อยๆ นั้น.....

ไม่เห็นด้วย....
คิดว่าเป็น'การพล่าม' มากกว่าจะ 'เชี่ยวชาญ'....


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Cherub Rock ที่ 14-05-2008, 02:00
คุณ plagud010 เอาไปโพสต์ที่ฟ้าเดียวกัน

http://www.sameskybooks.org/board/index.php?showtopic=8015&st=0

เท่าที่ดูผ่านๆ ยังไม่มีคำตอบอะไร
สมศักดิ์เงียบ  :slime_whistle:




หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: oho ที่ 14-05-2008, 09:01
http://www.prachatai.com/05web/th/home/page2.php?mod=mod_ptcms&ContentID=2506&SystemModuleKey=HilightNews&System_Session_Language=Thai (http://www.prachatai.com/05web/th/home/page2.php?mod=mod_ptcms&ContentID=2506&SystemModuleKey=HilightNews&System_Session_Language=Thai)
http://www.prachatai.com/05web/th/home/page2.php?mod=mod_ptcms&ContentID=2506&SystemModuleKey=HilightNews&System_Session_Language=Thai

(http://www.prachatai.com/05web/images/head_02.jpg)
(http://www.prachatai.com/05web/images/head_04.jpg)
(http://www.prachatai.com/05web/images/head_08.jpg)
เกษียร เตชะพีระ : “ความอิจฉาเป็นบ่อเกิดแห่งความเสมอภาค”   
 
(http://www.prachatai.com/05web/upload/HilightNews/library/200602/20060210-13.gif)

เขาให้คำจำกัดความชนชั้นกลางแบบไม่ค่อยน่าไว้วางใจเท่าไหร่ พร้อมพูดถึงความรักชาติด้วยอาการอิหลักอิเหลื่ออย่างยิ่ง แต่ในภาวะไม่เอาทักษิณ และภาพของการชุมชุมวันที่ 4 ก.พ. ที่ผ่านมา ทำให้ ‘ประชาไท’ อดนึกถึงเขาไม่ได้

 

คำอธิบายของเขาคล้องจองกันไปกับท่าทีของฝ่ายองค์กรภาคประชาชนในประเด็นที่ว่า ทักษิณไม่ใช่ปัญหาประการเดียวของแผ่นดิน แต่มีอะไรบางอย่างที่ใหญ่กว่าทักษิณ คำอธิบายจากนั้นคือความแตกต่าง เขาไม่ได้พูดถึงระบอบทักษิณ แต่พูดถึงโลกาภิวัตน์ของเสรีนิยมใหม่ที่การแปรรูปประเทศเป็นภาวะสากลของโลก อย่างนั้นแล้ว กระบวนการขับไล่นายกฯ จะตอบปัญหานี้อย่างไร

 

‘ประชาไท’ สัมภาษณ์ รศ.ดร. เกษียร เตชะพีระ ในช่วง 11.00 น. ของวันที่ 8 ก.พ. 2549 ไม่กี่ชั่วโมง ก่อนหน้าสนธิ ลิ้มทองกุล แกนนำคนสำคัญของการชุมนุมวันที่ 4 ก.พ. จะประกาศเปิดทางให้องค์กรภาคประชาชนรับช่วงนำการเคลื่อนไหวขับไล่นายกฯ จึงยังมีบางส่วนของคำสัมภาษณ์ที่แสดงความห่วงใยในสถานการณ์วัน 11 ก.พ. ที่จะถึงในบริบทแบบเดิม (สนธิ vs ทักษิณ)

 

อนึ่งไม่ว่าคุณจะเป็นคนขี้อิจฉาหรือไม่ แต่กับเงิน 73,000 ล้านที่ครอบครัวนายกฯได้จากการขายหุ้นโดยไม่ต้องเสียภาษีสักบาท คุณควรอิจฉาเอาไว้นะ เพราะเกษียร เตชะพีระเขาบอกว่า ความอิจฉาจะนำมาซึ่งความเสมอภาค

 

อาจารย์เคยอธิบายเรื่องชนชั้นกลาง ที่จะเลือกเอาผู้นำที่ทำให้ตัวเองมั่นคงปลอดภัยทางเศรษฐกิจไว้ก่อน ขบวนการม็อบขับไล่นายกฯ จะไปเข้าอีหรอบเดิมไหม จะเป็นเหมือนกบเลือกนายหรือไม่

ขอพูดเป็น 3 ชั้นนะ เพราะเรื่องนี้เรื่องใหญ่

 

ชั้นที่หนึ่ง เรื่องกบเลือกนาย ผมคิดว่าคำพูดคำนี้มันหยุดการคิด และที่สำคัญมันสะท้อนความจริงบางอย่าง ในความหมายแบบนี้ว่า สิ่งที่น่าเศร้าที่สุดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบัน ถ้า 1. มันนำไปสู่การสูญเสียชีวิตจากความขัดแย้งครั้งนี้ 2.ได้แค่เปลี่ยนตัวประธานในการ privatize (แปรรูป) รัฐชาติไทย จากคุณทักษิณเป็นคนอื่น โดยที่โปรเจ็คท์ privatize รัฐชาติไทยยังเป็นแบบเดิม อันนี้น่าเศร้าที่สุด

 

ผมยังเข้าใจว่า ตอนนี้ความเข้าใจของมหาชนทั่วไปมันหยุดอยู่แค่นี้ ปัญหาที่เป็นรากเหง้ามันใหญ่เสียจนกระทั่ง แค่เปลี่ยนตัวทักษิณเป็นคนอื่นนั้นมันไม่แก้อะไร

 

ปัญหามันใหญ่เสียจนกระทั่ง....ด้วยความเคารพ มีคุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา 100 คน มีความถูกกฎหมาย สุจริต ไม่มีความฉ้อฉลอะไรทั้งสิ้น ปัญหาก็ยังเกิดอยู่ดี (หัวเราะ) เพราะปัญหามันใหญ่มากเลย แต่ตอนนี้มันถูกรวบความเป็นว่า เปลี่ยนตัวประธานกระบวนการทั้งหมดก็แล้วกัน แล้วเอาแบบสะอาด ไม่มีคอร์รัปชั่น ถูกกฎหมายทุกอย่าง สุจริตเต็มร้อย แล้วทุกอย่างจะดี ไม่ใช่เลยครับ

 

สำหรับผมแล้ว สิ่งที่น่ากลัวในการเคลื่อนไหวขับไล่นายกฯ มี 2 ข้อคือ 1. มีคนตายจากความขัดแย้งครั้งนี้ 2. ‘ได้แค่นี้’ ซึ่งผมก็กลัวคือ มันจะได้แค่นี้จริงๆ

 

ชั้นที่ 2 ผมคิดว่าชนชั้นกลางกำลังแสดงความรักชาติ ซึ่งถ้าพูดจากจุดยืนของคนชั้นล่าง มันเป็นชาติที่ไม่น่ารักเท่าไร เพราะมันเป็นชาติที่เกิดจากการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแบบไม่เสมอภาค

 

ชาติที่คนชั้นกลางรัก เป็นชาติที่ไฟฟ้าถูก แต่ไฟฟ้ามันถูกก็เพราะมันไปปล้นเอาแม่น้ำเขามา ปล้นเอาสิ่งแวดล้อมเขามา หรือพูดง่ายๆ มันเป็นชาติที่เขาอยู่บนความได้เปรียบพอสมควร ได้เปรียบธรรมชาติ ได้เปรียบชาวบ้านข้างล่าง นี่คือชาติที่คนชั้นกลางรักมากเลย

 

ผมคิดว่าปัญหาที่คนชั้นกลางลุกขึ้นมาต่อต้านทักษิณ เพราะทักษิณคุกคามความเป็นอยู่ของชาติในความหมายนี้ ซึ่งพูดถึงจุดยืนแล้ว ผมไม่ชอบชาติในความหมายนี้เลย มันเป็นชาติที่มีปัญหามาก แล้วก็ที่ผ่านมาก็ทะเลาะกันแย่งชาติแบบนี้แหละ

 

แต่แม้กระทั่งชาติแบบนี้ เราก็ยังรู้สึกว่าถูกคุกคาม เพราะอะไร เพราะทักษิณดำเนินกระบวนการเปลี่ยนแปลงแบบโลกาภิวัตน์เสรีนิยมใหม่ แบบที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่มทุนของเขา ต่อพวกพ้องของเขา ซึ่งมันไปคุกคามความมั่นคงในชาติที่น่ารักของคนชั้นกลาง ไฟฟ้าแพงเหรอ น้ำมันแพงเหรอ อย่างนี้แปลว่าอะไร ตลาดหุ้น... บางคนได้เปรียบ กูเสียเปรียบเหรอ

 

สินเชื่อราคาถูก ตลาดหุ้น บริโภคนิยม นี่คือ 3 สถาบันหลักของคนชั้นกลาง ซึ่งตอนนี้มันกำลังถูกคุกคาม ตลาดหุ้นก็ฉ้อฉล มันไม่แฟร์นี่หว่า สินเชื่อตอนนี้ดอกเบี้ยก็เริ่มสูงแล้ว บริโภคนิยมชักจะทำงานไม่ได้แล้ว ภายใต้สภาพที่ข้าวของเริ่มแพง ดังนั้น คนชั้นกลางจึงต้องแสดงความรักชาติ

 

ชั้นสุดท้าย เป็นปัญหาที่ใหญ่มาก ซึ่งผมรู้สึกว่ายังไม่มีใครเสนออะไรเลย แล้วคนที่ทำให้ผมนึกถึงอันนี้คือ อาจารย์เสกสรรค์ (ประเสริฐกุล) คือพูดให้ถึงที่สุด มันเป็นกระบวนการที่โลกาภิวัตน์เสรีนิยมใหม่กำลังเข้ามาเปลี่ยนรัฐชาติไทย โดยตรรกะของมัน เป้าหมายสูงสุดก็คือ privatize (แปรรูป) รัฐไทย ซึ่งคุณทักษิณ บังเอิญ มาเป็นประธานดูแลบริหารกระบวนการนี้อยู่ โดยทำอย่าง Aggressive (ก้าวร้าว) มาก และรับเหมาคนเดียว ไม่เอื้อประโยชน์ต่อกลุ่มทุนอื่น ไม่เอื้อประโยชน์ต่อคนชั้นกลางเท่าที่ควร อันนี้เป็นเหตุให้คนจำนวนมากรู้สึกว่าท่านสูญเสียความชอบธรรม

 

แต่ถามว่าเขาตั้งคำถามกับกระบวนการนี้ทั้งกระบวนไหม ผมคิดว่าไม่ ซึ่งมันน่าเศร้า เพราะมันหมายความว่าต่อให้เอาเขาออกไป คนใหม่เข้ามาก็จะนั่งเป็นประธานกระบวนการนี้ต่อ เพียงแต่จะก้าวร้าวขนาดนี้ไหม จะไม่ฟังคนอื่นขนาดนี้ไหม ทำเอฟทีเอ เมกะโปรเจ็คท์ เอาน้ำให้บริษัทนั้น บริษัทนี้ นี่มันเป็นฟังก์ชั่นของรัฐชาติ แล้วคุณก็ privatize ให้บริษัททั้งหลายทำ คือตรรกะมันง่ายมาก พอทำให้ของส่วนรวมกลายเป็นของส่วนตัว จะขายให้ใครก็ช่างเขา แต่ถ้าเขาขายให้ต่างชาติก็จบ คุณเปิดประตูแปรรูปแล้วจะห้ามต่างชาติเข้ามามันยากมาก ทักษิณเพียงแต่เป็นผู้ดำเนินตามตรรกะนี้ไปให้ถึงที่สุด

 

หากปัญหาของประเทศคือโลกาภิวัตน์เสรีนิยมใหม่ ถ้ามองจากมุมของทักษิณก็ย่อมไม่มีใครสมควรขึ้นมาเป็นประธานในการแปรรูปประเทศได้ดีกว่าตัวทักษิณเอง เพราะเขาคือกลุ่มทุนใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ย่อมต้องปกป้องตัวเองได้ดีกว่าจะให้คนอื่นมาปกป้อง

ใช่ ถ้ามองจากมุมคุณทักษิณ เขาควรจะดูแลกระบวนการทั้งหมด แต่กระบวนการแปรรูปประเทศนั้นส่งผลกระทบต่อคนเยอะมาก และมีกลุ่มคนที่ไม่ได้ผลประโยชน์จากการแปรรูปประเทศครั้งนี้เลย กลุ่มทุนอื่นๆ ที่อยากจะร่วมกระบวนการนี้ไม่ได้ประโยชน์ คนที่เสียต้องประโยชน์โดยตรงจากการแปรรูปประเทศโดยไม่ได้ประโยชน์อะไรเลยก็มีมาก

 

ม็อบที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วนี้ จะทำให้คนที่เข้าร่วมซึ่งหลากหลายมาก ได้เรียนรู้เพิ่มเติมได้ไหมว่าปัญหาที่แท้จริงคืออะไร

ไม่ได้ ไม่พอ ฟันธงเลย แต่ว่าก็ทำไปจนสุดความสามารถที่จะทำให้เห็นประเด็นที่กว้างและมากไปกว่าตัวบุคคล นี่คือเรื่องใหญ่ ผมก็ไม่รู้ว่าจะทำได้หรือเปล่า แต่ในทางกลับกัน คุณทักษิณก็เป็นตัวบล็อกในการเปลี่ยนระบบอยู่ การจะบอกว่าปัญหาอยู่ที่ระบบ ไม่ใช่บุคคล อย่าไปล้มทักษิณเลยมันก็ไม่ใช่ เพราะการที่คุณทักษิณอยู่ตรงนั้นมันก็ไปบล็อกการเปลี่ยนแปลง แกนั่งเป็นประธานกระบวนการ privatize แล้วแกดันดำเนินกระบวนการแบบที่ antagonize (เป็นศัตรู) คนจำนวนมากที่อยากจะอยู่ในกระบวนการนี้ด้วย แกกลับดำเนินการไปในลักษณะที่แกได้คนเดียว และมันไปสั่นคลอนความมั่นคงของกลุ่มทุนกลุ่มอื่น ในความหมายนี้มันจึงมีเหตุผลที่คนจะไม่รับ และต้องปลดบล็อกตรงนี้ นี่ยังไม่ต้องพูดถึงหลักรัฐศาสตร์ทั่วไปนะว่าที่แกทำมันก็ไม่ชอบธรรม

 

อย่างนั้นแล้วคำถามที่ชาวไทยรักไทย หรือหลายๆ คนถามว่า ไม่เอาทักษิณ แล้วจะเอาใคร ก็ไม่ใช่คำถามที่จำเป็น เพราะไม่ว่าใครขึ้นมาก็คงคล้ายๆ กันใช่ไหม

ประเทศที่สามารถรับผลกระทบของโลกาภิวัตน์แล้ว ชะตากรรมดีหน่อยก็คือ ประเทศที่ใช้อำนาจรัฐบริหารจัดการโลกาภิวัตน์อย่างเป็นตัวของตัวเอง ใช้อำนาจรัฐบริหารจัดการโลกาภิวัตน์แบบคำนึงถึงผลประโยชน์ของคนกลุ่มใหญ่ และผลกระทบของคนกลุ่มน้อย

 

มีตัวอย่างไหม

อันนั้นเป็นหลักการทั่วไป ถ้าดูแลตรงนั้นก็จะเป็นโลกาภิวัตน์ที่เอื้ออาทร เป็นคุณต่อคนตัวเล็กตัวน้อยหน่อย มีเกราะคุ้มกัน และมีอำนาจต่อรอง ไม่สูญเสียทรัพยากร ถ้ายึดตรงนี้เป็นเกณฑ์ คุณทักษิณก็ตก เพราะในกระบวนการตรงนั้นเขาไม่ได้ดูแลคนเล็กคนน้อย ที่แย่กว่านั้นคือ เขาได้ประโยชน์มากกว่าคนอื่น แบบน่าเกลียดด้วย (หัวเราะ)

 

ในความหมายนี้เราก็ต้องเปลี่ยนตัวประธานผู้บริหารจัดการ เพราะอยู่ภายใต้แก แกก็ไม่ค่อยฟังใคร ด้วยความเป็นอำนาจนิยมของแก มันยิ่งทำให้กระบวนการนี้เลวยำยำขึ้นไปอีก ด้วยความคับแคบ ไม่ให้คนอื่นเข้าร่วมกระบวนการ

 

จริง ๆ แล้วก็ไม่มีใครที่จะเป็นหลักประกันว่าขึ้นมาเป็นประธานในการแปรรูปประเทศแล้วจะเฉลี่ยให้เท่าเทียมกัน

ก็ต้องสร้างอำนาจต่อรองของประชาชนขึ้นมา ปัญหาของคุณทักษิณคือ ความคับแคบในการทำงาน ไม่เปิดกว้าง

 

หมายความว่าถ้าทักษิณเปลี่ยนท่าที ฟังมากขึ้น เฉลี่ยผลประโยชน์มากขึ้น ก็โอเคใช่ไหม

ผมคิดว่าแกพูดอย่างนี้แล้วก็ทำตรงข้ามเสมอ ที่แกเสียตอนนี้ ไม่ใช่แกเสียท่า หรือเสียทีนะ แต่แกเสีย Trust แกเสียความไว้วางใจจากผู้คนไปแล้ว ตอนนี้ลำบากแล้ว

 

หรือเป็นเพราะคุณทักษิณทำไม่เนียน

แกพยายามเนียนแล้ว ปากแกไม่ดีเท่านั้นเอง ผมว่าแกก็คิดไม่ถึงว่า แกขายหุ้นแล้วคนจะด่ากันทั้งเมือง ดูแกช็อก

 

สรุปว่า แม้อาจารย์จะมองว่าปัญหาที่เราเผชิญอยู่ไม่ได้อยู่ที่ตัวคุณทักษิณเท่านั้น แต่ในเบื้องต้นคุณทักษิณควรลงจากตำแหน่งประธานในการแปรรูปประเทศก่อน

ครับ แต่จริงๆ ผมสงสารลูกแกนะ แกเป็นคนรักลูกมาก แล้วแกก็ไม่อยากให้การเมืองไปทำร้ายครอบครัวแก แต่ผมรู้สึกว่าสิ่งที่เกิดขึ้น ผลที่แกทำ มันนำไปสู่ผลตรงข้ามกับที่แกต้องการ กลายเป็นว่าลูกแกต้องมาเกี่ยวข้องกับปัญหาต่างๆ ด้วย น่าสงสาร

 

อาจารย์รังสรรค์ (ธนะพรพันธุ์) เคยบอกว่า สิ่งที่ตรงข้ามกับเสรีนิยม ก็คือชาตินิยม แล้วการที่จะสู้กับเสรีนิยม ก็ต้องยกชาตินิยมขึ้นมา ซึ่งมันก็ sensitive ไม่น้อยว่ามันจะออกมายังไง

น่าคิดมากเลยว่า ประเด็นที่ถูกชูในการเคลื่อนไหวก็เป็นเรื่องการขายชาติ กู้ชาติ พรรคประชาธิปัตย์ก็มีคำ ทุจริต ผิดกฎหมาย ขายชาติ ตั้งเสียคล้องจองสวยหรู แต่ที่มันพรางอยู่ข้างในก็คือ มันยังตกลงกันไม่เรียบร้อยเลยนะเรื่องชาติ มันยังเอารัดเอาเปรียบกันเองอย่างมาก

 

ในเมื่อมันยากหรืออาจจะสายเกินไปที่จะต้านโลกาภิวัตน์เสรีนิยมใหม่ เราก็แปรรูปไปเลยพวกรัฐวิสาหกิจ น้ำ ไฟ อะไรต่างๆ ให้เกิดการแข่งขันแท้จริงเพื่อประโยชน์ของผู้บริโภคตามทฤษฎีของนักเศรษฐศาสตร์ เพราะทุนก็ไม่มีสัญชาติอยู่แล้ว

ประการแรก ไม่เคยมีที่ไหนในโลกที่เปิดเสรีแล้วไม่ได้แข่ง แต่ก็ไม่เคยมีที่ไหนที่เปิดแล้วไม่โดน dominate (ครอบงำ) ไม่เกิดการฉ้อฉล เพราะพื้นที่การเมืองมันไม่เคยเป็นพื้นที่ในฝันของนักเศรษฐศาสตร์คลาสสิกสักที่หนึ่งเลย นี่เมืองไทยนะครับ มันไม่มี เปิดเต็มที่แล้วจะเกิดการแข่งขันเสรีแล้วได้ประโยชน์สูงสุดมันไม่เกิดหรอก

 

ประการที่ 2 มันไม่มีหลักประกันเลยว่า ถ้ากระบวนการ privatization เข้ามาแล้วมันจะดูแลคนที่ไม่มีอำนาจซื้อ เมื่อทุกคนกลายเป็นผู้บริโภค บัตรประชาชนโยนทิ้งน้ำได้เลย เอาเครดิตการ์ดมาโชว์ดีกว่า ประเทศอื่นเวลาโดนแบบนี้ก็ฉิบหายหมดเลยนะ

 

ก็เมื่อใครขึ้นมาเป็นนายกฯ ก็ต้านเสรีนิยมใหม่ไม่ได้ อย่างนั้นแล้วประเทศเรากำลังจะก้าวไปสู่อะไร

แต่ก่อนนี้ในนามของชาติ เรามีความเชื่อว่ามันจะปกป้องคนข้างหลังรั้วนั้นได้อย่างค่อนข้างเสมอภาคกัน ประสบการณ์มันก็เป็นอย่างนั้น แต่มันก็มีคนขายชาติอยู่ มีคนรังแกชาติอยู่ มาถึงตรงนี้มันมีการถอนรื้อรั้วนี้ทิ้ง ทีนี้คนที่เคยได้ประโยชน์จากรั้วนั้นบ้าง คือ คนตัวเล็กตัวน้อย เขามีความรู้สึกว่า ถ้าไม่มีรั้วแล้วจะมีอะไรให้เขา มันก็มีเหตุผลนะครับที่เขาจะรู้สึกว่าเขาจะรักชาติ มีเหตุผลที่จะรู้สึกว่าในพื้นที่ตลาดเสรี คนอย่างเขาแข่งไม่ได้ และเขาจะไม่ได้อะไรเลย แม้ว่าพื้นที่ตลาดเสรีนั้นจะมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือแม้ว่าพื้นที่ตลาดเสรีนั้นจะมีการแข่งขันกันอย่างสมบูรณ์ เพราะเขาไม่มีต้นทุนจะไปแข่ง

 

ตามตรรกะของตลาดเสรีก็จะบอกว่าคุณก็เป็นผู้แพ้สิ เอาอย่างนี้แล้วกัน เดี๋ยวเราจะดูแลให้ 30 บาทรักษาทุกโรค อะไรก็ว่าไป และนั่นคือสิ่งที่ทำเพื่อรองรับประชากรส่วนเกิน คนที่ไม่มีคุณค่าในตลาด

 

โครงการ 30 บาท ไม่ได้เป็นจุดเริ่มต้นของการเดินไปสู่รัฐสวัสดิการ ที่เก็บภาษีสูงๆ แล้วเอามาเฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุขกันหรอกหรือ

เราเพิ่งจะไม่เก็บภาษีเศรษฐีที่รวยที่สุด ไม่ใช่เหรอ แหม ทำเป็นลืม ถ้าคนๆ หนึ่งขายหุ้นไปเกือบแสนล้านแล้วไม่ต้องจ่ายภาษีเลย...คร่อก

 

อย่างไรก็ตาม ช่วงที่กรณีขายหุ้นชินคอร์ปยังไม่ถูกต่อต้านแรงขนาดนี้ มีการทำโพลล์ออกมาถามว่านายกฯ จำเป็นต้องเสียภาษีไหม ตั้ง 20 กว่าเปอร์เซ็นต์ ตอบว่าไม่จำเป็น

ก็คุณนึกดู สิ่งที่รัฐทำกับคุณมาทั้งชีวิต นึกดู ปัญหาภาคใต้ รีดไถ ฯลฯ แล้วคุณก็ต้องเสียให้มัน คุณอยากเสียภาษีไหม นี่เป็นรัฐที่บริการคุณดีหรือ นี่เป็นรัฐที่เป็นธรรมกับคุณหรือ ทั้งที่ไม่อยากเสีย เพราะมันบริการคุณแย่มาก

 

แต่ว่าความรู้สึกของชนชั้นกลางต่อกรณีคุณทักษิณก็คือ “เราไม่อยากเสียภาษียังมีเหตุผล แต่คุณทักษิณไม่มีเหตุผล มึงรวยกว่ากู” อย่าลืมว่า ความเสมอภาคมันเริ่มต้นด้วยความอิจฉานะ ความเสมอภาคมันเริ่มต้นจากการอิจฉารวมหมู่ การใช้ความอิจฉารวมหมู่ไปในทางสร้างสรรค์จะเป็นเส้นทางไปสู่ความเสมอภาค

 

ฉะนั้นกระบวนขับไล่ทักษิณนั้นก็คือการใช้พลังอิจฉารวมหมู่ไปในทางสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดระบอบที่เป็นธรรม ที่คุณทักษิณพูดก็ถูกนะ อิจฉานี่ โห ทำไมจะไม่อิจฉาล่ะ ถ้าผมเป็นคุณรักเกียรติ สุขธนะ (อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขที่ถูกพิพากษาจำคุกเนื่องจากกรณีทุจริตจัดซื้อยา-ประชาไท) ผมก็อิจฉา แหม กูโกงนิดเดียว จับกูติดคุก

 

อาจารย์บอกว่าม็อบขับไล่นายกฯ เป็นม็อบที่ชนชั้นกลางแสดงความรักชาติแบบชนชั้นกลาง แต่ก็มีคนระดับล่างที่ได้รับผลกระทบมาร่วมไม่น้อย

คนเหล่านั้น ผมคิดว่าเขาได้รับผลกระทบโดยตรงจากโปรเจ็คท์ในยุคโลกาภิวัตน์ ฉะนั้น มันมีแนวร่วมหลายขบวน แต่ก็อย่างว่า ชาติของคนชั้นกลางมันก็ยืนอยู่บนหลังของคนชั้นล่างที่จับมืออยู่กับเขานี่แหละ มันฝันเห็นชาติกันคนละชาติ แต่ความต่างของชาติที่ถูกคุกคามแบบของชนชั้นกลาง กับชาติที่ถูกคุกคามของคนชั้นล่าง มันถูกเกลื่อนกลบให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ด้วยการถวายคืนพระราชอำนาจ พอพระองค์ปรากฏ ความต่างที่สำคัญที่สุดหายไป ความเหมือนกันที่สุดก็กลายเป็นความต่างได้ โลกอุดมการณ์ทางการเมืองมันมีของพวกนี้อยู่

 

แต่ประเด็นการเคลื่อนไหวก็ดูจะเคลื่อนไปทางอื่นแล้ว เช่น การเรียกร้องปฏิรูปการเมืองครั้งที่ 2

ผมก็หวังว่า แต่กระนั้น ที่อ่านดูในจดหมายที่ถวายฎีกา เนื้อหา น้ำเสียงก็ไม่เป็นอย่างที่คุณพูดเลยนะ และการถวายพระราชอำนาจคืน ทันทีที่พูดคำนี้ขึ้นมา ถึงที่สุดมันต้องนำไปสู่การเปลี่ยนระบอบการเมือง ซึ่งในระบอบอย่างที่เรามีอยู่ปัจจุบันนี้ คุณทักษิณก็ล็อคมันไว้หมด

 

ฉะนั้น ข้อเรียกร้องในนามการถวายพระราชอำนาจคืน กับสภาพความเป็นจริงที่คุณทักษิณล็อคการเมืองไทยทั้งหมด ถ้ามันพุ่งเข้าใส่กัน มันก็มีทางออกอยู่อันเดียว คือต้องเปลี่ยนแปลงการเมืองนอกระบบ เช่น รัฐประหาร ม็อบ อะไรก็แล้วแต่ เพราะเงื่อนไขเดียวที่ในหลวงจะลงมา ดูจากทุกครั้งที่ผ่านมาคือ ระบอบการเมืองมันพัง ทำงานไม่ได้

 

การลงชื่อของนักวิชาการเรียกร้องให้นายกฯ ลาออก อาจจะถูกตั้งคำถามว่าเป็นการยอมให้นายกฯ มาจากระบบอื่น เป็นการยอมรับอำนาจอื่นนอกเหนือกลไกตามระบอบประชาธิปไตยหรือเปล่า

ผมก็ไม่รู้รายละเอียดของนักวิชาการแต่ละสถาบัน แต่เท่าที่รู้ นักวิชาการในสถาบันต่างๆ เขาเรียกร้องก็ให้นายกฯ ลาออก ไม่ได้บอกว่านายกฯ คนใหม่ต้องมาด้วยวิธีการพิเศษ

 

กล่าวเฉพาะในคณะของผม นี่คือประเด็นที่เราถกกันเยอะมากด้วยความวิตก เราระมัดระวังที่จะไม่ให้มีถ้อยคำใดๆ ในแถลงการณ์ของเราที่ส่อไปในทางยอมรับอำนาจพิเศษ คือขอให้อยู่ในกรอบ ในระบอบนี้ซึ่งเป็นระบอบที่มีปัญหา ต้องแก้ แต่เฉพาะหน้านี้มันต้องปลดล็อคตรงนายกฯ ก่อน ส่วนเราจะแก้อะไร แก้อย่างไร เราคุยกันได้อีกเยอะ เพราะโจทย์มันใหญ่ ไม่ใช่แค่ทักษิณ

 

พูดสั้นๆ โจทย์ก็คือ กลุ่มทุนผูกขาดในประเทศ + ทุนโลกาภิวัตน์ ซึ่งตอนนี้เรารู้จักกลุ่มทุนโลกาภิวัตน์ผ่านชื่อเทมาเสก เรากำลังจะหาการเปลี่ยนแปลงในรัฐธรรมนูญเพื่อมาถ่วงดุลคนกลุ่มนี้ โอ้โห มันยาก ผมไม่แน่ใจว่าทำได้ด้วยซ้ำ

 

แม้แต่กระแสที่นักวิชาการออกมา ชนชั้นกลางก็วิพากษ์วิจารณ์นักวิชาการว่าเก่งแต่ในตำรา ไม่รู้เรื่องโลกภายนอก

คืออยู่กันมาเป็น 10 ปีก็คงเริ่มรู้ว่าไอ้นี่ก็เก่งอยู่แต่ในสถาบัน เกลียดมันจริงๆ เลย แต่ก็ยอมรับว่ามันก็เป็นอย่างนี้แหละ คือผมคิดว่ามันก็ดีนะ ถ้าคนเราจะยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันได้ แม้ว่าจะเห็นแตกต่างกัน

 

วันที่ 11 ก.พ.นี้ ถ้าคนธรรมดาคนหนึ่งจะเดินเข้าไปในม็อบ เขาต้องทำความเข้าใจอย่างไรบ้าง

คุณก็มีสิทธินะ ถึงแม้ผมจะไม่เห็นด้วยกับแนวทางบางอย่างของคุณสนธิ แต่ว่าที่เขาทำก็ยังไม่เห็นมีอะไรผิดรัฐธรรมนูญ เพียงแต่ที่ผมรู้สึกว่าน่าวิตกคือ ทั้งสองฝ่ายกำลังกระทำการผิดพลาดทางยุทธวิธี

 

ด้านของคุณสนธิ ก็อย่างที่บอก การรวมศูนย์อยู่ที่ตัวแก โดดเดี่ยวตัวเอง กลายเป็นม็อบสนธิล้วนๆ ทั้งๆ ที่กระแสความไม่พอใจทักษิณมันแผ่กว้างไปได้มาก ทั้งที่มันมีเงื่อนไขจะทำแนวร่วมได้มาก แต่แกมาโฟกัสที่ตัวแกมากเกินไป ทำให้ขบวนการที่จะเติบใหญ่หดแคบลง กลายเป็นการถวายคืนพระราชอำนาจ (ซึ่งมีความเสี่ยงอย่างที่กล่าวไว้) ทำไมจึงโดดเดี่ยวตัวเองนัก ทำไมไม่ทำให้การเคลื่อนไหวไม่ใช่ของแก แต่เป็นของกลุ่มคนจำนวนมากที่ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาลทักษิณ แล้วแกเป็นพลังหนึ่ง 

 

ในแง่กลับกัน รัฐบาลห้ามใช้ลานพระรูป เป็นการตัดสินใจที่โง่มาก ไปยุให้คนโกรธอีก ผมคิดว่าถ้าคุณทักษิณแกเลิกพูดสักปีหนึ่งได้จะดีมาก เพราะทุกครั้งที่แกพูด คนจะโกรธ

 

ในเงื่อนไขที่มีการเผชิญหน้าที่ยืดเยื้อ มีการแยกขั้ว ความผิดพลาดเชิงยุทธวิธีของทั้งสองฝ่าย มันอาจจะไต่ระดับแรงขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นความรุนแรงในที่สุด ทำยังไงทั้งสองฝ่ายจะปรับยุทธวิธี

 

คุณทักษิณเองดูเหมือนก็พยายามดิ้นรนหาทางออกกับเรื่องนี้อยู่ เช่น การเปิดทำเนียบรับฟังนักวิชาการ หรือแม้กระทั่งรับฟังคุณสนธิเอง

มันเลยจุดนั้นไปแล้ว ถ้าเป็นคุณล่ะ คุณลองคิดดูสิ ผมบอกคุณว่า ฮัลโหล คุณจะมาคุยกับผมก็ได้นะ แต่ว่าช่วยพูดภาษาคนหน่อย แล้วก็ไมต้องพกความโง่มานะ ถ้าเป็นคุณคุณจะมาไหม แล้วใครจะไป แกพูดเสมอว่าเปิดรับฟัง แต่ก็ดูถูกเขาตลอดเวลา

 

อาจารย์อาจจะเซนซิทีฟเกินไป คนขับแท็กซี่ หรือแม่ค้าขายของก็อาจจะบอกว่า อิจฉาเกินไป เขาให้อภัยได้ และมีคนจำนวนมากที่ให้อภัยท่าทีดูถูกคนอื่นของนายกฯ ได้

ก็ดีแล้วที่เป็นอย่างนั้น จะได้ลบอคติที่ว่าคนชั้นล่างต้องถูกเสมอ สมัยผมอยู่กับ พคท. จะมีความเชื่ออย่างนี้ว่า กรรมกร ชาวนาถูกต้องเสมอ คือไม่ใช่ มึงถูกก็มีนะ คนขับแท็กซี่ กรรมกรชาวนาก็ผิดได้

 

โอเค คำถามนี้น่าสนใจ มันเป็นการให้อภัยจากจุดยืนของคนที่ไร้อำนาจหรือเปล่า

 

อยู่กับคุณทักษิณนานๆ ไปก็เคยชินได้นะ

ผมก็เริ่มชินแล้ว เหมือนโดนบ้องหูทุกวัน แต่คราวนี้มันเกินไปหน่อย คุณทักษิณก็คงจะงงว่า เอ๊ะ ไอ้นี่ บ้องหูมันทุกวันไม่โวยวาย คราวนี้หนักไปหน่อยเดียวเอง ทำไมมันโวยวาย

 

อันตรายอย่างหนึ่งของประชาธิปไตยคือ การที่เราแสดงการคัดค้านได้ แล้วก็สบายใจว่าได้คัดค้านไปแล้ว แล้วก็จบ ม็อบขับไล่นายกฯ เมื่อวันที่ 4 ก.พ. ทีผ่านมาจะเป็นกลลวงของประชาธิปไตย เป็นเพียงแค่การเอ็กเซอร์ไซส์ทางการเมืองเท่านั้นหรือไม่

ผมขอกลับคำถามคุณ พูดอีกภาษาหนึ่งคือว่า อะไรคือยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี การเคลื่อนไหวนอกสภาจะเชื่อมโยงกับในสภาอย่างไร อันนี้ยังต่างคนต่างคิด แต่กระบวนการภายในรัฐสภาก็ดูเหมือนจะโดนบล็อกไว้หมด ผมค่อนข้างเห็นด้วยกับอาจารย์ทางเชียงใหม่ที่เขาเสนอว่าล่า 50,000 ชื่อ คือไม่ได้คิดว่ากระบวนการล่า 50,000 ชื่อเป็นเป้าหมายในตัวมันเอง แต่ว่าในการที่คุณจะล่า 50,000 ชื่อได้ คุณต้องให้การศึกษาคน ตีโจทย์นี้ให้มันกว้าง อธิบายปัญหาให้มันลึกซึ้ง

 

นักวิชาการผู้ใหญ่ท่านหนึ่งบอกกับผมว่า เป็นห่วงคุณทักษิณมากว่าจะไปเร็วเกินไป ไปโดยวิธีการที่ไม่สมควร  แกห่วงว่าเดี๋ยวระบบทักษิณกลายเป็นวีรชน เดี๋ยวมันก็มีทักษิณ 2 ตามมา เหมือนกับที่สฤษดิ์ กลายเป็นวีรชนให้คนฝันถึง อันนี้ไม่อยากให้เกิด ประการที่ 2 แกคิดถึงประโยชน์ที่คุณทักษิณอยู่ สิ่งที่กำลังเกิดขึ้นก็คือ ยิ่งนานก็จะยิ่งทำให้คุณทักษิณเปื่อย เปื่อย เปื่อยไปเรื่อยๆ และเนื่องจากระบบมันโดนบล็อกเอาออกไม่ได้ใช่ไหม แกก็จะเน่านะ

 

ผมคิดว่าสิ่งที่น่ากลัวก็คือ ถึงที่สุดแล้วคุณใช้วิธีการนอกระบบ ไม่รู้นะ มันอยู่ที่การนิยามชัยชนะอย่างไรด้วยใช่ไหม ถ้านิยามชัยชนะว่า ทักษิณต้องออกไปไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับเมืองไทย อย่างนี้ก็น่ากลัว

 

แต่ถ้านิยามชัยชนะว่า ไม่มีใครตายแม้แต่คนเดียวในความขัดแย้งทางการเมืองนี้ สังคมไทยค้นพบการเปลี่ยนผ่านจากระบอบทักษิณ ไปสู่อย่างอื่นโดยไม่มีใครตาย ระหว่างที่สังคมไทยผ่านวิกฤต ได้เรียนรู้ เข้าใจตัวเอง และเข้าใจเงื่อนไขที่ล้อมสังคมดีขึ้น กระจ่างขึ้น อันนี้เป็นชัยชนะที่ยั่งยืน

 

การเปลี่ยนผ่านนี้มันใหญ่ ประเทศเราทั้งประเทศ จะจัดการเปลี่ยนผ่านนี้อย่างไร เอาแค่เรื่องคุณทักษิณ เอาแค่ไม่ให้มีใครตาย เพราะไม่คุ้มหรอก มันไม่เคยคุ้มเลย

 

สำหรับวันที่ 11 นี้ ผมเกรงว่าจะเกิดความรู้สึกประมาทของทั้ง 2 ฝ่าย โดยเฉพาะรัฐบาลอาจจะประเมินจากวันที่ 4 ว่า อ๋อสุดยอดของคุณแค่ 50,000 เอง แล้วอาจมีใครทำอะไรเอาใจเจ้านายอีก

 

เขาไม่น่าประเมินอะไรอย่างนั้นได้เลยนะ

แต่ก็แปลกนะ ถ้าเราไปดูประวัติศาสตร์ ความโง่ของผู้นำมันมหัศจรรย์มากเลย ไม่น่าเชื่อว่าเขาจะคิดอย่างนั้นได้ ประเมินอย่างนั้นได้ แต่เขาคิด

 

อาจารย์มีข้อเสนอรูปแบบอื่นที่ไม่ใช่การชุมนุมไหม ถ้าหากเราอยากจะเรียกร้องให้คุณทักษิณลาออก

โอ อันนี้ประชาชนเองก็มีความสร้างสรรค์กว่าผมเยอะนะ ผมเองก็ไม่รู้หรอก แต่ว่าการชุมนุมโดยตัวมันเองก็ทำไม่ได้ทุกวัน ก็คงต้องหารูปแบบที่เหมาะกับสถานการณ์ต่างๆ และการชุมนุมที่เป็นจุดสุดยอดนั้นบ่อยไปก็ไม่ดี แล้วก็น่าจะมีรายการอื่นๆ ไม่ใช่แค่สนธิ-สโรชา ให้มีความหลากหลาย

 

ตอนนี้มีแต่คนบอกว่า ทักษิณเป็นปัญหาของแผ่นดิน ผมว่าเก่งจริงทำให้แผ่นดินเป็นปัญหาของคุณทักษิณสิ

 

แต่ถ้าทำอย่างนั้นกระบวนการต้องใช้เวลานาน

จะรีบร้อนไปไหน มีคนบอกเขาอยู่เป็นปัญหา เขาอยู่มีความเป็นอันตราย แต่กระบวนการที่จะเอาเขาออกก็อันตรายเหมือนกัน หากไม่ระมัดระวัง

 ************************************
เอามาลงให้รู้ประวัติที่มาที่ไป ของคนชื่อ เกษียร เตชะพีระ
Credit ก็แค่พวกเหลี่ยม กับเว็บประชาไท และสิงอยู่ที่เว็บ ม.เทียงคืน อีกที่นึง
ถ้าติดตามผลงานของมันเรื่อย ๆ ...
อ่านไป-อ่านมา ก็แค่ คน ๆ หนึ่งที่รังเกียจประชาธิปไตยที่มีสถาบันฯ
ก็แค่นั้น...
เข้าไปดูผลงานของมัน แค่1 ผลงานตัวอย่าง ได้ที่เว็บลิงค์นี้...

http://www.prachatai.com/05web/th/home/page2.php?mod=mod_ptcms&ContentID=2506&SystemModuleKey=HilightNews&System_Session_Language=Thai (http://www.prachatai.com/05web/th/home/page2.php?mod=mod_ptcms&ContentID=2506&SystemModuleKey=HilightNews&System_Session_Language=Thai)

 :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 14-05-2008, 09:18
กลุ่ม 6 ตุลา 19

คงคิดว่าเด็กๆ หรือคนรุ่นหลังจะไม่ทราบเรื่องเก่า ๆ

โดยลืมไปว่า ทั้งคนรุ่น 14 ตุลา 16 และ 6 ตุลา 19 ยังมีชีวิตอยู่

และ ตกผลึกกับเหตุการณ์เป็ลี่ยนแปลงในบ้านเมืองมาเหมือนๆกัน

การโต้แย้งทางประวัติศาสตร์ บางทีก็ต้องให้คนรุ่นเดียวกัน สู้กันไป

ตรรกะง่ายๆ คงหลอกได้เฉพาะเด็ก ๆ ที่ไม่อยู่ในเหตุการณ์

โดยทำลืมไปว่า

นายสมัคร สุนทรเวช เคยทำอะไรกับพวกตัวเองไว้...น่าสงสารครับพวกนี้


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ชัย คุรุ เทวา โอม ที่ 14-05-2008, 16:04
5555555555

ถ้าคนอย่าง อ.เกษียร เป๋นพวกเหลี่ยม

งั้นพวกไม่เอาเหลี่ยม คงมีแต่กระทิงแดง นวพล สุตสาย และเมีย(คนทรง)

และสงสัยว่าผมคงเป็นพวก พิสมัยเหลี่ยมเสียเต็มที่เลยละมั้ง 55555555

Logic ที่พันธมิตรบางใน(ในสายผู้จัดการ) กำลังทำ งี่เง่าน่าดู 555555


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ฮูลิแกน ที่ 14-05-2008, 16:43
อย่างน้อยโดยส่วนตัว ผมให้เครดิต เกษียร เตชะพีระ มากกว่าธงชัย พอสมควร
และมากกว่าไอ้หัวโตหลายร้อยเท่า
เพราะแกวิพากษ์ได้หลายมุมมอง ทั้งพวกทักกี้ และก็พวกอนุรักษ์นิยมหรืออมาตยาธิปไตย
ไม่ได้ดักดาน คอยจับผิดแต่กลุ่มอนุรักษ์นิยมฝ่ายเดียว เหมือนไอ้หัวโต

อ้างถึง
งั้นพวกไม่เอาเหลี่ยม คงมีแต่กระทิงแดง นวพล สุตสาย และเมีย(คนทรง)
ทำไมถึงคิดว่าพวกนี้ เค้าจะยืนตรงข้ามกับเหลี่ยมล่ะ?(สมมติว่าถ้ายังมีชีวิตอยู่)
มีใครบ้าง ที่เป็นขวาเก่า(แบบชัดๆ) ในหมู่พันธมิตรเหรอ? สนธิก็ไม่ใช่(แม้จะยืมเอาวิธีแบบขวามาใช้บ้าง)
จำลองก็ขวาแบบไม่ชัดเจน ยิ่งพวกพิภพธงชัย ประพันธ์คูณมี น่ะซ้ายเก่าล้วนๆ
ป๋าเปรมขวาก็จริง แต่ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ปี 19 เลย
ที่แน่ๆ ขวาเก่าอย่างป๋าหมัก ป๋าจืด(คนนี้หายไปไหนแล้วหว่า) เคยเป็นแนวร่วมให้ทักกี้ คับ :slime_o:


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ชัย คุรุ เทวา โอม ที่ 14-05-2008, 16:49
อย่างน้อยโดยส่วนตัว ผมให้เครดิต เกษียร เตชะพีระ มากกว่าธงชัย พอสมควร
และมากกว่าไอ้หัวโตหลายร้อยเท่า
เพราะแกวิพากษ์ได้หลายมุมมอง ทั้งพวกทักกี้ และก็พวกอนุรักษ์นิยมหรืออมาตยาธิปไตย
ไม่ได้ดักดาน คอยจับผิดแต่กลุ่มอนุรักษ์นิยมฝ่ายเดียว เหมือนไอ้หัวโต
ทำไมถึงคิดว่าพวกนี้ เค้าจะยืนตรงข้ามกับเหลี่ยมล่ะ?(สมมติว่าถ้ายังมีชีวิตอยู่)
มีใครบ้าง ที่เป็นขวาเก่า(แบบชัดๆ) ในหมู่พันธมิตรเหรอ? สนธิก็ไม่ใช่(แม้จะยืมเอาวิธีแบบขวามาใช้บ้าง)
จำลองก็ขวาแบบไม่ชัดเจน ยิ่งพวกพิภพธงชัย ประพันธ์คูณมี น่ะซ้ายเก่าล้วนๆ
ป๋าเปรมขวาก็จริง แต่ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ปี 19 เลย
ที่แน่ๆ ขวาเก่าอย่างป๋าหมัก ป๋าจืด(คนนี้หายไปไหนแล้วหว่า) เคยเป็นแนวร่วมให้ทักกี้ คับ :slime_o:

ป่าวหรอกครับ ผมกวนๆคนบางคนในที่นี้ที่แสดงความขวาจัดเล่นๆนะ  :slime_bigsmile:

ไม่ได้เหมาเอาหมด 5555

แค่แสดงตรรกะงี่เง่า เล่นๆ อิอิ


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 15-05-2008, 05:49
จริงๆ ปัจจุบัน มันมีอยู่ 2 พวกเองครับ

คือพวกยอมรับประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

กับพวกประชาธิปไตยเฉย ๆ ( อาจเป็นรูปแบบ ประธานาธิบดี ไปโน่นเลย )

แต่พวกประชาธิปไตยเฉยๆ ก็ไม่เห็นยอมรับความแตกต่าง

ในเมื่อคนส่วนใหญ่ แสดงพลังเสื้อเหลืองให้เห็นหลายครั้งหลายครา

ยังไม่สำนึกอีกแฮะว่า พวกตัวเองน่ะ มันแค่หยิบมือ แต่ดันทำเสียงดัง

มาอ้างสิทธิ์ ในสิ่งที่กฎหมายบัญญัติห้ามไว้

ถ้าไม่ยอมรับความเชื่อของคนส่วนใหญ่ คนส่วนน้อยที่ปลุกปั่นให้เกิดความวุ่นวายก็ต้องรับผิดชอบ

หากจะไปปลุกระดมแบบไม่เอาสถาบัน ก็ต้องไปแก้กฎหมายให้เสร็จก่อน ค่อยมาสู้กัน


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: oho ที่ 15-05-2008, 07:31
ข้อโต้แย้งบางประการ ถึง อ.เกษียร และ อ.สมศักดิ์ ; กรณีปรากฏการณ์จุดชนวน 6 ตุลา โดย ดาวสยาม-ยานเกราะ ยุคใหม่
 
โดย ธงไท เทอดอุดม 10 พฤษภาคม 2551 23:38 น.
 
ด้วยบทความที่ปรากฏในสื่อหลายฉบับโดย อ.สมศักดิ์ เจียมธีรกุล ในประเด็น : ผู้จัดการ-พันธมิตร กำลังก่อกระแส ‘ละคอนแขวนคอ’ ยุคใหม่ เผยแพร่ทางเว็บไซต์ ประชาไท และ ฟ้าเดียวกัน   รวมทั้งการนำเสนอประเด็นดังกล่าวในมติชนรายวันด้วยนั้น สอดคล้องกับบทความของ อ.เกษียร เตะพีระ เรื่อง “อย่าเดินไปสู่ ๖ ตุลาคม” ในมติชนรายวัน ฉบับวันที่ ๙ พฤษภาคมที่ผ่านมา
     
       ในฐานะ ผู้อ่านสื่อ หรือจะในฐานะพลเมืองผู้กระตือรือร้น(Active Citizens) ที่ถูกเนื้อหาบางประเด็นในบทความดังกล่าว กระตุ้นต่อมสำนึกที่เป็นธุระในเรื่องบ้านเมือง ต้องขอใช้สิทธิในการ “เห็นต่าง” กับความพยายามในการจุดกระแสว่า คนอื่นกำลังจุดกระแส ของท่านสองอาจารย์ ดังนี้
       
       ในความเป็นจริงประการหนึ่ง คือ ผมเอง เป็นผู้ร่วมอยู่ในขบวนการ และเหตุการณ์วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ เฉกเช่นเดียวกับอาจารย์ทั้งสอง โดยมีบทบาทหน้าที่ทั้งในความรับผิดชอบทางการเมือง การจัดตั้งในส่วนศิลปวัฒนธรรม รวมทั้ง มีส่วนในการรักษาความปลอดภัยอีกด้วย
       
       เช้าตรู่วันที่ ๖ ตุลาคม เมื่อ ๓๒ ปีก่อน ผมประจำอยู่ในสมรภูมิส่วนหน้าที่ปะทะแลกเลือด แลกชีวิตกับทั้งกระทิงแดง นวพล รวมทั้ง ตชด. อยู่ด้านหน้าตึกนิติ ถอยร่นมายันอยู่หน้าตึก อมธ.เพื่อปะทะประทัง ให้พี่น้องประชาชนหนีออกจากวงล้อมปราบนองเลือดให้มากที่สุด โดยตัวเองได้รับบาดเจ็บ ถูกทำร้าย และถูกจับโยนใส่คุกนครปฐมอยู่สามเดือนกว่า...
       
       ที่ต้องเล่าเรื่องเก่านี้เพื่อบอกว่า ไม่ว่า ดร.เกษียร ดร.สมศักดิ์ จะอยู่ในตำบลแห่งหนไหนในนาทีที่เขารุมฆ่าประชาชนนั้น ผมอยู่แถวหน้าของแนวปะทะตลอด นั่นหมายถึงผมย่อมมี “อารมณ์” เคียดแค้น ชิงชัง ชนชั้นปกครอง โดยเฉพาะ “ศักดินาใหญ่” ที่เราล้วนเชื่อว่าอยู่เบื้องหลังคำสั่งฆ่าประชาชน เช่นเดียวกับอารมณ์โกรธ เกลียด พ.อ.อุทาร และวิทยุยานเกราะ นสพ.ดาวสยามและบางกอกโพสต์ ทมยันตี กิติวุฒโฑ รวมทั้ง นายสมัคร คนนี้ด้วยเช่นเดียวกับท่านอาจารย์ทั้งสอง และขบวนนักศึกษาประชาชนที่ถูกปราบปรามทำร้ายนั้นเช่นกัน...
       
       ความเคียดแค้นในวัยเยาว์นำผมและเพื่อนจำนวนมากเข้าสู่สงครามประชาชน แลกเลือดด้วยเลือด ห้ำหั่นประหัตประหารกันเองอย่างหนักหน่วง ผมได้เข้าร่วมกองทัพปลดแอกและได้ “ฆ่า” ทหาร ตำรวจ และโดยเฉพาะ “ตชด.” กับมือตนเองจำนวนมาก ในระหว่างสงคราม ด้วยความ “สะใจ” ที่ได้สางแค้นแทนเพื่อนที่ตายไปในธรรมศาสตร์เมื่อ ๖ ตุลาคม ๑๙ เป็นการระบายความเคียดแค้นโดยสงครามแลกเลือดแลกชีวิตกันกว่า ๕ ปี ในเขตป่าเขา...
       
       เสียดายที่ อ.เกษียร อ.สมศักดิ์ รวมทั้ง อ.ธงชัย วินิจกุล ไม่มีโอกาสตรงนี้..ที่จะได้ระบายอารมณ์ “เคียดแค้น” ตามสัญชาติญาณดิบของความเป็นมนุษย์ของเราได้มาก....ความอาฆาต ที่คั่งแค้นอัดแน่นจึงไม่ต้องเก็บอัดไว้ในส่วนลึกถึง ๓๒ ปี ที่ท่านยังเก็บรับเหตุการณ์ ๖ ตุลา ไว้ในอารมณ์ที่เหมือนเพิ่งผ่านมาเมื่อวานนี้ ในขณะที่ผมระลึกถึงด้วยการคำนึงถึงในอนุสติที่เตือนใจและตรองความคิดทุกครั้งที่คิดถึง มิได้อัดแน่นด้วยอารมณ์คั่งแค้นที่เก็บอัดไม่มีทางระบายออก จนเปี่ยมล้นในงานวิชาการของ อ.สมศักดิ์ และ อ.ธงชัย ที่ยังจ้อง “เล่น” โจทย์เก่าอย่างต่อเนื่องด้วยงานวิชาการที่ห่อหุ้มด้วยอารมณ์ความรู้สึกส่วนลึกตลอดระยะ ๓๒ ปีที่ผ่านมา....
       
       ต้องขอโทษที่บังอาจวิเคราะห์ทางจิต จี้จุดต่อมใต้สำนึกของท่านอาจารย์ที่เปี่ยมวรยุทธ์ในวงวิชาการยิ่งนัก หากชี้ผิดไปก็ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้
       
       ประการที่สอง ในเนื้อหาการจุดกระแสของท่านทั้งสอง ว่ามีผู้จุดกระแสคล้ายคลึงก่อนเกิดเหตุการณ์ ๖ ตุลา นั้น ผมมีความเห็นว่า หากเทียบเคียงรูปแบบหรือใช้ตรรกะศาสตร์มาเทียบเคียงปรากฏการณ์หนึ่ง กับ หนึ่ง นั้นดูเหมือนใช่ ดูเหมือนเป็นเรื่องเดียวกัน ดูเหมือนดาวสยาม กับ ผู้จัดการ จะเป็นเรื่องเดียวกัน ดูเหมือนขบวนนวพล-กระทิงแดง จะเหมือน ขบวนพันธมิตร เช่นนั้นฤา? แล้วตัวละครอย่าง เนวิน ประชา กับม็อบถ่***โชว์กระจู๋หน้า ธรรมศาสตร์ วันนั้น เทียบเคียงกับกลุ่มใด บุคคลใดในอดีตได้เล่า ? เขาคือ ขบวนนิสิต นศ.ประชาชน ผู้ต่อต้านการกลับเข้ามาของถนอม เช่นนั้นฤา ? ดูว่า ตรรกะของ อ.สมศักดิ์ จะพิลึกพิลั่นอยู่กระมัง
       
       ประการที่สาม หากพิจารณาการจุดกระแสของ อ.สมศักดิ์ ว่าการเคลื่อนไหวต่อต้านขบวนการหมิ่นฯ ของเครือผู้จัดการและขบวนพันธมิตรนั้น เป็นเรื่องเดียวกันกับขบวนปลุกปั่นยุยงให้สังคมเกลียดชังนักศึกษาเมื่อวันที่ ๕ ตุลา ๑๙ ได้ โดยเฉพาะกรณีการใช้รูปที่ใช้เทคนิคตกแต่งภาพให้ดูเหมือนพระบรมวงศานุวงศ์ในหนังสือพิมพ์ดาวสยาม ดูเหมือนจะเป็นปรากฏการณ์เดียวกับที่สื่อในเครือผู้จัดการ ออกมาอัดขบวนการหมิ่นฯ กรณีโชติศักดิ์ กรณีเว็บประชาไท-ฟ้าเดียวกัน กรณีใบปลิว และอื่นๆ นั้น คงเป็นการใช้ตรรกะ ของ อ.สมศักดิ์ ที่ขาดน้ำหนักในการพิจารณาเนื้อแท้ของปรากฏการณ์ทั้งสองยุคนั้นว่ามีส่วนที่เหมือนและต่างกันเช่นใด
       
อ้างถึง
       กล่าวคือ[/size] การจุดกระแสด้วยกรณีหมิ่นฯ ของดาวสยาม-ยานเกราะ โดยใช้รูปเหมือนที่ใช้เทคนิคตกแต่งภาพ เมื่อ ๖ ตุลา ๑๙ นั้น เป็นเรื่องจอมปลอมที่หลอกลวงสังคม     ผมรู้จักอภินันท์ ดี และอยู่ในเหตุการณ์ที่ต้องเลือกเขาไปแขวนคอในละคอนการเมืองเทียบเคียงกับการฆ่าแขวนคอกรรมกรที่นครปฐมนั้นเพราะเขาเป็นคนตัวเล็กใช้ผ้าขาวม้ามัดเป็นเทคนิคได้ มิใช่เพราะเขาหน้าเหมือนเจ้านายพระองค์ใด หรือเป็นความจงใจจะทำการหมิ่นฯ ข้อนี้สามสิบปีที่ผ่านมาสังคมก็เรียนรู้และประจักษ์ชัด อ.เกษียร และ อ.สมศักดิ์ ก็ย่อมต้องเข้าใจอย่างแท้จริงในเจตนาว่าตั้งใจหมิ่นฯ หรือไม่หมิ่นฯ เทียบเคียงกับกรณีโชติศักดิ์ ที่ทั้ง อ.เกษียร อ.สมศักดิ์ รวมทั้ง อ.ธงชัย รู้จักดีทั้งฐานะลูกศิษย์ที่ซึมซับวิธีคิดและอารมณ์เคียดแค้นพยาบาท “เจ้า” ในจิตใต้สำนึกของท่านทั้งหลายที่สืบสานยังผู้เชื่อมั่นและศรัทธาในตัวท่าน และ กรณีโชติศักดิ์นั้น เจ้าตัวตั้งใจอย่างยิ่งที่จะไม่ยืนเคารพเมื่อเปิดเพลงสรรเสริญในโรงภาพยนตร์ รวมทั้งการทำแคมเปญ ไม่ยืน ไม่หมิ่น คิดต่าง มิใช่อาชญากร ทั้งในการทำเสื้อรณรงค์สวมใส่ในกลุ่มพวกหรือการรับลูกของเว็บไซต์ประชาไทและฟ้าเดียวกัน ที่ท่าน อ.สมศักดิ์ เป็นผู้มีบารมีใกล้ชิดกันอยู่แล้วมิใช่หรือ?
       
       การที่ อ.สมศักดิ์ จุดกระแส โจมตีผู้อื่นว่าจุดกระแส ๖ ตุลา จึงเป็นความไม่ถูกต้อง เพราะเนื้อแท้ของปรากฏการณ์ที่ดูเหมือนกันนั้น แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง และผมยังตั้งข้อสังเกต อ.สมศักดิ์ ว่าคนในระดับท่านนั้นเชี่ยวชาญการเมืองและแม่นยำเหตุการณ์ทั้งยังเก่งในการใช้ตรรกะเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้อ่านหรือสังคมคล้อยตามตรรกะของท่านได้บ่อยๆ นั้น จะไม่รู้จริงๆ หรือว่า
การใช้กรณีหมิ่นฯ เป็นเหตุโจมตีทางการเมืองของทั้งสองกรณีนั้นไม่เหมือนกัน เมื่อสามสิบสองปีก่อนนั้นของปลอม แต่ พ.ศ.นี้ “ของจริง”   แต่ที่ท่าน อ.สมศักดิ์ดูเปรียบเทียบเลอะเลือนเช่นนี้ ก็เป็นเพราะความจงใจในการบิดเบือนข้อเท็จจริงเพื่อปกป้อง “โชติศักดิ์” และขบวนของเขา รวมทั้งกลุ่มความคิดฟ้าเดียวกัน ที่ท่านใกล้ชิด และมีอิทธิพลทางความคิดต่อเด็กๆ เหล่านี้ยิ่งนัก?      ....ว่ากันว่า คนกลุ่มนี้ศรัทธาท่านทั้งสามยิ่งนัก เท็จจริงประการใด วานบอก...

     
       นี่เรายังไม่ได้โต้แย้งในเรื่องที่ ท่าน อ.สมศักดิ์ กล่าวแก้ต่างแทนกลุ่มคิด “ปฏิญญาฟินแลนด์” ว่าเป็นเรื่องไร้สาระ   คงต้องแนะนำให้ อ.สมศักดิ์ ไปค้นที่มาที่ไปในเรื่องนี้ให้ชัดก่อน ย้อนไปดูบทสัมภาษณ์ของ อมร และหาโอกาสไปคุยกับคนวงในอย่างพี่มิ้ง พี่เกรียง พี่อ้วน..ก่อนก็ได้ การเขียนบทความตัดสินบางเรื่องว่าไร้สาระโดยอัตวิสัยนั้นหาใช่คุณสมบัติที่ดีของนักวิชาการนะครับ หรือให้รีบกลับไปอ่านบทความเรื่อง Republics ของปราชญ์สยามตัวจริง อ.ชัยอนันต์ ก็ได้ อ.สมศักดิ์จึงจะได้เรียนรู้เรื่องราวการเมืองในเบื้องลึกได้ลึกซึ้งกว่าที่ผายลมผ่านบทความของตนเช่นนั้น
       
      ส่วนประเด็นที่ อ.เกษียร เรียกร้องไม่ให้ใช้กรณีหมิ่นฯ และสถาบันกษัตริย์   เป็นเครื่องมือทางการเมืองทำลายฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง และเตือนว่าอย่าเดินไปสู่ ๖ ตุลาฯ นั้น น่าจะเป็นข้อกังวลร่วมกัน เพียงแต่ผมเห็นว่า อ.เกษียร น่าจะหันปลายปากกาไปเตือน “โชติศักดิ์” และพวก ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของ อ.เกษียณเอง ว่าไม่ควรทำอะไรที่ “อ่อนหัด ไร้เดียงสา และฉวยโอกาสเอียงซ้าย” แบบสุดๆ เช่นนี้อีก เพราะสิ่งที่ลูกศิษย์ท่านทำการ “ห่ามๆ”เช่นนี้ รังจะเป็นผลร้ายต่อขบวนประชาธิปไตย เป็นเงื่อนไขให้ทหารทำรัฐประหาร และเผด็จการ หรือการปราบปรามประชาชนก็จะตามมา เด็กเมื่อวานซืนอย่างโชติศักดิ์และพวกมองไม่เห็นหรอกว่า คำว่า “หายนะ” นั้นสะกดอย่างไร ต้องเป็นธุระของคนในรุ่นเราที่ผ่านเหตุการณ์เลวร้ายนั้นต้องชะลอความแรงของคนรุ่นหนุ่มเช่นนี้ มิใช่ให้ท้ายส่งเดชอย่างที่ อ.สมศักดิ์ ทำอยู่
       
       สุดท้าย ฝากถึง อ.ธงชัย ที่อยู่แดนไกล ด้วยว่า น่าจะพบธรรมของพระพุทธองค์ได้แล้ว ทั้ง อ.สมศักดิ์ด้วย เลิกอาฆาตพยาบาทได้แล้ว เพื่อสติปัญญาเหนือคนอย่างพวกท่านทั้งสามจะได้เกิดประโยชน์แก่สังคมได้ด้วยไม่เจือปนโมหะจริตอยู่อย่างที่เป็นอยู่นี้ เลือดต้องล้างด้วยเลือดตามเนื้อเพลงที่จิตร ภูมิศักดิ์ แต่งไว้นั้น  ในชีวิตจริงผมผ่านมาแล้วด้วยชีวิตแลกชีวิตด้วยมือตนเอง ผมผ่านมาหมดแล้ว ผมพอแล้ว ... กรรมใดใครก่อก็ต้องพบกรรมตามสนอง..นี่สิของจริง....

 ***************************************************
http://www.sameskybooks.org/board/index.php?showtopic=8015&st=0 (http://www.sameskybooks.org/board/index.php?showtopic=8015&st=0)
เว็บฟ้าเดียวกัน
 :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: oho ที่ 15-05-2008, 07:43
http://www.prachatai.com/05web/th/home/page2.php?mod=mod_ptcms&ContentID=2506&SystemModuleKey=HilightNews&System_Session_Language=Thai (http://www.prachatai.com/05web/th/home/page2.php?mod=mod_ptcms&ContentID=2506&SystemModuleKey=HilightNews&System_Session_Language=Thai)
http://www.prachatai.com/05web/th/home/page2.php?mod=mod_ptcms&ContentID=2506&SystemModuleKey=HilightNews&System_Session_Language=Thai

(http://www.prachatai.com/05web/images/head_02.jpg)
(http://www.prachatai.com/05web/images/head_04.jpg)
(http://www.prachatai.com/05web/images/head_08.jpg)
เกษียร เตชะพีระ : “ความอิจฉาเป็นบ่อเกิดแห่งความเสมอภาค”   
 
(http://www.prachatai.com/05web/upload/HilightNews/library/200602/20060210-13.gif)

เขาให้คำจำกัดความชนชั้นกลางแบบไม่ค่อยน่าไว้วางใจเท่าไหร่ พร้อมพูดถึงความรักชาติด้วยอาการอิหลักอิเหลื่ออย่างยิ่ง แต่ในภาวะไม่เอาทักษิณ และภาพของการชุมชุมวันที่ 4 ก.พ. ที่ผ่านมา ทำให้ ‘ประชาไท’ อดนึกถึงเขาไม่ได้

 

คำอธิบายของเขาคล้องจองกันไปกับท่าทีของฝ่ายองค์กรภาคประชาชนในประเด็นที่ว่า ทักษิณไม่ใช่ปัญหาประการเดียวของแผ่นดิน แต่มีอะไรบางอย่างที่ใหญ่กว่าทักษิณ คำอธิบายจากนั้นคือความแตกต่าง เขาไม่ได้พูดถึงระบอบทักษิณ แต่พูดถึงโลกาภิวัตน์ของเสรีนิยมใหม่ที่การแปรรูปประเทศเป็นภาวะสากลของโลก อย่างนั้นแล้ว กระบวนการขับไล่นายกฯ จะตอบปัญหานี้อย่างไร

 

‘ประชาไท’ สัมภาษณ์ รศ.ดร. เกษียร เตชะพีระ ในช่วง 11.00 น. ของวันที่ 8 ก.พ. 2549 ไม่กี่ชั่วโมง ก่อนหน้าสนธิ ลิ้มทองกุล แกนนำคนสำคัญของการชุมนุมวันที่ 4 ก.พ. จะประกาศเปิดทางให้องค์กรภาคประชาชนรับช่วงนำการเคลื่อนไหวขับไล่นายกฯ จึงยังมีบางส่วนของคำสัมภาษณ์ที่แสดงความห่วงใยในสถานการณ์วัน 11 ก.พ. ที่จะถึงในบริบทแบบเดิม (สนธิ vs ทักษิณ)

 

อนึ่งไม่ว่าคุณจะเป็นคนขี้อิจฉาหรือไม่ แต่กับเงิน 73,000 ล้านที่ครอบครัวนายกฯได้จากการขายหุ้นโดยไม่ต้องเสียภาษีสักบาท คุณควรอิจฉาเอาไว้นะ เพราะเกษียร เตชะพีระเขาบอกว่า ความอิจฉาจะนำมาซึ่งความเสมอภาค

 

อาจารย์เคยอธิบายเรื่องชนชั้นกลาง ที่จะเลือกเอาผู้นำที่ทำให้ตัวเองมั่นคงปลอดภัยทางเศรษฐกิจไว้ก่อน ขบวนการม็อบขับไล่นายกฯ จะไปเข้าอีหรอบเดิมไหม จะเป็นเหมือนกบเลือกนายหรือไม่

ขอพูดเป็น 3 ชั้นนะ เพราะเรื่องนี้เรื่องใหญ่

 

ชั้นที่หนึ่ง เรื่องกบเลือกนาย ผมคิดว่าคำพูดคำนี้มันหยุดการคิด และที่สำคัญมันสะท้อนความจริงบางอย่าง ในความหมายแบบนี้ว่า สิ่งที่น่าเศร้าที่สุดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบัน ถ้า 1. มันนำไปสู่การสูญเสียชีวิตจากความขัดแย้งครั้งนี้ 2.ได้แค่เปลี่ยนตัวประธานในการ privatize (แปรรูป) รัฐชาติไทย จากคุณทักษิณเป็นคนอื่น โดยที่โปรเจ็คท์ privatize รัฐชาติไทยยังเป็นแบบเดิม อันนี้น่าเศร้าที่สุด

 

ผมยังเข้าใจว่า ตอนนี้ความเข้าใจของมหาชนทั่วไปมันหยุดอยู่แค่นี้ ปัญหาที่เป็นรากเหง้ามันใหญ่เสียจนกระทั่ง แค่เปลี่ยนตัวทักษิณเป็นคนอื่นนั้นมันไม่แก้อะไร

 

ปัญหามันใหญ่เสียจนกระทั่ง....ด้วยความเคารพ มีคุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา 100 คน มีความถูกกฎหมาย สุจริต ไม่มีความฉ้อฉลอะไรทั้งสิ้น ปัญหาก็ยังเกิดอยู่ดี (หัวเราะ) เพราะปัญหามันใหญ่มากเลย แต่ตอนนี้มันถูกรวบความเป็นว่า เปลี่ยนตัวประธานกระบวนการทั้งหมดก็แล้วกัน แล้วเอาแบบสะอาด ไม่มีคอร์รัปชั่น ถูกกฎหมายทุกอย่าง สุจริตเต็มร้อย แล้วทุกอย่างจะดี ไม่ใช่เลยครับ

 

สำหรับผมแล้ว สิ่งที่น่ากลัวในการเคลื่อนไหวขับไล่นายกฯ มี 2 ข้อคือ 1. มีคนตายจากความขัดแย้งครั้งนี้ 2. ‘ได้แค่นี้’ ซึ่งผมก็กลัวคือ มันจะได้แค่นี้จริงๆ

 

ชั้นที่ 2 ผมคิดว่าชนชั้นกลางกำลังแสดงความรักชาติ ซึ่งถ้าพูดจากจุดยืนของคนชั้นล่าง มันเป็นชาติที่ไม่น่ารักเท่าไร เพราะมันเป็นชาติที่เกิดจากการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแบบไม่เสมอภาค

 

ชาติที่คนชั้นกลางรัก เป็นชาติที่ไฟฟ้าถูก แต่ไฟฟ้ามันถูกก็เพราะมันไปปล้นเอาแม่น้ำเขามา ปล้นเอาสิ่งแวดล้อมเขามา หรือพูดง่ายๆ มันเป็นชาติที่เขาอยู่บนความได้เปรียบพอสมควร ได้เปรียบธรรมชาติ ได้เปรียบชาวบ้านข้างล่าง นี่คือชาติที่คนชั้นกลางรักมากเลย

 

ผมคิดว่าปัญหาที่คนชั้นกลางลุกขึ้นมาต่อต้านทักษิณ เพราะทักษิณคุกคามความเป็นอยู่ของชาติในความหมายนี้ ซึ่งพูดถึงจุดยืนแล้ว ผมไม่ชอบชาติในความหมายนี้เลย มันเป็นชาติที่มีปัญหามาก แล้วก็ที่ผ่านมาก็ทะเลาะกันแย่งชาติแบบนี้แหละ

 

แต่แม้กระทั่งชาติแบบนี้ เราก็ยังรู้สึกว่าถูกคุกคาม เพราะอะไร เพราะทักษิณดำเนินกระบวนการเปลี่ยนแปลงแบบโลกาภิวัตน์เสรีนิยมใหม่ แบบที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่มทุนของเขา ต่อพวกพ้องของเขา ซึ่งมันไปคุกคามความมั่นคงในชาติที่น่ารักของคนชั้นกลาง ไฟฟ้าแพงเหรอ น้ำมันแพงเหรอ อย่างนี้แปลว่าอะไร ตลาดหุ้น... บางคนได้เปรียบ กูเสียเปรียบเหรอ

 

สินเชื่อราคาถูก ตลาดหุ้น บริโภคนิยม นี่คือ 3 สถาบันหลักของคนชั้นกลาง ซึ่งตอนนี้มันกำลังถูกคุกคาม ตลาดหุ้นก็ฉ้อฉล มันไม่แฟร์นี่หว่า สินเชื่อตอนนี้ดอกเบี้ยก็เริ่มสูงแล้ว บริโภคนิยมชักจะทำงานไม่ได้แล้ว ภายใต้สภาพที่ข้าวของเริ่มแพง ดังนั้น คนชั้นกลางจึงต้องแสดงความรักชาติ

 

ชั้นสุดท้าย เป็นปัญหาที่ใหญ่มาก ซึ่งผมรู้สึกว่ายังไม่มีใครเสนออะไรเลย แล้วคนที่ทำให้ผมนึกถึงอันนี้คือ อาจารย์เสกสรรค์ (ประเสริฐกุล) คือพูดให้ถึงที่สุด มันเป็นกระบวนการที่โลกาภิวัตน์เสรีนิยมใหม่กำลังเข้ามาเปลี่ยนรัฐชาติไทย โดยตรรกะของมัน เป้าหมายสูงสุดก็คือ privatize (แปรรูป) รัฐไทย ซึ่งคุณทักษิณ บังเอิญ มาเป็นประธานดูแลบริหารกระบวนการนี้อยู่ โดยทำอย่าง Aggressive (ก้าวร้าว) มาก และรับเหมาคนเดียว ไม่เอื้อประโยชน์ต่อกลุ่มทุนอื่น ไม่เอื้อประโยชน์ต่อคนชั้นกลางเท่าที่ควร อันนี้เป็นเหตุให้คนจำนวนมากรู้สึกว่าท่านสูญเสียความชอบธรรม

 

แต่ถามว่าเขาตั้งคำถามกับกระบวนการนี้ทั้งกระบวนไหม ผมคิดว่าไม่ ซึ่งมันน่าเศร้า เพราะมันหมายความว่าต่อให้เอาเขาออกไป คนใหม่เข้ามาก็จะนั่งเป็นประธานกระบวนการนี้ต่อ เพียงแต่จะก้าวร้าวขนาดนี้ไหม จะไม่ฟังคนอื่นขนาดนี้ไหม ทำเอฟทีเอ เมกะโปรเจ็คท์ เอาน้ำให้บริษัทนั้น บริษัทนี้ นี่มันเป็นฟังก์ชั่นของรัฐชาติ แล้วคุณก็ privatize ให้บริษัททั้งหลายทำ คือตรรกะมันง่ายมาก พอทำให้ของส่วนรวมกลายเป็นของส่วนตัว จะขายให้ใครก็ช่างเขา แต่ถ้าเขาขายให้ต่างชาติก็จบ คุณเปิดประตูแปรรูปแล้วจะห้ามต่างชาติเข้ามามันยากมาก ทักษิณเพียงแต่เป็นผู้ดำเนินตามตรรกะนี้ไปให้ถึงที่สุด

 

หากปัญหาของประเทศคือโลกาภิวัตน์เสรีนิยมใหม่ ถ้ามองจากมุมของทักษิณก็ย่อมไม่มีใครสมควรขึ้นมาเป็นประธานในการแปรรูปประเทศได้ดีกว่าตัวทักษิณเอง เพราะเขาคือกลุ่มทุนใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ย่อมต้องปกป้องตัวเองได้ดีกว่าจะให้คนอื่นมาปกป้อง

ใช่ ถ้ามองจากมุมคุณทักษิณ เขาควรจะดูแลกระบวนการทั้งหมด แต่กระบวนการแปรรูปประเทศนั้นส่งผลกระทบต่อคนเยอะมาก และมีกลุ่มคนที่ไม่ได้ผลประโยชน์จากการแปรรูปประเทศครั้งนี้เลย กลุ่มทุนอื่นๆ ที่อยากจะร่วมกระบวนการนี้ไม่ได้ประโยชน์ คนที่เสียต้องประโยชน์โดยตรงจากการแปรรูปประเทศโดยไม่ได้ประโยชน์อะไรเลยก็มีมาก

 

ม็อบที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วนี้ จะทำให้คนที่เข้าร่วมซึ่งหลากหลายมาก ได้เรียนรู้เพิ่มเติมได้ไหมว่าปัญหาที่แท้จริงคืออะไร

ไม่ได้ ไม่พอ ฟันธงเลย แต่ว่าก็ทำไปจนสุดความสามารถที่จะทำให้เห็นประเด็นที่กว้างและมากไปกว่าตัวบุคคล นี่คือเรื่องใหญ่ ผมก็ไม่รู้ว่าจะทำได้หรือเปล่า แต่ในทางกลับกัน คุณทักษิณก็เป็นตัวบล็อกในการเปลี่ยนระบบอยู่ การจะบอกว่าปัญหาอยู่ที่ระบบ ไม่ใช่บุคคล อย่าไปล้มทักษิณเลยมันก็ไม่ใช่ เพราะการที่คุณทักษิณอยู่ตรงนั้นมันก็ไปบล็อกการเปลี่ยนแปลง แกนั่งเป็นประธานกระบวนการ privatize แล้วแกดันดำเนินกระบวนการแบบที่ antagonize (เป็นศัตรู) คนจำนวนมากที่อยากจะอยู่ในกระบวนการนี้ด้วย แกกลับดำเนินการไปในลักษณะที่แกได้คนเดียว และมันไปสั่นคลอนความมั่นคงของกลุ่มทุนกลุ่มอื่น ในความหมายนี้มันจึงมีเหตุผลที่คนจะไม่รับ และต้องปลดบล็อกตรงนี้ นี่ยังไม่ต้องพูดถึงหลักรัฐศาสตร์ทั่วไปนะว่าที่แกทำมันก็ไม่ชอบธรรม

 

อย่างนั้นแล้วคำถามที่ชาวไทยรักไทย หรือหลายๆ คนถามว่า ไม่เอาทักษิณ แล้วจะเอาใคร ก็ไม่ใช่คำถามที่จำเป็น เพราะไม่ว่าใครขึ้นมาก็คงคล้ายๆ กันใช่ไหม

ประเทศที่สามารถรับผลกระทบของโลกาภิวัตน์แล้ว ชะตากรรมดีหน่อยก็คือ ประเทศที่ใช้อำนาจรัฐบริหารจัดการโลกาภิวัตน์อย่างเป็นตัวของตัวเอง ใช้อำนาจรัฐบริหารจัดการโลกาภิวัตน์แบบคำนึงถึงผลประโยชน์ของคนกลุ่มใหญ่ และผลกระทบของคนกลุ่มน้อย

 

มีตัวอย่างไหม

อันนั้นเป็นหลักการทั่วไป ถ้าดูแลตรงนั้นก็จะเป็นโลกาภิวัตน์ที่เอื้ออาทร เป็นคุณต่อคนตัวเล็กตัวน้อยหน่อย มีเกราะคุ้มกัน และมีอำนาจต่อรอง ไม่สูญเสียทรัพยากร ถ้ายึดตรงนี้เป็นเกณฑ์ คุณทักษิณก็ตก เพราะในกระบวนการตรงนั้นเขาไม่ได้ดูแลคนเล็กคนน้อย ที่แย่กว่านั้นคือ เขาได้ประโยชน์มากกว่าคนอื่น แบบน่าเกลียดด้วย (หัวเราะ)

 

ในความหมายนี้เราก็ต้องเปลี่ยนตัวประธานผู้บริหารจัดการ เพราะอยู่ภายใต้แก แกก็ไม่ค่อยฟังใคร ด้วยความเป็นอำนาจนิยมของแก มันยิ่งทำให้กระบวนการนี้เลวยำยำขึ้นไปอีก ด้วยความคับแคบ ไม่ให้คนอื่นเข้าร่วมกระบวนการ

 

จริง ๆ แล้วก็ไม่มีใครที่จะเป็นหลักประกันว่าขึ้นมาเป็นประธานในการแปรรูปประเทศแล้วจะเฉลี่ยให้เท่าเทียมกัน

ก็ต้องสร้างอำนาจต่อรองของประชาชนขึ้นมา ปัญหาของคุณทักษิณคือ ความคับแคบในการทำงาน ไม่เปิดกว้าง

 

หมายความว่าถ้าทักษิณเปลี่ยนท่าที ฟังมากขึ้น เฉลี่ยผลประโยชน์มากขึ้น ก็โอเคใช่ไหม

ผมคิดว่าแกพูดอย่างนี้แล้วก็ทำตรงข้ามเสมอ ที่แกเสียตอนนี้ ไม่ใช่แกเสียท่า หรือเสียทีนะ แต่แกเสีย Trust แกเสียความไว้วางใจจากผู้คนไปแล้ว ตอนนี้ลำบากแล้ว

 

หรือเป็นเพราะคุณทักษิณทำไม่เนียน

แกพยายามเนียนแล้ว ปากแกไม่ดีเท่านั้นเอง ผมว่าแกก็คิดไม่ถึงว่า แกขายหุ้นแล้วคนจะด่ากันทั้งเมือง ดูแกช็อก

 

สรุปว่า แม้อาจารย์จะมองว่าปัญหาที่เราเผชิญอยู่ไม่ได้อยู่ที่ตัวคุณทักษิณเท่านั้น แต่ในเบื้องต้นคุณทักษิณควรลงจากตำแหน่งประธานในการแปรรูปประเทศก่อน

ครับ แต่จริงๆ ผมสงสารลูกแกนะ แกเป็นคนรักลูกมาก แล้วแกก็ไม่อยากให้การเมืองไปทำร้ายครอบครัวแก แต่ผมรู้สึกว่าสิ่งที่เกิดขึ้น ผลที่แกทำ มันนำไปสู่ผลตรงข้ามกับที่แกต้องการ กลายเป็นว่าลูกแกต้องมาเกี่ยวข้องกับปัญหาต่างๆ ด้วย น่าสงสาร

 

อาจารย์รังสรรค์ (ธนะพรพันธุ์) เคยบอกว่า สิ่งที่ตรงข้ามกับเสรีนิยม ก็คือชาตินิยม แล้วการที่จะสู้กับเสรีนิยม ก็ต้องยกชาตินิยมขึ้นมา ซึ่งมันก็ sensitive ไม่น้อยว่ามันจะออกมายังไง

น่าคิดมากเลยว่า ประเด็นที่ถูกชูในการเคลื่อนไหวก็เป็นเรื่องการขายชาติ กู้ชาติ พรรคประชาธิปัตย์ก็มีคำ ทุจริต ผิดกฎหมาย ขายชาติ ตั้งเสียคล้องจองสวยหรู แต่ที่มันพรางอยู่ข้างในก็คือ มันยังตกลงกันไม่เรียบร้อยเลยนะเรื่องชาติ มันยังเอารัดเอาเปรียบกันเองอย่างมาก

 

ในเมื่อมันยากหรืออาจจะสายเกินไปที่จะต้านโลกาภิวัตน์เสรีนิยมใหม่ เราก็แปรรูปไปเลยพวกรัฐวิสาหกิจ น้ำ ไฟ อะไรต่างๆ ให้เกิดการแข่งขันแท้จริงเพื่อประโยชน์ของผู้บริโภคตามทฤษฎีของนักเศรษฐศาสตร์ เพราะทุนก็ไม่มีสัญชาติอยู่แล้ว

ประการแรก ไม่เคยมีที่ไหนในโลกที่เปิดเสรีแล้วไม่ได้แข่ง แต่ก็ไม่เคยมีที่ไหนที่เปิดแล้วไม่โดน dominate (ครอบงำ) ไม่เกิดการฉ้อฉล เพราะพื้นที่การเมืองมันไม่เคยเป็นพื้นที่ในฝันของนักเศรษฐศาสตร์คลาสสิกสักที่หนึ่งเลย นี่เมืองไทยนะครับ มันไม่มี เปิดเต็มที่แล้วจะเกิดการแข่งขันเสรีแล้วได้ประโยชน์สูงสุดมันไม่เกิดหรอก

 

ประการที่ 2 มันไม่มีหลักประกันเลยว่า ถ้ากระบวนการ privatization เข้ามาแล้วมันจะดูแลคนที่ไม่มีอำนาจซื้อ เมื่อทุกคนกลายเป็นผู้บริโภค บัตรประชาชนโยนทิ้งน้ำได้เลย เอาเครดิตการ์ดมาโชว์ดีกว่า ประเทศอื่นเวลาโดนแบบนี้ก็ฉิบหายหมดเลยนะ

 

ก็เมื่อใครขึ้นมาเป็นนายกฯ ก็ต้านเสรีนิยมใหม่ไม่ได้ อย่างนั้นแล้วประเทศเรากำลังจะก้าวไปสู่อะไร

แต่ก่อนนี้ในนามของชาติ เรามีความเชื่อว่ามันจะปกป้องคนข้างหลังรั้วนั้นได้อย่างค่อนข้างเสมอภาคกัน ประสบการณ์มันก็เป็นอย่างนั้น แต่มันก็มีคนขายชาติอยู่ มีคนรังแกชาติอยู่ มาถึงตรงนี้มันมีการถอนรื้อรั้วนี้ทิ้ง ทีนี้คนที่เคยได้ประโยชน์จากรั้วนั้นบ้าง คือ คนตัวเล็กตัวน้อย เขามีความรู้สึกว่า ถ้าไม่มีรั้วแล้วจะมีอะไรให้เขา มันก็มีเหตุผลนะครับที่เขาจะรู้สึกว่าเขาจะรักชาติ มีเหตุผลที่จะรู้สึกว่าในพื้นที่ตลาดเสรี คนอย่างเขาแข่งไม่ได้ และเขาจะไม่ได้อะไรเลย แม้ว่าพื้นที่ตลาดเสรีนั้นจะมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือแม้ว่าพื้นที่ตลาดเสรีนั้นจะมีการแข่งขันกันอย่างสมบูรณ์ เพราะเขาไม่มีต้นทุนจะไปแข่ง

 

ตามตรรกะของตลาดเสรีก็จะบอกว่าคุณก็เป็นผู้แพ้สิ เอาอย่างนี้แล้วกัน เดี๋ยวเราจะดูแลให้ 30 บาทรักษาทุกโรค อะไรก็ว่าไป และนั่นคือสิ่งที่ทำเพื่อรองรับประชากรส่วนเกิน คนที่ไม่มีคุณค่าในตลาด

 

โครงการ 30 บาท ไม่ได้เป็นจุดเริ่มต้นของการเดินไปสู่รัฐสวัสดิการ ที่เก็บภาษีสูงๆ แล้วเอามาเฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุขกันหรอกหรือ

เราเพิ่งจะไม่เก็บภาษีเศรษฐีที่รวยที่สุด ไม่ใช่เหรอ แหม ทำเป็นลืม ถ้าคนๆ หนึ่งขายหุ้นไปเกือบแสนล้านแล้วไม่ต้องจ่ายภาษีเลย...คร่อก

 

อย่างไรก็ตาม ช่วงที่กรณีขายหุ้นชินคอร์ปยังไม่ถูกต่อต้านแรงขนาดนี้ มีการทำโพลล์ออกมาถามว่านายกฯ จำเป็นต้องเสียภาษีไหม ตั้ง 20 กว่าเปอร์เซ็นต์ ตอบว่าไม่จำเป็น

ก็คุณนึกดู สิ่งที่รัฐทำกับคุณมาทั้งชีวิต นึกดู ปัญหาภาคใต้ รีดไถ ฯลฯ แล้วคุณก็ต้องเสียให้มัน คุณอยากเสียภาษีไหม นี่เป็นรัฐที่บริการคุณดีหรือ นี่เป็นรัฐที่เป็นธรรมกับคุณหรือ ทั้งที่ไม่อยากเสีย เพราะมันบริการคุณแย่มาก

 

แต่ว่าความรู้สึกของชนชั้นกลางต่อกรณีคุณทักษิณก็คือ “เราไม่อยากเสียภาษียังมีเหตุผล แต่คุณทักษิณไม่มีเหตุผล มึงรวยกว่ากู” อย่าลืมว่า ความเสมอภาคมันเริ่มต้นด้วยความอิจฉานะ ความเสมอภาคมันเริ่มต้นจากการอิจฉารวมหมู่ การใช้ความอิจฉารวมหมู่ไปในทางสร้างสรรค์จะเป็นเส้นทางไปสู่ความเสมอภาค

 

ฉะนั้นกระบวนขับไล่ทักษิณนั้นก็คือการใช้พลังอิจฉารวมหมู่ไปในทางสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดระบอบที่เป็นธรรม ที่คุณทักษิณพูดก็ถูกนะ อิจฉานี่ โห ทำไมจะไม่อิจฉาล่ะ ถ้าผมเป็นคุณรักเกียรติ สุขธนะ (อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขที่ถูกพิพากษาจำคุกเนื่องจากกรณีทุจริตจัดซื้อยา-ประชาไท) ผมก็อิจฉา แหม กูโกงนิดเดียว จับกูติดคุก

 

อาจารย์บอกว่าม็อบขับไล่นายกฯ เป็นม็อบที่ชนชั้นกลางแสดงความรักชาติแบบชนชั้นกลาง แต่ก็มีคนระดับล่างที่ได้รับผลกระทบมาร่วมไม่น้อย

คนเหล่านั้น ผมคิดว่าเขาได้รับผลกระทบโดยตรงจากโปรเจ็คท์ในยุคโลกาภิวัตน์ ฉะนั้น มันมีแนวร่วมหลายขบวน แต่ก็อย่างว่า ชาติของคนชั้นกลางมันก็ยืนอยู่บนหลังของคนชั้นล่างที่จับมืออยู่กับเขานี่แหละ มันฝันเห็นชาติกันคนละชาติ แต่ความต่างของชาติที่ถูกคุกคามแบบของชนชั้นกลาง กับชาติที่ถูกคุกคามของคนชั้นล่าง มันถูกเกลื่อนกลบให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ด้วยการถวายคืนพระราชอำนาจ พอพระองค์ปรากฏ ความต่างที่สำคัญที่สุดหายไป ความเหมือนกันที่สุดก็กลายเป็นความต่างได้ โลกอุดมการณ์ทางการเมืองมันมีของพวกนี้อยู่

 

แต่ประเด็นการเคลื่อนไหวก็ดูจะเคลื่อนไปทางอื่นแล้ว เช่น การเรียกร้องปฏิรูปการเมืองครั้งที่ 2

ผมก็หวังว่า แต่กระนั้น ที่อ่านดูในจดหมายที่ถวายฎีกา เนื้อหา น้ำเสียงก็ไม่เป็นอย่างที่คุณพูดเลยนะ และการถวายพระราชอำนาจคืน ทันทีที่พูดคำนี้ขึ้นมา ถึงที่สุดมันต้องนำไปสู่การเปลี่ยนระบอบการเมือง ซึ่งในระบอบอย่างที่เรามีอยู่ปัจจุบันนี้ คุณทักษิณก็ล็อคมันไว้หมด

 

ฉะนั้น ข้อเรียกร้องในนามการถวายพระราชอำนาจคืน กับสภาพความเป็นจริงที่คุณทักษิณล็อคการเมืองไทยทั้งหมด ถ้ามันพุ่งเข้าใส่กัน มันก็มีทางออกอยู่อันเดียว คือต้องเปลี่ยนแปลงการเมืองนอกระบบ เช่น รัฐประหาร ม็อบ อะไรก็แล้วแต่ เพราะเงื่อนไขเดียวที่ในหลวงจะลงมา ดูจากทุกครั้งที่ผ่านมาคือ ระบอบการเมืองมันพัง ทำงานไม่ได้

 

การลงชื่อของนักวิชาการเรียกร้องให้นายกฯ ลาออก อาจจะถูกตั้งคำถามว่าเป็นการยอมให้นายกฯ มาจากระบบอื่น เป็นการยอมรับอำนาจอื่นนอกเหนือกลไกตามระบอบประชาธิปไตยหรือเปล่า

ผมก็ไม่รู้รายละเอียดของนักวิชาการแต่ละสถาบัน แต่เท่าที่รู้ นักวิชาการในสถาบันต่างๆ เขาเรียกร้องก็ให้นายกฯ ลาออก ไม่ได้บอกว่านายกฯ คนใหม่ต้องมาด้วยวิธีการพิเศษ

 

กล่าวเฉพาะในคณะของผม นี่คือประเด็นที่เราถกกันเยอะมากด้วยความวิตก เราระมัดระวังที่จะไม่ให้มีถ้อยคำใดๆ ในแถลงการณ์ของเราที่ส่อไปในทางยอมรับอำนาจพิเศษ คือขอให้อยู่ในกรอบ ในระบอบนี้ซึ่งเป็นระบอบที่มีปัญหา ต้องแก้ แต่เฉพาะหน้านี้มันต้องปลดล็อคตรงนายกฯ ก่อน ส่วนเราจะแก้อะไร แก้อย่างไร เราคุยกันได้อีกเยอะ เพราะโจทย์มันใหญ่ ไม่ใช่แค่ทักษิณ

 

พูดสั้นๆ โจทย์ก็คือ กลุ่มทุนผูกขาดในประเทศ + ทุนโลกาภิวัตน์ ซึ่งตอนนี้เรารู้จักกลุ่มทุนโลกาภิวัตน์ผ่านชื่อเทมาเสก เรากำลังจะหาการเปลี่ยนแปลงในรัฐธรรมนูญเพื่อมาถ่วงดุลคนกลุ่มนี้ โอ้โห มันยาก ผมไม่แน่ใจว่าทำได้ด้วยซ้ำ

 

แม้แต่กระแสที่นักวิชาการออกมา ชนชั้นกลางก็วิพากษ์วิจารณ์นักวิชาการว่าเก่งแต่ในตำรา ไม่รู้เรื่องโลกภายนอก

คืออยู่กันมาเป็น 10 ปีก็คงเริ่มรู้ว่าไอ้นี่ก็เก่งอยู่แต่ในสถาบัน เกลียดมันจริงๆ เลย แต่ก็ยอมรับว่ามันก็เป็นอย่างนี้แหละ คือผมคิดว่ามันก็ดีนะ ถ้าคนเราจะยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันได้ แม้ว่าจะเห็นแตกต่างกัน

 

วันที่ 11 ก.พ.นี้ ถ้าคนธรรมดาคนหนึ่งจะเดินเข้าไปในม็อบ เขาต้องทำความเข้าใจอย่างไรบ้าง

คุณก็มีสิทธินะ ถึงแม้ผมจะไม่เห็นด้วยกับแนวทางบางอย่างของคุณสนธิ แต่ว่าที่เขาทำก็ยังไม่เห็นมีอะไรผิดรัฐธรรมนูญ เพียงแต่ที่ผมรู้สึกว่าน่าวิตกคือ ทั้งสองฝ่ายกำลังกระทำการผิดพลาดทางยุทธวิธี

 

ด้านของคุณสนธิ ก็อย่างที่บอก การรวมศูนย์อยู่ที่ตัวแก โดดเดี่ยวตัวเอง กลายเป็นม็อบสนธิล้วนๆ ทั้งๆ ที่กระแสความไม่พอใจทักษิณมันแผ่กว้างไปได้มาก ทั้งที่มันมีเงื่อนไขจะทำแนวร่วมได้มาก แต่แกมาโฟกัสที่ตัวแกมากเกินไป ทำให้ขบวนการที่จะเติบใหญ่หดแคบลง กลายเป็นการถวายคืนพระราชอำนาจ (ซึ่งมีความเสี่ยงอย่างที่กล่าวไว้) ทำไมจึงโดดเดี่ยวตัวเองนัก ทำไมไม่ทำให้การเคลื่อนไหวไม่ใช่ของแก แต่เป็นของกลุ่มคนจำนวนมากที่ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาลทักษิณ แล้วแกเป็นพลังหนึ่ง 

 

ในแง่กลับกัน รัฐบาลห้ามใช้ลานพระรูป เป็นการตัดสินใจที่โง่มาก ไปยุให้คนโกรธอีก ผมคิดว่าถ้าคุณทักษิณแกเลิกพูดสักปีหนึ่งได้จะดีมาก เพราะทุกครั้งที่แกพูด คนจะโกรธ

 

ในเงื่อนไขที่มีการเผชิญหน้าที่ยืดเยื้อ มีการแยกขั้ว ความผิดพลาดเชิงยุทธวิธีของทั้งสองฝ่าย มันอาจจะไต่ระดับแรงขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นความรุนแรงในที่สุด ทำยังไงทั้งสองฝ่ายจะปรับยุทธวิธี

 

คุณทักษิณเองดูเหมือนก็พยายามดิ้นรนหาทางออกกับเรื่องนี้อยู่ เช่น การเปิดทำเนียบรับฟังนักวิชาการ หรือแม้กระทั่งรับฟังคุณสนธิเอง

มันเลยจุดนั้นไปแล้ว ถ้าเป็นคุณล่ะ คุณลองคิดดูสิ ผมบอกคุณว่า ฮัลโหล คุณจะมาคุยกับผมก็ได้นะ แต่ว่าช่วยพูดภาษาคนหน่อย แล้วก็ไมต้องพกความโง่มานะ ถ้าเป็นคุณคุณจะมาไหม แล้วใครจะไป แกพูดเสมอว่าเปิดรับฟัง แต่ก็ดูถูกเขาตลอดเวลา

 

อาจารย์อาจจะเซนซิทีฟเกินไป คนขับแท็กซี่ หรือแม่ค้าขายของก็อาจจะบอกว่า อิจฉาเกินไป เขาให้อภัยได้ และมีคนจำนวนมากที่ให้อภัยท่าทีดูถูกคนอื่นของนายกฯ ได้

ก็ดีแล้วที่เป็นอย่างนั้น จะได้ลบอคติที่ว่าคนชั้นล่างต้องถูกเสมอ สมัยผมอยู่กับ พคท. จะมีความเชื่ออย่างนี้ว่า กรรมกร ชาวนาถูกต้องเสมอ คือไม่ใช่ มึงถูกก็มีนะ คนขับแท็กซี่ กรรมกรชาวนาก็ผิดได้

 

โอเค คำถามนี้น่าสนใจ มันเป็นการให้อภัยจากจุดยืนของคนที่ไร้อำนาจหรือเปล่า

 

อยู่กับคุณทักษิณนานๆ ไปก็เคยชินได้นะ

ผมก็เริ่มชินแล้ว เหมือนโดนบ้องหูทุกวัน แต่คราวนี้มันเกินไปหน่อย คุณทักษิณก็คงจะงงว่า เอ๊ะ ไอ้นี่ บ้องหูมันทุกวันไม่โวยวาย คราวนี้หนักไปหน่อยเดียวเอง ทำไมมันโวยวาย

 

อันตรายอย่างหนึ่งของประชาธิปไตยคือ การที่เราแสดงการคัดค้านได้ แล้วก็สบายใจว่าได้คัดค้านไปแล้ว แล้วก็จบ ม็อบขับไล่นายกฯ เมื่อวันที่ 4 ก.พ. ทีผ่านมาจะเป็นกลลวงของประชาธิปไตย เป็นเพียงแค่การเอ็กเซอร์ไซส์ทางการเมืองเท่านั้นหรือไม่

ผมขอกลับคำถามคุณ พูดอีกภาษาหนึ่งคือว่า อะไรคือยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี การเคลื่อนไหวนอกสภาจะเชื่อมโยงกับในสภาอย่างไร อันนี้ยังต่างคนต่างคิด แต่กระบวนการภายในรัฐสภาก็ดูเหมือนจะโดนบล็อกไว้หมด ผมค่อนข้างเห็นด้วยกับอาจารย์ทางเชียงใหม่ที่เขาเสนอว่าล่า 50,000 ชื่อ คือไม่ได้คิดว่ากระบวนการล่า 50,000 ชื่อเป็นเป้าหมายในตัวมันเอง แต่ว่าในการที่คุณจะล่า 50,000 ชื่อได้ คุณต้องให้การศึกษาคน ตีโจทย์นี้ให้มันกว้าง อธิบายปัญหาให้มันลึกซึ้ง

 

นักวิชาการผู้ใหญ่ท่านหนึ่งบอกกับผมว่า เป็นห่วงคุณทักษิณมากว่าจะไปเร็วเกินไป ไปโดยวิธีการที่ไม่สมควร  แกห่วงว่าเดี๋ยวระบบทักษิณกลายเป็นวีรชน เดี๋ยวมันก็มีทักษิณ 2 ตามมา เหมือนกับที่สฤษดิ์ กลายเป็นวีรชนให้คนฝันถึง อันนี้ไม่อยากให้เกิด ประการที่ 2 แกคิดถึงประโยชน์ที่คุณทักษิณอยู่ สิ่งที่กำลังเกิดขึ้นก็คือ ยิ่งนานก็จะยิ่งทำให้คุณทักษิณเปื่อย เปื่อย เปื่อยไปเรื่อยๆ และเนื่องจากระบบมันโดนบล็อกเอาออกไม่ได้ใช่ไหม แกก็จะเน่านะ

 

ผมคิดว่าสิ่งที่น่ากลัวก็คือ ถึงที่สุดแล้วคุณใช้วิธีการนอกระบบ ไม่รู้นะ มันอยู่ที่การนิยามชัยชนะอย่างไรด้วยใช่ไหม ถ้านิยามชัยชนะว่า ทักษิณต้องออกไปไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับเมืองไทย อย่างนี้ก็น่ากลัว

 

แต่ถ้านิยามชัยชนะว่า ไม่มีใครตายแม้แต่คนเดียวในความขัดแย้งทางการเมืองนี้ สังคมไทยค้นพบการเปลี่ยนผ่านจากระบอบทักษิณ ไปสู่อย่างอื่นโดยไม่มีใครตาย ระหว่างที่สังคมไทยผ่านวิกฤต ได้เรียนรู้ เข้าใจตัวเอง และเข้าใจเงื่อนไขที่ล้อมสังคมดีขึ้น กระจ่างขึ้น อันนี้เป็นชัยชนะที่ยั่งยืน

 

การเปลี่ยนผ่านนี้มันใหญ่ ประเทศเราทั้งประเทศ จะจัดการเปลี่ยนผ่านนี้อย่างไร เอาแค่เรื่องคุณทักษิณ เอาแค่ไม่ให้มีใครตาย เพราะไม่คุ้มหรอก มันไม่เคยคุ้มเลย

 

สำหรับวันที่ 11 นี้ ผมเกรงว่าจะเกิดความรู้สึกประมาทของทั้ง 2 ฝ่าย โดยเฉพาะรัฐบาลอาจจะประเมินจากวันที่ 4 ว่า อ๋อสุดยอดของคุณแค่ 50,000 เอง แล้วอาจมีใครทำอะไรเอาใจเจ้านายอีก

 

เขาไม่น่าประเมินอะไรอย่างนั้นได้เลยนะ

แต่ก็แปลกนะ ถ้าเราไปดูประวัติศาสตร์ ความโง่ของผู้นำมันมหัศจรรย์มากเลย ไม่น่าเชื่อว่าเขาจะคิดอย่างนั้นได้ ประเมินอย่างนั้นได้ แต่เขาคิด

 

อาจารย์มีข้อเสนอรูปแบบอื่นที่ไม่ใช่การชุมนุมไหม ถ้าหากเราอยากจะเรียกร้องให้คุณทักษิณลาออก

โอ อันนี้ประชาชนเองก็มีความสร้างสรรค์กว่าผมเยอะนะ ผมเองก็ไม่รู้หรอก แต่ว่าการชุมนุมโดยตัวมันเองก็ทำไม่ได้ทุกวัน ก็คงต้องหารูปแบบที่เหมาะกับสถานการณ์ต่างๆ และการชุมนุมที่เป็นจุดสุดยอดนั้นบ่อยไปก็ไม่ดี แล้วก็น่าจะมีรายการอื่นๆ ไม่ใช่แค่สนธิ-สโรชา ให้มีความหลากหลาย

 

ตอนนี้มีแต่คนบอกว่า ทักษิณเป็นปัญหาของแผ่นดิน ผมว่าเก่งจริงทำให้แผ่นดินเป็นปัญหาของคุณทักษิณสิ

 

แต่ถ้าทำอย่างนั้นกระบวนการต้องใช้เวลานาน

จะรีบร้อนไปไหน มีคนบอกเขาอยู่เป็นปัญหา เขาอยู่มีความเป็นอันตราย แต่กระบวนการที่จะเอาเขาออกก็อันตรายเหมือนกัน หากไม่ระมัดระวัง

 ************************************
เอามาลงให้รู้ประวัติที่มาที่ไป ของคนชื่อ เกษียร เตชะพีระ
Credit ก็แค่พวกเหลี่ยม..สิงอยู่เว็บประชาไท และสิงอยู่ที่เว็บ ม.เทียงคืน อีกที่นึง
ถ้าติดตามผลงานของมันเรื่อย ๆ ...
อ่านไป-อ่านมา ก็แค่ คน ๆ หนึ่งที่รังเกียจประชาธิปไตยที่มีสถาบันฯ
ก็แค่นั้น...
เข้าไปดูผลงานของมัน แค่1 ผลงานตัวอย่าง ได้ที่เว็บลิงค์นี้...

http://www.prachatai.com/05web/th/home/page2.php?mod=mod_ptcms&ContentID=2506&SystemModuleKey=HilightNews&System_Session_Language=Thai (http://www.prachatai.com/05web/th/home/page2.php?mod=mod_ptcms&ContentID=2506&SystemModuleKey=HilightNews&System_Session_Language=Thai)

 :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: Cherub Rock ที่ 15-05-2008, 07:56
คุณ oho ครับ

ทั้งสองโพสต์ข้างบนนี่มีอยู่แล้วในกระทู้
ใจเย็นๆ ไม่ต้องโพสต์ซ้ำครับ มันยาว.. :slime_smile:




หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: ฮูลิแกน ที่ 17-05-2008, 22:49
แปลว่า ป๋าหมาก กะป้าเพ็ญ ในตอนนี้ เทียบได้กับ ชวน เสนีย์ อานันท์ฯลฯ ในตอนนั้น ใช่ป่ะ กร๊ากๆๆ :slime_smile2:
แล้วสนติ๊ลิ้ม ตอนนี้ เทียบได้กะป๋าหมากวันนั้น ใช่อีกป่ะ?:slime_inlove:

เพิ่มเติมอีก...ไอ้หัวโตในวันนั้น คงมีบทบาทคล้ายๆ จอย พระประแดง ในวันนี้ กระมัง ฮิฮิ :slime_bigsmile:
(อ้าว ก็หัวโตบอกเองนี่นาว่าพันธมิตรคล้ายกับฝ่ายขวาจัดในวันนั้น ดังนั้นฝ่ายตรงข้ามก็ต้องคล้ายขบวนการนักศึกษาสิ)


หัวข้อ: Re: อย่าเดินไปสู่ 6 ตุลาฯ : เกษียร เตชะพีระ
เริ่มหัวข้อโดย: northstar ที่ 18-05-2008, 09:27
 :slime_bigsmile: