ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด (รุ่นแรก)

ทั่วไป => สภากาแฟ => ข้อความที่เริ่มโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 18:58



หัวข้อ: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 18:58

ผมมีแนวคิดที่นำเสนอเสมอว่า สส.ต้องทำงานในหน้าที่ให้สมบูรณ์ รวมทั้งฝ่ายค้านด้วย

กระทู้นี้ตั้งขึ้นเพื่อ มองสส.ฝ่ายค้านที่คนส่วนใหญ่ ไม่ติดตามตรวจสอบว่าทำงานสร้างสรรค์หรือไม่?

มักจะพยายามหันไปโจมตีสส.รัฐบาลที่ทำงานไม่ถูกใจ หรือไม่ใช่พรรคที่ตนสนับสนุน ซึ่งบ่อยครั้งเป็นมุมมองที่คับแคบ

ก็เปิดกระทู้ไว้รอดูผลงานพรรค หกสิบปี ที่ดูเหมือนปัจจุบัน ทำงานไม่เป็นชิ้นเป็นอันให้สังคมได้เห็น

ได้มีโอกาสทำงานให้สังคมได้เห็นมากขึ้น และไม่ใช้สื่อเป็นเครื่องมือในการโจมตีพรรคอื่นๆ ทั้งทางตรงทางอ้อม..

กองเชียร์ที่คอยดูผลงานจะได้เห็นชัดเจนมากขึ้น ว่ามีอะไรที่เป็นชิ้นเป็นอันได้บ้าง ไม่ต้องใช้แว่นขยายคำพูดสส.แก่อย่างชวน

หรือสส.ผลงานน้อยอย่าง อภิสิทธิ์


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 19:11

ส่วนพรรคพลังประชาชนมีคน โจมตีมากอยู่แล้ว กระทู้นี้คงไม่สนใจครับ..

เนื่องจากมันไม่มีผลให้ประชาธิปัตย์ได้รับความไว้วางใจมากขึ้นเท่าไรนัก

เพราะเห็นโจมตีกันมานานแล้ว..


เสียงสิบสี่ล้านเสียงที่อ้างกันก็ไม่ใช่ว่าจะเป็นเสียงคงที่ เนื่องจากปกติ ประชาธิปัตย์มีเสียงสับสนุนเพียง

เจ็ดถึงแปดล้านเสียงมาส่วนใหญ่ ถือว่าเสียงที่ได้มาคงมีฝ่ายอื่นๆช่วยสนับสนุน

แล้วก็ต้องมาดูผลงานกันต่อไปเท่านั้น  ใช้วิธีใดทำงาน.เหมาะสมกับสถานภาพสส. หรือเป็นเพียงกระแสการเมืองที่หลายคนช่วยกันสร้างขึ้น :slime_fighto: :slime_cool:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: อธิฏฐาน ที่ 25-01-2008, 19:16

อยากดูผลงานรัฐบาล ปชป.มากกว่าค่ะ ว่าแก้ปัญหาภาคใต้ได้หรือเปล่า ไม่ใช่โยนความผิดให้กับบุคคลในพื้นที่ หรือ สส.ฝ่ายค้าน


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: เพื่อนร่วมชาติ ที่ 25-01-2008, 19:37
อยากรู้ว่าถ้าผลการเลือกตั้งมันกลับกัน

คุณคิวจะตั้งกระทู้แขวะ (แต่ทำเหมือนแนะนำ) ทำนองนี้ให้พรรคพลังเมถุนมั้ยครับ

ผมสงสัยจริง ๆ ว่า ขมขื่นใจอะไรนักหนากับพรรคประชาธิปัตย์ครับ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 19:39


อยากดูผลงานรัฐบาล ปชป. (พปช) มากกว่าค่ะ ว่าแก้ปัญหาภาคใต้ได้หรือเปล่า ไม่ใช่โยนความผิดให้กับบุคคลในพื้นที่ หรือ สส.ฝ่ายค้าน

อ่านกระทู้ก่อนโพสต์ตอบครับ :slime_sleeping:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 19:46

อยากรู้ว่าถ้าผลการเลือกตั้งมันกลับกัน

คุณคิวจะตั้งกระทู้แขวะ (แต่ทำเหมือนแนะนำ) ทำนองนี้ให้พรรคพลังเมถุนมั้ยครับ

ผมสงสัยจริง ๆ ว่า ขมขื่นใจอะไรนักหนากับพรรคประชาธิปัตย์ครับ

คุณขมขื่นหรือเปล่าล่ะ? ผมเห็นว่าสส.ปชป.ไม่มีผลงาน ร้อยกว่าเสียงก็มากเกินไป

และเห็นไม่มีคนพูดถึงด้วย.. คุณควรพิจารณาตัวเองมากกว่า ว่างมงายอะไรกับปชป.

ส่วนทักษิณ ผมวิจารณ์เขามาตลอดในช่วงหลัง.

ในทางกลับกันปชป. เห็นว่าไม่มีใช่เรื่องเร่งด่วนก็เลยไม่วิจารณ์มาก

แต่ไม่ใช่วิจารณ์ไม่ได้..   :slime_smile2:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 19:52


แต่ที่คนส่วนใหญ่วิจารณ์ไม่ได้ อาจจะเพราะไม่มีผลงาน ก็เป็นได้

สร้างแต่วาทกรรม ไฟไหม้ฟาง ไปวันๆ แล้วก็มีกองเชียร์หน้าโง่

ขมขื่นใจ จนเอาแต่ไล่โจมตี สส.ทุกพรรคที่ไม่ใช่ปชป. มันน่าขำขันหรือไม่?



หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: KUKKUK ที่ 25-01-2008, 20:02
อย่าแอบแขวะเลยครับ  แขวะตรงๆเปิดเผย  แมนๆดี (เพราะอ่านหัวข้อดูก็รู้สึกเหมือนแนะนำแต่ว่า.....ด่าไปตรงๆเลยดีกว่าครับ)


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 20:04


อีกประการหนึ่งพวกไปเลือกตั้งแบบขาดความรับผิดชอบมีมากเหลือเกิน

ผมถามว่าคนที่คุณเลือก ได้เข้ามาเป็นสส.เขตและสัดส่วนหรือเปล่า?

หากคุณเลือกปชป. แล้วคนอย่างอดีตสว.ที่ติดคุก พรรคคัดเข้ามาได้อย่างไร?

สมัครนี่ก็ศิษย์เก่าปชป.รุ่นใกล้กับชวน ถ้าสมัครเลว อะไรรับรองวิธีการคัดเลือกคนของพรรคปชป.?

และกองเชียร์ที่สนับสนุนกันเข้ามา ในขณะที่เขายังสังกัดพรรคปชป.


พรรคปชป.เป็นเครื่องฟอกขาวที่หลอกลวงหรือเปล่า? เพราะมีคนทำผิดให้เห็นบ่อยๆเหมือนกัน..ในขณะที่ยังเป็นสส.ปชป.อยู่ด้วย


ถ้าบางคนจะหลับตาข้างเดียว ก็สมควรสูญพันธุ์อย่างยิ่งครับ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 20:06

อย่าแอบแขวะเลยครับ  แขวะตรงๆเปิดเผย  แมนๆดี (เพราะอ่านหัวข้อดูก็รู้สึกเหมือนแนะนำแต่ว่า.....ด่าไปตรงๆเลยดีกว่าครับ)

กลัวความจริง เลยเบี่ยงเป็นแขวะ ไม่กล้าหาผลงานตามประเด็นกระทู้มาคุยหรือครับ..


อันนี้แหละครับไม่แมน.. :slime_doubt:



หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 20:17


ทวนประเด็นใหม่อีกครั้ง

ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.?
ผมมีแนวคิดที่นำเสนอเสมอว่า สส.ต้องทำงานในหน้าที่ให้สมบูรณ์ รวมทั้งฝ่ายค้านด้วย

กระทู้นี้ตั้งขึ้นเพื่อ มองสส.ฝ่ายค้านที่คนส่วนใหญ่ ไม่ติดตามตรวจสอบว่าทำงานสร้างสรรค์หรือไม่?

มักจะพยายามหันไปโจมตีสส.รัฐบาลที่ทำงานไม่ถูกใจ หรือไม่ใช่พรรคที่ตนสนับสนุน ซึ่งบ่อยครั้งเป็นมุมมองที่คับแคบ

ก็เปิดกระทู้ไว้รอดูผลงานพรรค หกสิบปี ที่ดูเหมือนปัจจุบัน ทำงานไม่เป็นชิ้นเป็นอันให้สังคมได้เห็น

ได้มีโอกาสทำงานให้สังคมได้เห็นมากขึ้น และไม่ใช้สื่อเป็นเครื่องมือในการโจมตีพรรคอื่นๆ ทั้งทางตรงทางอ้อม..

กองเชียร์ที่คอยดูผลงานจะได้เห็นชัดเจนมากขึ้น ว่ามีอะไรที่เป็นชิ้นเป็นอันได้บ้าง ไม่ต้องใช้แว่นขยายคำพูดสส.แก่อย่างชวน

หรือสส.ผลงานน้อยอย่าง อภิสิทธิ์  



หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 20:36
http://www.democrat.or.th/viewnews.asp?id_head=8793&id_main=62.134&p=0&ca=62&mt=237.115.220.139.209.238.33.161.128.43&st=172.102.168.190.167.250.47.206

พรรคประชาธิปัตย์หวังจะกวาดที่น ั่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในการเลือกตั้ง

ณ วันที่ 23 ธันวาคม 2550 ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้ได ้ทั้งหมด

 พรรคประชาธิปัตย์จะรักษาที่นั่งให้เหมือนเดิมได้หรือไม่ และในท่ามกลางสถานการณ์ไม ่สงบในพื้นที่ พวกเขามี ‘นโยบาย’ อะไรมาใช้ดับไฟใต้ ความเป็นพรรคการเมืองที่ครองเส ียงข้างมากมายาวนานในพื้นที ่ภาคใต้ จะช่วยให้สถานการณ์สงบลงดังเด ิมได้หรือไม่?

อ่านคำตอบจากบทสัมภาษณ์ “เจะอามิง โตะตาหยง” รองโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ ผู้ได้รับมอบหมายจากพรรคให้ดูแลผู้สมัครในสามจังหวัดชายแดนภา คใต้ รวมทั้งนโยบายการแก้ปัญหาความไม ่สงบในพื้นที่

 
พรรคประชาธิปัตย์มีนโยบายในการแก ้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่จะใช้หาเสียงเลือกตั้งครั้งนี้อย่างไร

เจะอามิง - นโยบายของพรรคประชาธิปัตย์ม ีสองส่วน คือนโยบายระดับประเทศซึ่งเป ็นภาพรวมที่สามารถจะใช้ได้โดยทั ่วไป แต่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ้มีนโยบายเฉพาะในการแก้ปัญหา ซึ่งมีหลักใหญ่ คือ ใช้การเมืองนำหน้าการทหาร

นโยบายของเราวันนี้ เรียกว่า “สลาตัน ดารุลอามาน” ความหมายคือนโยบายใต้สันติสุข เราให้ความสำคัญในการแก้ปัญหา โดยให้รองนายกรัฐมนตรีหรือร ัฐมนตรีหนึ่งคนเข้ามาดูแลการแก ้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้เป ็นการเฉพาะ

ส่วนกระบวนการแก้ปัญหานั้น เรายึดหลักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา หมายถึงต่อไปประชาชนจะมีส่วนในการคิด วางกรอบการแก้ปัญหาและร่างนโยบาย ของพรรคด้วย แต่กระบวนการของพรรคประชาธิปัตย ์นั้น มีการวางกรอบในการแก้ไขตลอดระยะเ วลา โดยพรรคเน้นให้สมาชิกลงพื้นที ่ตลอดในช่วงที่ไม่ยังเป็น ส.ส.เพื่อให้ใกล้ชิดประชาชน

การลงพื้นที่ตลอดของสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ทุกคน จะทำให้ทราบข้อมูลจากพี่น้องประชาชนโดยตรง แล้วนำมากลั่นกรองในส่วน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมีศูนย์อำนวยการอยู่ที ่อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี เป็นศูนย์อำนวยการ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ หลังจากตรงนั้นแล้ว ก็มีการพูดคุยวางกรอบนโยบายกัน และนำสู่การกลั่นกรองในระดับ 5 จังหวัดภาคใต้ ที่สาขาพรรคจังหวัดสงขลา

การกลั่นกรองความคิดเห็นของพี่น้องประชาชน กับแนวทางในการแก้ปัญหาของพี่น้องประชาชน จะนำไปสู่การวางนโยบายของพรรค เพื่อวันหนึ่งพรรคประชาธิปัตย ์ได้เสียงข้างมาก สามารถตั้งรัฐบาล ก็พร้อมที่จะนำนโยบายเฉพาะจังหว ัดชายแดนภาคใต้มาปฏิบัติได้เลย

วันนี้พรรคประชาธิปัตย์ให ้ความสำคัญกับการเตรียมความพร้อมมาก โดยเน้นการดำเนินการให้เป็นไปตามวิถีชีวิตของชุมชนเป็นหลัก

การยุติปัญหาความรุนแรง เป็นเรื่องลำดับต้นๆ ที่ต้องให้ความสำคัญ รวมทั้งด้านกระบวนการยุติธรรม ที่รัฐจะต้องให้ความเป็นธรรมกับประชาชนทุกภาคส่วน ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ประชาชนจะต ้องเข้ามามีส่วนร่วม ต้องทำให้ประชาชนกล้าบอก กล้าร้องเรียนกับผู้นำ หรือกับรัฐบาลของเขาเอง เพราะอย่างนี้พรรคประชาธิปัตย์ถ ึงบอกว่าประชาชนต้องมาก่อน

การวางกรอบนโยบายที่สำคัญ จะต้องฟังพี่น้องประชาชนด้วย ส่วนหนึ่งที่การแก้ปัญหาจังหว ัดชายแดนภาคใต้ไม่บรรลุผล เพราะกำหนดนโยบายจากข้างบนโดยไม ่ฟังข้างล่าง

ในกรอบของวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ศิลปวัฒนธรรม มีความละเอียดอ่อนไม่เหมือนกัน เมื่อมันไม่เหมือนกัน เราต้องดำเนินการให้เป็นไปตามวิถีชีวิตของประชาชน โดยใช้กระบวนการมุสลิมแก้ปัญหามุสลิม กระบวนการแก้ปัญหาของวิถีชีวิตชาวพุทธหรือคริสต์ ก็ให้เป็นไปตามวิถีชีวิตของชนนั้น ซึ่งเป็นความต้องการของชุมชนนั้นๆ อยู่แล้ว

เราให้ความสำคัญเท่าเทียมกัน กลุ่มไทยพุทธก็ให้เป็นไปตามวิถ ีชีวิตของไทยพุทธ ดังนั้นประชาชนที่นับถือศาสนาพ ุทธ ก็ต้องมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาส ่วนหนึ่งเหมือนกัน แต่จะไปกำหนดกฎเกณฑ์ให้ไทยพ ุทธไปตามวิถีอิสลามไม่ได้ ต้องให้เป็นไปตามวิถีชีวิตของเขา

ดังนั้นแต่ละกลุ่มก็ต้องให้เป ็นไปตามวิถีชีวิตของแต่ละกลุ่ม จะไม่ให้น้ำหนักการแก้ปัญหาไปที ่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ถึงแม้เราเป็นสมาชิกสภาผู ้แทนราษฎรที่เป็นมุสลิมของพรรคปร ะชาธิปัตย์ แต่เราให้ความสำคัญกับทุกฝ่าย ให้ความสำคัญกับประชาชนทุกกลุ่ม ทุกส่วนมีความเท่าเทียมกัน ทั้งเรื่องการจัดสรรงบประมาณ และการดูแลทุกด้าน

ในเรื่องความปลอดภัย ส่วนหนึ่งประชาชนต้องมีส่วนร ่วมด้วย แต่ใช้การเมืองนำการแก้ปัญหาแล้ว ตัวการเมืองจะเป็นตัวแก้ปัญหาให ้ประชาชนด้วยตัวมันเอง

แน่นอนการแก้ปัญหาด้านความมั่นคง ต้องใช้การเมืองนำการทหาร เพราะการแก้ปัญหาด้านความมั ่นคงโดยอาศัยหลักทางด้านความมั ่นคงอย่างเดียว ไม่สามารถฟื้นฟูจิตใจของพี่น ้องประชาชนได้ เราจึงกำหนดมีรองนายกรัฐมนตรีหน ึ่งคนหนึ่ง ดูแลพื้นที่ภาคใต้โดยเฉพาะ

ขณะนี้ในส่วนของรัฐบาลเอง ขาดการทำการเมืองในพื้นที่ เพราะไม่มีตัวแทนที่มาจากพี่น ้องประชาชนที่ใกล้ชิดกับประชาชนม าเป็นตัวแทนของรัฐบาลเลย

การทำการเมืองจะสามารถดึงจ ิตใจของประชาชน ที่ขณะนี้กำลังหว้าเหว่กลับมาดไ ถ้าสามารถดึงจิตใจกลับมาได้ ก็สามารถแก้ปัญหาได้อีกหลายจุด

ผมยอมรับว่าปัญหาทั้งหมดในภาคใต้ จะแก้เฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งไม่ได้ ต้องแก้หลายๆ เรื่องพร้อมกันไป ต้องเดินไปข้างหน้าพร้อมๆ กัน สิ่งสำคัญ คือ ต้องมีความเป็นเอกภาพ ทุกหน่วยงานต้องมีความเป็นเอกภาพ และพร้อมใจกันแก้ปัญหา

พวกเราเห็นอยู่ตลอดว่า การใช้รุนแรงไม่ว่าจากฝ่ายใด ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ถ้าต้องการแก้ปัญหา จะต้องยุติการใช้ความรุนแรง เราต้องคิดให้เป็นและใช้ความละเอ ียดอ่อน ต้องรู้ลึกกับเรื่องที่จะแก้ป ัญหา ไม่ใช้อารมณ์แต่ให้ใช้สติ ถึงจะแก้ปัญหาได้

ผมอยากให้ทบทวนนโยบายเก่าๆ ด้วยอันไหนที่ดีก็นำมาใช้ อันไหนที่ไม่สอดคล้องก็ต้องตัดไป เอาส่วนของเราที่เขายังไม่ม ีมาใส่เพื่อแก้ปัญหา

ถ้าเปรียบปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใ ต้เป็นเชือกสายยาว วันนี้ปุ่มเงื่อนไขมีมากขึ้นกว ่าในอดีต เพราะฉะนั้นในการแก้มันต้องแก้ท ีละปม มันต้องแก้ให้ได้ ถึงแม้จะต้องใช้เวลา

 

+จะเริ่มทำอะไรก่อนถ้าได้เป็นรัฐบาล

การเมืองเริ่มเลย ควบคู่กับการแก้ปัญหาที่ให้เป ็นไปตามวิถีชีวิตของคนในพื้นที่

นอกจากนี้ ด้านการศึกษาและความยุติธรรม สรุป คือ ต้องทำหลายอย่างพร้อมกัน แต่การเมืองต้องนำ

แม้เราได้เป็นรัฐบาลแล้วใช ้การเมืองนำหน้าก็ไม่ใช่ว่าต ้องทุบโต๊ะอย่างเดียว ต้องน้อมรับความคิดเห็นของหน ่วยงานต่างๆ ด้วย ทุกอย่างต้องสอดคล้องกับวิถีชีว ิตของคนในพื้นที่ กรอบหลักใหญ่ของพรรคประชาธิปัตย์ คือ “ประชาชนต้องมาก่อน”

ด้านการศึกษาให้ความสำคัญมาก โดยเฉพาะปัตตานีเป็นศูนย์กลางด ้านวัฒนธรรมและการศึกษาในจังหว ัดชายแดนภาคใต้ เราจะพูดถึงการศึกษาในระดับก ้าวกระโดด จัดกระบวนการการศึกษาให้สอดคล ้องกับวิถีชีวิต ซึ่งมีรายละเอียดที่จะต้องอธ ิบายในครั้งต่อไป ทุกอย่างต้องดำเนินไปตามวิถีชีว ิต เพราะปัญหาส่วนหนึ่งเกิดจากการดำ เนินการที่ไม่เป็นไปตามวิถีชีวิต เพราะวิถีชีวิตของคนที่นี่เป ็นอย่างหนึ่ง แต่กลับไปเอาวิถีชีวิตของคนอื ่นมาใช้แก้ปัญหาที่นี่มันก ็สวนทางกัน

เมื่อมันสวนทางกันแล้ว กลายเป็นว่าในเรื่องนโยบายม ันเหมือนกับรัฐไม่ให้ความสำคัญก ับวิถีชีวิตของคนที่นี่

พรรคจะส่งเสริมจังหวัดชายแดนภาคใ ต้ให้เป็นศูนย์การท่องเที่ยว โดยจะเปิดด่านชายแดนเพิ่มเติม เพื่อดึงนักท่องเที่ยวจากประเทศเ พื่อนบ้านเข้ามา โครงการตามแผนความร่วมมือเศรษฐก ิจ 3 ฝ่าย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย หรือ IMT – GT ในพื้นที่ต้องเกิดขึ้น

การแก้ปัญหากฎหมายของรัฐ ต้องแก้ให้เป็นไปตามวิถีชีว ิตของมุสลิม อย่างกฎหมายศาลชารีอะห์ กฎหมายว่าด้วยครอบครัวและมรดก การตัดสินคดีต้องเป็นไปตามหล ักการศาสนา เพราะชุมชนท้องถิ่นเรียกร้องอย ่างนั้น

พระราชบัญญัติกองทุนกิจการฮัจย์ และพระราชบัญญัติการบริหารองค ์กรศาสนาอิสลาม ปี 2540 ก็ต้องแก้ไข ในส่วนรายละเอียดขออนุญาตยังไม ่พูด โดยการแก้ไขต้องให้เหมาะสมและสอด คล้องกับวิถีชีวิตมากที่สุด ส่วนที่ขาดไปก็ต้องเพิ่มเติมเข ้ามา

เราจะให้จังหวัดนราธิวาสเป็นศ ูนย์กลางส่งเสริมกิจการฮัจย์ เพราะคนสามจังหวัดชายแดนภาคใต ้เรียกร้องให้สนามบินนราธิวาสเป ็นสนามบินเพื่อกิจการฮัจย์ เรื่องนี้เราคิดว่า กระบวนการทำฮัจย์ เราไม่คิดเฉพาะช่วงพิธีฮัจย์อย ่างเดียว อาจจะมีการเช่าเหมาลำเครื่องบ ินเพื่อไปทำอุมเราะห์ (เยือนสถานที่สำคัญทางศาสนาในเม ืองมักกะห์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย) ที่สำคัญ คือ คนในประเทศใกล้เคียง หากจะเดินทางจากประเทศของเขาไปซา อุดีอาระเบียราคาบ้านเขาจะแพงกว ่า เพราะฉะนั้นถ้าส่งเสริมอย่างจร ิงจัง คนจากประเทศเพื่อนบ้านก็จะมาใช ้บริการด้วย ถ้าทำได้อย่างนี้จะทำให้มีเง ินหมุนเวียนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้เยอะ

+แล้วการเลือกตั้งครั้งนี้ม ีความมั่นใจมากน้อยแค่ไหน

พรรคประชาธิปัตย์มั่นใจในต ัวสมาชิกพรรค เพราะสมาชิกได้นำนโยบายของพรรค และการทำงานของอดีต ส.ส. ซึ่งไม่เฉพาะช่วงที่เป็น ส.ส. เท่านั้น ไปชี้แจงกับพี่น้องประชาชนอยู ่เป็นระยะๆ ตลอดเวลา

ไม่มีนักการเมืองพรรคไหนที่ ช่วงไม่เป็น ส.ส.2 ปีที่ผ่านมา ทำหน้าที่เหมือนกับยังเป็น ส.ส. อยู่ การใกล้ชิดกับพี่น้องประชาชนของอ ดีตส.ส.ของพรรค ชาวบ้านย่อมพึงพอใจ เพราะเห็นหน้าอยู่ในพื้นที่ตลอด เสียงสะท้อนเหล่านี้ทำให้เรามั ่นใจ ที่จะนำนโยบายไปชี้แจงหาเสียงก ับชาวบ้าน ชาวบ้านรับรู้นโยบายของเราตลอด และทำงานให้เราเป็นระยะๆ เขาบอกว่า เดี๋ยวนี้พวกผมไม่ได้มาแค่ช ่วงใกล้เลือกตั้ง หลังเลือกตั้งก็หายไป

พวกผมเป็นนักการเมืองอาชีพ ไม่มีนักการเมืองที่เป็นนักธุรก ิจเลยใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และชาวบ้านก็คาดหวังว่าพรรคประชา ธิปัตย์จะได้เป็นรัฐบาล เข้ามาแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภา คใต้ เพราะเรามีความพร้อมทางด้านบ ุคลากร

+มั่นใจว่าจะรักษาที่นั่งได้เหม ือนเดิมหรือไม่ เพราะการเลือกตั้งครั้งนี้มีคู ่แข่งหลายคนน่ากลัว

ทุกอย่างอยู่ที่ประชาชน การทำงานของเราจะเป็นตัวตัดสิน ผมเชื่อว่าประชาชนไว้วางใจพรรคปร ะชาธิปัตย์ ไม่มีพรรคการเมืองไหนที่กล ้าประกาศว่ามีนโยบายเฉพาะสำหร ับการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต ้เลย พรรคอื่นมีแต่พูดฉาบฉวย ผมไม่ได้ให้ร้าย แต่ให้ไปดูนโยบายการแก้ป ัญหาของพรรคประชาธิปัตย์ได้เลย

อยากให้ประชาชนเชื่อมั่นในพรรคปร ะชาธิปัตย์และระบบของพรรคประชาธ ิปัตย์ ความคาดหวังต่อความสำเร็จในการแก ้ไขปัญหาทั้งหลาย หรือแม้กระทั่งการเลือกตั้งม ันไม่ได้อยู่ที่พวกผม พวกผมเพียงแต่นำนโยบายมาสู่ท่าน แต่สิ่งที่เรารู้ขณะนี้ คือ คนจังหวัดชายแดนภาคใต้เห็นด้วยก ับนโยบายของพรรคประชาธิปัตย์
 



หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 20:40

ยังไม่เห็นอะไรเป็นชิ้นเป็นอันครับ หายไปจากพื้นที่สื่อเกือบทั้งหมด ที่เป็นข่าวเล็กน้อยนั้น ก็เป็นการแกว่งปากตอดเล็กตอดน้อย :slime_doubt:


กำหนดการสัมมนาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์
ระหว่างวันที่ 30 ม.ค. - 1ก.พ.51 ณ โรงแรมรอยัล คลิฟ บีช รีสอร์ท พัทยา จ.ชลบุรี

วันที่ 30 มกราคม 2551
             14.00 น. เดินทางออกจากที่ทำการพรรค โดยรถบัสปรับอากาศ

             16.00 น. กิจกรรมพิเศษ "ขอบคุณประชาชน"

             20.00 น. รับประทานอาหารและสังสรรค์ร่วมกัน

วันที่ 31 มกราคม 2551
             08.30 น. ลงทะเบียน

             9.00 น. เกริ่นนำ โดย นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์

             9.30 น. "สร้าง ส.ส.คุณภาพในการทำงานด้านนิติบัญญัติ"

             12.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

             13.00 น. "สร้างส.ส.คุณภาพในการทำงานเพื่อดูแลประชาชน"

             18.00 น. รับประทานอาหารเย็นและสังสรรค์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2551
             9.00 น. "ประชาธิปัตย์ : พรรคการเมืองคุณภาพ"

             12.30 น. สรุปการสัมมนา

             13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน และเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 20:53
กองเชียร์ ปชป อ่านดู ผมเห็นสาระเพียงเท่านี้..

นอกนั้นที่เว็บของพรรคไม่มีอะไร แสดงให้เห็นว่าจะทำอะไรต่อไป..


อ้างถึง

http://www.democrat.or.th/viewnews.asp?id_head=8917&id_main=60&p=0&ca=62&mt=175.92.185.153.216.238.33.205&st=172.102.168.190.167.250.47.206

คำถาม : ในส่วนของพรรค คิดว่าสิ่งแรกในฐานะฝ่ายค้านที่จะได้ทำหน้าที่ในสภานั้นจะเป็นเรื่องอะไร สำหรับในวาระแรก ประเด็นแรกที่จะอภิปรายในสภาจะเป็นเรื่องคุณสมบัติของคนที่เป็นนายกฯ หรือไม่

คุณจุรินทร์ : อย่างน้อยที่สุดก็ต้องเริ่มต้นด้วยการทำหน้าที่ในการให้ความเห็นเรื่องนโยบายของรัฐบาล เพราะว่ารัฐบาลก็ต้องแถลงนโยบาย แล้วก็งานในสภาหลัก ๆ ก็จะต้องมีการพิจารณาเรื่องนโยบาย พรรคก็จะให้ความเห็น และผมก็เรียนว่าหลักใหญ่ก็คือเราจะให้ความเห็นเชิงสร้างสรรค์นอกจากวิพากษ์วิจารณ์แล้ว ส่วนหนึ่งก็จะให้ความเห็นในเชิงสร้างสรรค์ด้วยว่าทิศทางที่ถูกนั้นควรจะเป็นอย่างไร  นโยบายของรัฐบาลที่ไม่เหมาะสมเป็นอย่างไร คืออะไร






หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 21:01

แม้แต่หัวข้อในบอร์ดนี้ขณะนี้ ปชป.ก็ตกขอบ ไม่มีผลงานให้ใครวิจารณ์ :slime_doubt: :slime_cool: :slime_bigsmile:


 กฎการใช้งานเว็บบอร์ด ที่ผ่านการพิจารณาลงมติของคณะกรรมการเว็บบอร์ดแล้ว  RiDKuN  66  5550   05-11-2006, 22:37
โดย RiDKuN 
    ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.  ********Q********  13  45   วันนี้ เวลา 20:53
โดย ********Q******** 
    ใหม่WELCOME HOME "ทักษิโณ ภิกขุ" โอมมิตาพุทธ!!!  CanCan  5  25   วันนี้ เวลา 20:49
โดย เอกราช 
    ใหม่จะตั้งฉายารัฐบาลนี้ว่าอะไรดี  Gemini  4  36   วันนี้ เวลา 20:42
โดย ปุถุชน 
    ใหม่ ปู่เย็นป่วย...ถูกนำส่งโรงพยาบาลด่วน!  ดอกฟ้ากับหมาวัด  8  89   วันนี้ เวลา 20:38
โดย ดอกฟ้ากับหมาวัด 
    ใหม่อุดม สัก แก้วสรร กับบทเพลงเย้ยฟ้าท้าดิน และ อัยการที่เปลี่ยนไป  sak  7  110   วันนี้ เวลา 20:37
โดย CanCan 
    ใหม่โกโบริน: ยืนยันไม่'เชคบิล' คมช.และ คตส. ......  ปุถุชน  6  57   วันนี้ เวลา 20:29
โดย CanCan 
    ใหม่ผงซักฟอก ยี่ห้อ "คอมอชอ" ตีตลาดไทยกระจุย บรีส แฟ๊บ เปา หงอตัวงอ!!!!!  h_e_a_t  5  63   วันนี้ เวลา 19:49
โดย Aloha007 
    ใหม่โอ้โห... เรตติ้ง TPBS ดีเกินคาด... (เอามาจาก mthai.com)  (ก้อนหิน) ละเมอ  19  311   วันนี้ เวลา 19:47
โดย eAT 
    ใหม่สะใจใช่มั้ยพวกรากหญ้า กับประชาธิปไตยเสียงข้างมาก แต่ระวังมันจะย้อนมาทำร้ายคุณ  KUKKUK  16  261   วันนี้ เวลา 19:30
โดย KUKKUK 
    ใหม่โปรดเกล้าฯ ปธ.- รอง ปธ.สภาฯ 17.45 น  พิเภกอินเตอร์  1  24   วันนี้ เวลา 19:28
โดย ปุถุชน 
    ใหม่"แม้ว" ห่มผ้าเหลืองหนีภัย-เผยเตรียมบวชวัดยานนาวา.  zeed~ko  20  355   วันนี้ เวลา 19:26
โดย Aloha007 
    ใหม่ฝูงกาบินว่อนวน ร้องระงมบริเวณพิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิในรัฐสภา.....  ปุถุชน  5  105   วันนี้ เวลา 19:09
โดย ปุถุชน 
    ใหม่ยอมเป็นรัฐบาลนอมินี เพราะหลงในรสหวานของบาป ....แนวหน้า (25 มค.51)  Suraphan07  11  103   วันนี้ เวลา 19:02
โดย คิคิ 
    ใหม่<< เราต้องการ ..โล่มนุษย์..19 ล้านเสียง..ช่วยพลีชีพ..ปกป้องชีวิต คุณหญิง >>  ลูกหินฮะ๛  3  41   วันนี้ เวลา 19:02
โดย ลูกหินฮะ๛ 
    ใหม่ถ้าไอ้หมัก ทรยศ นายใหญ่ อะไรจะเกิดขึ้น  Şiłąncē Mőbiuş  19  198   วันนี้ เวลา 18:57
โดย ปุถุชน 
    ใหม่"หมัก" ดัน "บัง" เป็น รมว.กลาโหม ตบรางวัลไล่ทักษิณจนได้เป็นนายกฯ  Şiłąncē Mőbiuş  3  50   วันนี้ เวลา 18:47
โดย solidus 
    ใหม่นักวิชาการชี้รัฐบาลใหม่อายุสั้น ภาพพจน์แย่ ขัดแย้งภายใน  ปุถุชน  5  63   วันนี้ เวลา 18:33
โดย ปุถุชน 
    ใหม่ประวัติ ออหมัก เป็นใหญ่ได้ไม่นาน...ซ๊ากที...!!!  CanCan  8  77   วันนี้ เวลา 18:19
โดย CanCan 
    ใหม่วิเคราะห์-ชะตากรรมทั่นประธาน(ที่เคารพ) 'ยุทธ ตู้เย็น' คนกำหนดหรือจะสู้ฟ้าลิขิต  พรรณชมพู  10  210   วันนี้ เวลา 17:36
โดย พรรณชมพู 
    ใหม่งานของนักรบไซเบอร์(คนรักหมัก เมถุน) คือ?  ปุถุชน  17  237   วันนี้ เวลา 15:35
โดย Şiłąncē Mőbiuş 
    ใหม่Gordon Brown พูดกับจีน: จีนสามารถสร้างงานคนอังกฤษถึง 1 แสน !!  The Inconvenient Truth  17  225   วันนี้ เวลา 13:40
โดย ริวเซย์ 
    ใหม่"ประชัย"ยอมแพ้ต่อสายเจรจา"แม้ว"อ้างเพื่อชาติ-ประชาชน  พิเภกอินเตอร์  3  85   วันนี้ เวลา 13:00
โดย ริวเซย์ 
    ใหม่"ยามฯ"ท้า"ยุทธ"ไม่ใช้ตำแหน่งช่วยหนีคดี - จับตา"หมัก"แข็งข้อ"แม้ว"  พิเภกอินเตอร์  1  37   วันนี้ เวลา 12:40
โดย ริวเซย์ 
    ใหม่นายกรัฐมนตรีใบแดง: อภิปรายนอกสภา  soco  10  205   วันนี้ เวลา 12:36
โดย ริวเซย์ 
    ใหม่เรียงความวันเด็ก(ฮาๆอย่าคิดมั๊ก..อิอิ)  ขวานผ่าซาก  10  116   วันนี้ เวลา 12:26
โดย ริวเซย์ 
    ใหม่ทักษิณไม่อยู่ ยาบ้าอาละวาดหนัก  พรรณชมพู  8  163   วันนี้ เวลา 12:24
โดย หมักเมถุน 
    ใหม่ส่วนใหญ่เกลียดทักกี้โดยเปิดเผยบางส่วนรักทักกี้โดยเปิดเผย แล้วมีEแอบรักทักกี้มั้ย  KUKKUK  14  189   วันนี้ เวลา 12:19
โดย ริวเซย์ 
    ใหม่ท่านดร.ทักษิณ กลับมาจะช่วยกำจัด ผู้ก่อการร๊ายต่างชาติ ..ให้หมดไปจาก ภูมิภาคเรา  ลูกหินฮะ๛  29  742   วันนี้ เวลา 12:02
โดย คาคาชิ 
    ใหม่ขี้ข้าเหลี่ยมทำงานกันอย่างหนัก แต่แม้วก็ไม่ได้เป็นนายกอีก  RONALDO  11  127   วันนี้ เวลา 11:51
โดย ริวเซย์ 
    ใหม่สภาสัตว์เลื้อยคลาน-ฝนตกขี้มูกไหลคนจั***เข้าสภา  drop333  16  240   วันนี้ เวลา 11:30
โดย Şiłąncē Mőbiuş 
    ใหม่555+ ขำๆ กับเรื่อง...บวช...ทำใม?  Pig.Army  19  313   วันนี้ เวลา 09:31
โดย sanskritshower 
    ใหม่คุณรสนา โตสิตระกูล มาสมัคร สว กทม แล้ว  น้องแบ๊งค์เองครับ  9  157   วันนี้ เวลา 05:54
โดย น้องแบ๊งค์เองครับ 
    ใหม่...สภาโหด...นายกหอน...มาเฟียฮึ่ม!!!  CanCan  9  191   วันนี้ เวลา 03:39
โดย คิคิ 
    ใหม่สูตร แม้วต้มฟัก หมักต้มเปรต  คิคิ  3  71   วันนี้ เวลา 03:37
โดย คิคิ 
    @@@@@ โปรดฟังให้ดี ปรากฏการณ์ทางการเมืองใหม่ กำลังจะเกิดขึ้นในประเทศไทย @@@@@  ********Q********  9  156   วันนี้ เวลา 00:46
โดย ********Q******** 
    คมช. รัฐประหารเพราะทะเลาะวิวาทกับทักษิณเป็นการส่วนตัว....?  ปุถุชน  13  301   วันนี้ เวลา 00:41
โดย ปุถุชน 
    ใหม่โพลล์ชี้ รัฐบาลอยู่ไม่เกินปี  พรรณชมพู  9  162   เมื่อวานนี้ เวลา 23:55
โดย sak 
    หัวแถวของประเทศไทย ติดคดี กันอีกแล้ว...สมัคร ยุทธ สมชาย ฯลฯ  ********Q********  12  113   เมื่อวานนี้ เวลา 20:56
โดย ********Q******** 
    ***ชมรม"เสี่ยวอีสาน" ต้านทักษิณ*** &laquo; 1 2 ... 5 6 &raquo;  Scorpio6  573  9784   เมื่อวานนี้ เวลา 20:41
โดย ********Q******** 
    เสถียรภาพทางการเมือง  ********Q********  9  81   เมื่อวานนี้ เวลา 20:36
โดย ********Q******** 
    ทักษิณ กลับบ้านได้หรือยัง? พลังประชาชนไปถามให้ด้วย...!!  ********Q********  9  125   เมื่อวานนี้ เวลา 20:29
โดย ********Q******** 
    ตั้งกระทู้ไว้ติดตามเรื่องเศรษฐกิจฮะ  Albert Einsteins  20  234   เมื่อวานนี้ เวลา 20:15
โดย ********Q******** 
    เป็นฝ่ายค้านสร้างสรรค์ รอส้มหล่นดีกว่าครับ..เขียนแปะไว้ที่พี่เลี้ยงคนใดก็ได้  ********Q********  6  103   เมื่อวานนี้ เวลา 20:12
โดย ********Q******** 
    *************โปรดเกล้าฯ พ.ร.ฎ.เรียกประชุมรัฐสภานัดแรกพรุ่งนี้*************  ********Q********  4  45   เมื่อวานนี้ เวลา 20:01
โดย ********Q******** 
    ภาษาการเมืองวันละคำ วันนี้ ขอเสนอ คำว่า......สมานฉันท์สร้างชาติ &laquo; 1 2 ... 5 6 &raquo;  ********Q********  525  5372   เมื่อวานนี้ เวลา 19:51
โดย ********Q******** 
    ปํญหาภาคใต้ ปัญหาลับสมองสส.ปชป.และคนภาคใต้มากกว่าปัญหาอื่นๆเพราะมีคนไทยตายไปมาก &laquo; 1 2  ทั้งหมด &raquo;  ********Q********  159  1258   เมื่อวานนี้ เวลา 19:29
โดย ********Q******** 
    #3  ********Q********  1  44   เมื่อวานนี้ เวลา 19:21
โดย ********Q******** 
    ใครจะเป็นแม่ยก เทพเทือก อภิสิทธิ์ ชวน เตรียมตัวได้..ค้านตะบันระวังจะฝืดนะตัวเอง  ********Q********  13  220   เมื่อวานนี้ เวลา 19:20
โดย ********Q******** 
    ผมเชื่อกึ๋นทีมงานพลังประชาชนในภาพรวม มากกว่าประชาธิปัตย์ครับ แต่.......  ********Q********  60  1245   เมื่อวานนี้ เวลา 18:47
โดย ********Q******** 
    พลังประชาชนอาจถูกยุบพรรค ถ้ายังไม่สลัดภาพทักษิณ ออกจากอำนาจเหนือพรรค  ********Q********  24  385   เมื่อวานนี้ เวลา 18:41
โดย ********Q******** 
    อยากได้ตัวเก็งสส.ท่านใด มาเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร ชวนมาลงชื่อทำนายทายทักกันไว้*  ********Q********  51  578   เมื่อวานนี้ เวลา 18:27
โดย ********Q******** 
    โพลล์เสรีไทย เกี๋ยวกับบุคคลที่จะเป็นนายกฯ 1.19.51  ********Q********  14  138   เมื่อวานนี้ เวลา 18:23
โดย ********Q******** 
    ใหม่บุญรอด” เตือน พปช.เฟ้นคนคุมกลาโหมต้องฟังกองทัพ  พิเภกอินเตอร์  5  54   เมื่อวานนี้ เวลา 17:21
โดย พิเภกอินเตอร์ 


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 21:16

ผมตั้งข้อสังเกตว่า

บอร์ดสนทนาการเมือง กลายเป็นบอร์ดเล่นข่าว ตามกระแสไปแล้ว

ที่สำคัญ ข่าวของปชป.ไม่มีหรือมีน้อยมากจริงๆ

ขืนปล่อยอย่างนี้ต่อไป คงกลายเป็นพรรคอีแอบตัวจริงเสียงจริงไปแล้ว.. :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 21:23


รายชื่อสส.ปชป.ขณะนี้ทั้งหมด

มารอดูประวัติ แล้วก็พวกเขาจะทำอะไรต่อไป.. :slime_doubt:
http://mp.parliament.go.th/map2550/form_search.aspx





ที่ ชื่อ-สกุล พรรค แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง/แบบสัดส่วน วันที่มาแสดงตน ประวัติเผยแพร่
1  นายกรณ์ จาติกวณิช
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 2  7 ม.ค.51
   
 
2  นางกันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพังงา เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
3  นายกัมพล สุภาแพ่ง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดเพชรบุรี เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
4  นางสาวกัลยา รุ่งวิจิตรชัย
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสระบุรี เขตที่ 1  9 ม.ค.51
   
 
5  คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 8  4 ม.ค.51
   
 
6  นายโกวิทย์ ธารณา
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 11  7 ม.ค.51
   
 
7  นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 5  4 ม.ค.51
   
 
8  นายครรชิต ทับสุวรรณ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสมุทรสาคร เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
9  นายจุติ ไกรฤกษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพิษณุโลก เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
10  นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  8 ม.ค.51
   
 
11  นายจุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฏ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพังงา เขตที่ 1  6 ม.ค.51
   
 
12  นายเจริญ คันธวงศ์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 6  4 ม.ค.51
   
 
13  นายเจะอามิง โตะตาหยง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนราธิวาส เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
14  นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
15  นายเจือ ราชสีห์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
16  นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
17  นางสาวเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  7 ม.ค.51
   
 
18  นายชนินทร์ รุ่งแสง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 12  6 ม.ค.51
   
 
19  นายชวน หลีกภัย
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  8 ม.ค.51
   
 
20  นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตาก เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
21  นายชาญชัย อิสระเสนารักษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครนายก เขตที่ 1  21 ม.ค.51
   
 
22  นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  7 ม.ค.51
   
 
23  นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
24  นายชุมพล กาญจนะ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุราษฎร์ธานี เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
25  นายชุมพล จุลใส
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชุมพร เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
26  นายเชน เทือกสุบรรณ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุราษฎร์ธานี เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
27  นายฐนโรจน์ โรจนกุลเสฏฐ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
28  นางสาวณิรัฐกานต์ ศรีลาภ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดยโสธร เขตที่ 1  9 ม.ค.51
   
 
29  นายดนัย นพสุวรรณวงศ์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 4  9 ม.ค.51
   
 
30  นายไตรรงค์ สุวรรณคีรี
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  4 ม.ค.51
   
 
31  นายถวิล ไพรสณฑ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 10  4 ม.ค.51
   
 
32  นายถาวร เสนเนียม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
33  นายทศพร เทพบุตร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดภูเก็ต เขตที่ 1  10 ม.ค.51
   
 
34  นายทศพล เพ็งส้ม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนนทบุรี เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
35  นายทิวา เงินยวง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 6  5 ม.ค.51
   
 
36  นายเทพไท เสนพงศ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 2  5 ม.ค.51
   
 
37  นายเทอดพงษ์ ไชยนันทน์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 1  9 ม.ค.51
   
 
38  นายธนา ชีรวินิจ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 3  4 ม.ค.51
   
 
39  นายธนิตพล ไชยนันทน์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตาก เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
40  นายธวัชชัย อนามพงษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดจันทบุรี เขตที่ 1  8 ม.ค.51
   
 
41  นายธารา ปิตุเตชะ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดระยอง เขตที่ 2  7 ม.ค.51
   
 
42  นายธีระ สลักเพชร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตราด เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
43  นายธีระชาติ ปางวิรุฬห์รักษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชุมพร เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
44  นายเธียรชัย สุวรรณเพ็ญ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตาก เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
45  นายนคร มาฉิม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพิษณุโลก เขตที่ 2  5 ม.ค.51
   
 
46  นายนราพัฒน์ แก้วทอง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพิจิตร เขตที่ 1  11 ม.ค.51
   
 
47  นายนริศ ขำนุรักษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพัทลุง เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
48  นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 1  8 ม.ค.51
   
 
49  นางนันทพร วีรกุลสุนทร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 9  4 ม.ค.51
   
 
50  นางนาถยา เบ็ญจศิริวรรณ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 7  4 ม.ค.51
   
 
51  นายนาราชา สุวิทย์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 3  10 ม.ค.51
   
 
52  นายนิพนธ์ บุญญามณี
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  4 ม.ค.51
   
 
53  นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 7  8 ม.ค.51
   
 
54  นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพัทลุง เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
55  นางนิภา พริ้งศุลกะ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุราษฎร์ธานี เขตที่ 2  8 ม.ค.51
   
 
56  นายบรรจบ รุ่งโรจน์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
57  นายบัญญัติ เจตนจันทร์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดระยอง เขตที่ 2  7 ม.ค.51
   
 
58  นายบัญญัติ บรรทัดฐาน
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  10 ม.ค.51
   
 
59  นายบุญยอด สุขถิ่นไทย
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 4  4 ม.ค.51
   
 
60  นายประกอบ จิรกิติ
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 6  4 ม.ค.51
   
 
61  นายประกอบ รัตนพันธ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
62  นายประพนธ์ นิลวัชรมณี
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุราษฎร์ธานี เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
63  นายประพร เอกอุรุ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 1  8 ม.ค.51
   
 
64  นายประมวล พงศ์ถาวราเดช
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
65  นายประมวล เอมเปีย
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
66  นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดยะลา เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
67  นางสาวปรีชญา ขำเจริญ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดราชบุรี เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
68  นายปรีชา มุสิกุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกำแพงเพชร เขตที่ 1  9 ม.ค.51
   
 
69  นายปัญญวัฒน์ บุญมี
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 7  6 ม.ค.51
   
 
70  นายปารเมศ โพธารากุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกาญจนบุรี เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
71  นางสาวผ่องศรี ธาราภูมิ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดลพบุรี เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
72  นางผุสดี ตามไท
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 6  4 ม.ค.51
   
 
73  นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดจันทบุรี เขตที่ 1  9 ม.ค.51
   
 
74  นางพจนารถ แก้วผลึก
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
75  พลเอก พิชาญเมธ ม่วงมณี
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
76  นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกระบี่ เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
77  นางสาวพิมพ์ภัทรา วิชัยกุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 4  8 ม.ค.51
   
 
78  ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีรยศ ราฮิมมูลา
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  7 ม.ค.51
   
 
79  นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 3  4 ม.ค.51
   
 
80  นายพุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 2  7 ม.ค.51
   
 
81  นายไพฑูรย์ แก้วทอง
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 2  11 ม.ค.51
   
 
82  นายภุชงค์ รุ่งโรจน์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 5  7 ม.ค.51
   
 
83  นายมนตรี ปาน้อยนนท์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
84  พลตรี มนูญกฤต รูปขจร
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 7  8 ม.ค.51
   
 
85  นายมานิตย์ ภาวสุทธิ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
86  นางมาลินี สุขเวชชวรกิจ
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 2  5 ม.ค.51
   
 
87  นายไมตรี สอยเหลือง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 2  6 ม.ค.51
   
 
88  นายยุคล ชนะวัฒน์ปัญญา
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดจันทบุรี เขตที่ 1  8 ม.ค.51
   
 
89  นางสาวรังสิมา รอดรัศมี
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสมุทรสงคราม เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
90  นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 3  4 ม.ค.51
   
 
91  นางสาวรัชดา ธนาดิเรก
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 12  6 ม.ค.51
   
 
92  นายเรวัต อารีรอบ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดภูเก็ต เขตที่ 1  10 ม.ค.51
   
 
93  นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 2  5 ม.ค.51
   
 
94  นายวรงค์ เดชกิจวิกรม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพิษณุโลก เขตที่ 1  6 ม.ค.51
   
 
95  นายวัชรพงศ์ คูวิจิตรสุวรรณ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสระบุรี เขตที่ 2  9 ม.ค.51
   
 
96  นายวิชัย ล้ำสุทธิ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดระยอง เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
97  นายวิฑูรย์ นามบุตร
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 4  9 ม.ค.51
   
 
98  นายวิทยา แก้วภราดัย
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 3  8 ม.ค.51
   
 
99  พันเอก วินัย สมพงษ์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 5  4 ม.ค.51
   
 
100  นายวินัย เสนเนียม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
101  นายวิรัช ร่มเย็น
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดระนอง เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
102  นายวิรัตน์ กัลยาศิริ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
103  นายวิรัตน์ วิริยะพงษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุโขทัย เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
104  นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 9  6 ม.ค.51
   
 
105  พลตำรวจตรี วีระ อนันตกูล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 3  5 ม.ค.51
   
 
106  นายวุฒิพงษ์ นามบุตร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดอุบลราชธานี เขตที่ 1  9 ม.ค.51
   
 
107  นายศิริโชค โสภา
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 3  4 ม.ค.51
   
 
108  นายศุภชัย ศรีหล้า
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดอุบลราชธานี เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
109  นายสกลธี ภัททิยกุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 4  4 ม.ค.51
   
 
110  นายสงกรานต์ จิตสุทธิภากร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครสวรรค์ เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
111  นายสมเกียรติ ฉันทวานิช
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
112  นายสมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 5  9 ม.ค.51
   
 
113  นายสมควร โอบอ้อม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครสวรรค์ เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
114  นายสมชาย โล่สถาพรพิพิธ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตรัง เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
115  นายสมบัติ ยะสินธุ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดแม่ฮ่องสอน เขตที่ 1  13 ม.ค.51
   
 
116  นายสมบัติ สิทธิกรวงศ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนนทบุรี เขตที่ 2  5 ม.ค.51
   
 
117  นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตรัง เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
118  นายสมัย เจริญช่าง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 6  4 ม.ค.51
   
 
119  นายสรรเสริญ สมะลาภา
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 3  4 ม.ค.51
   
 
120  นายสรวุฒิ เนื่องจำนงค์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 3  4 ม.ค.51
   
 
121  นายสราวุธ อ่อนละมัย
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชุมพร เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
122  นายสัมพันธ์ ตั้งเบญจผล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุโขทัย เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
123  นายสัมพันธ์ ทองสมัคร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
124  นายสาคร เกี่ยวข้อง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกระบี่ เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
125  นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตรัง เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
126  นายสาธิต ปิตุเตชะ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดระยอง เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
127  นายสามารถ พิริยะปัญญาพร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดราชบุรี เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
128  นายสามารถ มะลูลีม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 8  8 ม.ค.51
   
 
129  นายสามารถ ราชพลสิทธิ์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
130  นายสำราญ ศรีแปงวงค์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกำแพงเพชร เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
131  นายสินิตย์ เลิศไกร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุราษฎร์ธานี เขตที่ 2  8 ม.ค.51
   
 
132  นายสุกิจ อัถโถปกรณ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตรัง เขตที่ 1  8 ม.ค.51
   
 
133  นายสุขวิชชาญ มุสิกุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกำแพงเพชร เขตที่ 1  9 ม.ค.51
   
 
134  หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 6  7 ม.ค.51
   
 
135  นายสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 8  8 ม.ค.51
   
 
136  นายสุทัศน์ เงินหมื่น
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 3  7 ม.ค.51
   
 
137  นายสุเทพ เทือกสุบรรณ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุราษฎร์ธานี เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
138  นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสมุทรสาคร เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
139  นางสาวสุพัชรี ธรรมเพชร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพัทลุง เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
140  นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 4  17 ม.ค.51
   
 
141  นายสุรสิทธิ์ ตรีทอง
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
142  นายสุรันต์ จันทร์พิทักษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 9  6 ม.ค.51
   
 
143  นายสุวโรช พะลัง
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 7  4 ม.ค.51
   
 
144  นายองอาจ คล้ามไพบูลย์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 12  6 ม.ค.51
   
 
145  นายอนุชา บูรพชัยศรี
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 2  5 ม.ค.51
   
 
146  นายอภิชาต การิกาญจน์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 3  11 ม.ค.51
   
 
147  นายอภิชาต ศักดิเศรษฐ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
148  นายอภิชาติ สุภาแพ่ง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดเพชรบุรี เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
149  หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 1  6 ม.ค.51
   
 
150  นายอภิวัฒน์ เงินหมื่น
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดอำนาจเจริญ เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
151  นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 6  4 ม.ค.51
   
 
152  นายอรรถพร พลบุตร
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 7  4 ม.ค.51
   
 
153  นายอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 4  4 ม.ค.51
   
 
154  นางสาวอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
155  นางอรอนงค์ คล้ายนก
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 11  4 ม.ค.51
   
 
156  นายอลงกรณ์ พลบุตร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดเพชรบุรี เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
157  นายอสิ มะหะมัดยังกี
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสตูล เขตที่ 1  8 ม.ค.51
   
 
158  นายอัฏฐพล โพธิพิพิธ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกาญจนบุรี เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
159  นายอันวาร์ สาและ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดปัตตานี เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
160  นายอับดุลการิม เด็งระกีนา
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดยะลา เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
161  นายอาคม เอ่งฉ้วน
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกระบี่ เขตที่ 1  6 ม.ค.51
   
 
162  นายอิสมาแอล เบญอิบรอฮีม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดปัตตานี เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
163  นายอิสสระ สมชัย
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดอุบลราชธานี เขตที่ 4  9 ม.ค.51
   
 
164  นายฮอชาลี ม่าเหร็ม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสตูล เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 











หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: เล่าปี๋ ที่ 25-01-2008, 21:44

  พี่คิวครับ ความคิดผมนะ การเล่นการเมือง

ก็คล้ายเหมือนนักแสดง  บางครั้งงานการแสดงก็เยอะ

จนไม่มีเวลาพักผ่อน  บางครั้งก็ตกงานหรืองานแสดงน้อย

น่าจะเปรียบได้กับพรรค ปชป. ที่มีทั้งรุ่งและทั้งร่วง

นักการแสดงหรือนักการเมือง ผมก็ว่ามาแบบเดียวกันครับ

แหะๆ ไม่ทราบตอบตรงกระทู้หรือปล่าวครับ
  :slime_smile2:






หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 21:45
http://www.democrat.or.th/viewnews.asp?id_head=8748&id_main=63.141&p=0&ca=62&mt=181.19.210.141&st=172.102.168.190.167.250.47.206

ที่ผ่านมา พรรคประชาธิปัตย์ได้พบปะกลุ่มนักธุรกิจกลุ่มต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรมขนาดกลาง ขนาดย่อม และภาคเกษตร สิ่งที่ได้ยินมาส่วนใหญ่จะพบว่ากลุ่มคนเหล่านั้นไม่ได้คาดหวังในเรื่องการเมือง แต่จะคาดหวังในสภาวะเศรษฐกิจที่กำลังเกิดวิกฤตในขณะนี้ และนี่จึงเป็นเหตุผลที่เชิญนักธุรกิจมาแลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์ เพื่อจะนำข้อสรุปที่ได้ไปกำหนดทิศทางเศรษฐกิจให้เดินไปข้างหน้าได้ โดยรัฐบาลหลังการเลือกตั้ง จะต้องเปลี่ยนบทบาทภาครัฐ แก้ไขมาตรการต่างๆ เพราะวันนี้รัฐบาลไทยไม่อยู่ในฐานะที่ต้องหลบซ่อน ดังนั้น ต้องทบทวนบทบาทและหน้าที่ตนเอง

และสิ่งที่รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งต้องเร่งทำ หรือ "ก้าวใหม่ของเศรษฐกิจไทย" คือ

๑.การเปลี่ยนบทบาทของรัฐ เร่งแก้ไขมาตรการปัจจุบัน โดยรัฐจะต้องเปลี่ยนจากผู้ควบคุมมาเป็นผู้กำกับดูแล ประกอบกับการส่งสัญญาณใหม่ เร่งแก้ไขมาตรการปัจจุบันที่เป็นอุปสรรค และสิ่งที่จำเป็นต้องเร่งทำคือ การยกเลิกมาตรการธนาคารแห่งประเทศไทย ๓๐% และยุติการแก้ไขกฎหมายธุรกิจคนต่างด้าว

๒.รัฐจะต้องดึงจุดแข็งและทรัพยากรของประเทศมาใช้อย่างเต็มที่ โดยใช้วิธีการเพิ่มมูลค่าให้ผลิตภัณฑ์และบริการของประเทศ กำหนดยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบการกระจายสินค้าระดับภูมิภาคและระดับโลก อีกทั้ง จำเป็นที่จะต้องกระตุ้นการต่อยอดจากการรับจ้างผลิตสินค้า



๓.สร้างเศรษฐกิจฐานการเรียนรู้ ซึ่งทางพรรคประชาธิปัตย์จะเน้นเรื่องการศึกษา ให้เป็นไปตามวาระประชาชนที่เด็กไทยทุกคนจะต้องมีโอกาสเรียนฟรีจริง พร้อมด้วยการส่งเสริมหลักสูตร ๒ ภาษา นอกจากนี้ ภาครัฐจะต้องร่วมมือกับภาคเอกชน ทำความเข้าใจลักษณะธุรกิจไทย และความต้องการบุคลากร และบริษัทเอกชน ภาครัฐและมหาวิทยาลัยจะต้องร่วมมือในการสร้างโปรแกรมทุนการศึกษาบริษัท อย่างไรก็ตาม ต้องไม่ทิ้งการสร้างนวัตกรรมและการใช้วิจัยเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ



๔.ลดต้นทุนธุรกิจ เพิ่มผลิตภาพ (Productivity) ในทุกมิติของเศรษฐกิจไทย โดยโปรแกรมส่วนองค์ประกอบเศรษฐกิจ และต้องมุ่งไปสู่โปรแกรมส่วนภาคเศรษฐกิจ ทั้งภาคเกษตร บริการ และอุตสาหกรรม และโปรแกรมส่วนภูมิภาค



นอกจากนี้ ภาครัฐจำเป็นต้องพัฒนาโครงสร้างที่อำนวยต่อเศรษฐกิจ อันได้แก่ การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานเศรษฐกิจ เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันของเศรษฐกิจไทย โดยจะต้องมีการประเมินค่าใช้จ่ายสำหรับโครงการหลักทั้งหมดภายใน ๕ ปี ระบบชลประทาน ๓ แสนล้านบาท ระบบรถไฟ ๒ แสนล้านบาท และระบบขนส่งมวลชน ๒.๕ แสนล้านบาท ผมเชื่อว่าประเทศไทยเรามีกำลังเงินมากเพียงพอสำหรับการลงทุนในโครงการเหล่านี้ รวมไปถึงยกเลิกกฎหมายที่กีดกันการแข่งขัน และพัฒนาโครงสร้างธุรกิจ ด้านเทคโนโลยี



นอกจากนี้จะต้องมีการลงทุนในระบบสื่อสาร และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อยกระดับประเทศไทยสู่เทคโนโยลีอนาคต สร้าง Broadband / ๓G / Wiremax และเด็กนักเรียนไทยจะต้องมีโอกาสได้ใช้คอมพิวเตอร์ ในสัดส่วนคอมพิวเตอร์ ๑ เครื่องต่อนักเรียน ๑๐ คน ภายใน ๔ ปี



ในส่วนของภาษีและงบประมาณ การแบ่งงบฯจะต้องมีประสิทธิภาพ ขจัดเรื่องการทุจริตคอร์รัปชั่น โดยการจัดทำระบบสวัสดิการคนไทยให้มีความชัดเจนโปร่งใส ต้องมีกรอบ กำหนดเรื่องที่เกี่ยวข้อง เช่นงบประมาณที่ใช้เกี่ยวกับการเรียนฟรี เบี้ยผู้สูงอายุ ต้องประเมินกำหนดกรอบ เพื่อไม่ให้เป็นภาระของรัฐบาล อีกทั้ง ระบบต้องง่าย ภาษีไม่สูง และจะต้องมีนโยบายบริหารงบประมาณ อาทิ การใช้งบประมาณรัฐลงทุนในโครงสร้างเศรษฐกิจที่ไม่มีผลตอบแทนทางธุรกิจ และนโยบายบริหารภาษี โดยการปรับระบบภาษีให้ง่าย และสะดวกต่อผู้ประกอบการ "ลดภาษีนิติบุคคลจาก ๓๐ เปอร์เซ็นต์ เหลือ ๒๕ เปอร์เซ็นต์"



ความมีประสิทธิภาพของภาครัฐ โดยจะต้องเดินหน้าเข้าหาประชาชน และควบรวมหน่วยงานต่างๆ ของภาครัฐ สร้าง Single gateway เพื่ออำนวยความสะดวกให้นักธุรกิจไทย ให้คำแนะนำและความช่วยเหลือที่ถูกต้องและรวดเร็ว อีกทั้งจะต้องปฏิรูประบบข้าราชการ ต้องเปลี่ยนวิธีการทำงานของราชการคือ ปรับบทบาทหน่วยงานบริการภาครัฐ เหลือจุดเดียวที่เอกชน เพื่อลดความซ้ำซ้อนในหน่วยงาน และ การดำเนินการทุกขั้นตอนจะต้องรวดเร็ว และที่สำคัญกำหนดทิศทางนโยบายต่างๆ ภาครัฐต้องเดินเข้าหาภาคเอกชน เพื่อทำประโยชน์ให้กับประชาชนมากที่สุด



นอกจากนี้จะต้องมีการพัฒนาโครงสร้างตลาดเงินและตลาดทุนอย่างต่อเนื่อง มีมาตรการให้ธุรกิจเป็นสินค้าของตลาดทุน หรือตลาดหลักทรัพย์



ทั้งนี้ พรรคประชาธิปัตย์ ยังมีเป้าหมายที่จะผลักดันให้เศรษฐกิจแข็งแกร่ง และเติบโตอย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วย
 
๑.ลดต้นทุนการขนส่ง ๒๕-๓๐%

๒.รายได้จากการท่องเที่ยว และภาคบริการจะต้อเพิ่มขึ้นเท่าตัว ภายใน ๔ ปี โดยจะต้องไม่ได้ทำลายสิ่งแวดล้อม พร้อมส่งเสริมธุรกิจท่องเที่ยวให้เฟื่องฟู บนพื้นฐานของสิ่งแวดล้อมที่ดี

๓.รายได้เกษตรจะต้องเพิ่มขึ้น ๔๐-๕๐% ภายใน ๔ ปี จากการเพิ่มผลผลิตและการขยายการเกษตรภาคอุตสาหกรรม

๔.เพิ่มศักยภาพเศรษฐกิจไทย ไปสู่อัตราเติบโต ๗-๘% อย่างสม่ำเสมอ



ส่วนความเป็นอยู่ของคนไทย "พรรคประชาธิปัตย์" เราอยากเห็น

๑.สร้างงานปีละ ๔๐๐,๐๐๐ ตำแหน่ง

๒.รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้น ๓,๐๐๐ เหรียญสหรัฐ

๓.การศึกษาจะต้องฟรีจริง จนจบมัธยมศึกษาตอนปลาย

๔.คนไทยต้องได้รับการศึกษาฟรี และมีคลีนิคใกล้บ้าน

๕.และจะต้องมีสวัสดิการทั่วถึง



ผมเชื่อว่าสิ่งเหล่านี้เกิดได้ แต่การเมืองต้องดี ต้องสุจริต และต้องก้าวหน้าไปพร้อมกับกับภาคธุรกิจเอกชน

คำถามจากนักธุรกิจ



นโยบายรูปธรรม

นายอภิสิทธิ์ : สิ่งที่พรรคประชาธิปัตย์เสนอ แม้จะเป็นนโยบายในระยะยาวตั้งแต่ ๔ ปีขึ้นไป แต่ไม่ได้หมายความว่า จะไม่สนใจในการแก้ปัญหาระยะสั้น เพราะรัฐบาลหน้าจำเป็นต้องใช้ผลงาน โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ จึงจะทำให้รัฐบาลสามารถอยู่รอดได้



สำหรับ แนวทางระยะสั้นเท่าที่สามารถจะเปิดเผยได้ขณะนี้คือ จะยกเลิกมาตรการกันสำรอง ๓๐% และ พ.ร.บ.การประกอบธุรกิจคนต่างด้าว ซึ่งเชื่อว่าจะสามารถกระตุ้นให้นักลงทุนทั้งไทยและต่างประเทศเกิดความมั่นใจในธุรกิจไทยได้มากขึ้น ขณะเดียวกันธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) และกระทรวงการคลังในสมัยหน้าจะต้องทำงานร่วมกันให้เป็นระบบ เพื่อให้ประชาชนและภาคเอกชนที่จับตาดูอยู่เกิดความแน่ใจ และเป็นการส่งสัญญาณทางเศรษฐกิจได้อย่างมีเสถียรภาพ



ผมยังได้มอบหมายให้คณะทำงานไปดูงบประมาณปี ๒๕๕๑ ของรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์แล้วเพื่อเตรียมไว้ว่าตรงไหนที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้บ้าง ซึ่งจะสามารถบอกได้ว่า ๖-๗ เดือนจะสามารถทำอะไรออกมาได้บ้าง



ขุนพลเศรษฐกิจ

นายอภิสิทธิ์ :ยังไม่รู้ว่ารัฐบาลหลังการเลือกตั้งจะเป็นรัฐบาลผสมแบบไหน เป็นเรื่องยากที่จะไปประกาศล่วงหน้าว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ แต่สิ่งที่ผมพูดไปทั้งหมด เป็นเรื่องที่เราทำงานกันเป็นทีม และสำคัญที่สุดในการคัดเลือกรัฐมนตรีในใจของตนคือคนที่เข้าใจ เชื่อและพร้อมที่จะผลักดันวาระประชาชน ผมไม่ได้คิดว่าวันนี้เราต้องการคนเด่นคนดัง เมื่อเข้ามาแล้วปรากฏว่า ๖ เดือนผ่านไปยังตกลงกันไม่ได้ว่าจะทำอะไร สิ่งสำคัญคือ ผมจะเอาคนที่เข้าใจเริ่มวันแรกก็รู้ว่าต้องทำอะไร ซึ่งในพรรคประชาธิปัตย์ก็มีคนจำนวนหนึ่งแล้วมีคนข้างนอก ซึ่งตนได้พูดคุยอยู่กับบางส่วน ส่วนจะเป็นใครไม่สามารถตอบได้ แต่หลักสำคัญคือ มีความเป็นเอกภาพ และพร้อมที่จะผลักดันความคิดที่ตรงกัน และเป็นหน้าที่ของคนที่เป็นผู้นำที่ต้องทำให้สิ่งนี้เกิดขึ้น



และคำพูดวันนี้ก็จะเป็นคำพูด ทุกคนที่ก้าวเข้าสู่ตำแหน่ง ก็จะให้ความมั่นใจเสมอว่าจะคงความเป็นตัวของตัวเอง แต่สุดท้ายหลายคนก็ผิดเพี้ยนไป เพราะฉะนั้นไม่มีอะไรที่พิสูจน์ได้นอกจากกาลเวลา

(หมายเหตุ : พรรคประชาธิปัตย์ ได้จัดงาน "ก้าวใหม่เศรษฐกิจไทย" โดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และแกนนำพรรค ได้เชิญคณะทูตพาณิชย์จากประเทศต่างๆ และนักธุรกิจไทยและเทศกว่า 300 คน มาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี รอยัล เมอริเดียน กรุงเทพฯ - มติชน ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๐)


   เมื่อวันที่ 19 ต.ค. 2550 22:54:47


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 21:54

  พี่คิวครับ ความคิดผมนะ การเล่นการเมือง

ก็คล้ายเหมือนนักแสดง  บางครั้งงานการแสดงก็เยอะ

จนไม่มีเวลาพักผ่อน  บางครั้งก็ตกงานหรืองานแสดงน้อย

น่าจะเปรียบได้กับพรรค ปชป. ที่มีทั้งรุ่งและทั้งร่วง

นักการแสดงหรือนักการเมือง ผมก็ว่ามาแบบเดียวกันครับ

แหะๆ ไทราบตอบตรงกระทู้หรือปล่าวครับ
  :slime_smile2:



คุยได้ครับ...

ตอนนี้ปชป.เป็นฝ่ายค้าน สามสมัยติดกันแล้ว

ชวนว่า รัฐบาลผสม ก็แข่งกันทำงานได้..

ฝ่ายค้านไม่เหมือนนักแสดง ไม่จำเป็นต้องเล่นตามบทแคบๆ

นักการเมืองต้องมองกว้าง และมีศักยภาพครับ ทั้งด้านกฎหมาย และการผลักดันนโยบาย หรืองานตามกรอบนโยบาย

การคัดค้านนโยบายที่ไม่ถูกต้องอย่างเข้มแข็งมีเหตุผล


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: so what? ที่ 25-01-2008, 21:57
ผมมองต่างจากคุณคิวครับ

สภาพปากอดีตถึงปัจจุบัน พรรคประชาธิปัตย์มีความเป็นสถาบันมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่มีอยู่นี้แล้วครับ นายอภิสิทธิ์ นายบรรญัติ นายชวน นายสุรินทร์ ฯลฯ คนเหล่านี้เกิดและเติบโตมากับพรรค แล้วถึงเวลาก็ก้าวขึ้นมาเป็นหัวหน้าพรรค การเติบโตในพรรคปชป.ก็เป็นไปตามระบบ มีขั้นตอนของมัน พวกที่ทนรอไม่ไหวหรือคิดว่าตัวเองไม่มีลุ้นก็เปิดตูดหนีออกไป ส่วนพรรคร้อยพ่อพันแม่พวก สามัคคีธรรม ชพน. ควม. ทรท. พปช. ฯลฯ ที่เกิดจากการรวมตัวของผู้มีอิทธิพลในแต่ละพื้นที่ เพื่อสนับสนุนคนที่ตัวเองคิดว่ามีเงินจ่ายและมีสิทธิ์ได้เป็นผู้นำตั้งรัฐบาล แล้วส่วนใหญ่พวกที่อยู่ปชป.ไม่ได้ก็แห่ไปอยู่ในพรรคร้อยพ่อพันแม่ที่ว่าแหละครับ ลองถ้าปชป.มีเงินแล้วกล้าเอาเงินออกมามาซื้อตัวพวกนักย้ายพรรคอาชีพสิครับ ยังไงก็ผูกปีเป็นรัฐบาล

เหตุที่ปชป.ไม่ได้รับความนิยมจากชาวรากหญ้ามากนักก็เพราะไม่กล้าออกแคมเปญหวือหวาเอาใจรากหญ้าโดยที่รู้ว่าทำไม่ได้หรือว่าทำไปแล้วหายนะจะตามมา การพูดของคนอย่างนายชวนหรือนายอภิสิทธิ์ คนรากหญ้าส่วนใหญ่ฟังไม่เข้าใจเพราะมันเป็นหลักการกว้างๆและค่อนข้างเป็นนามธรรมครับ แต่ไม่ใช่ไม่อยู่บนพื้นฐานความจริงครับ ที่ผมให้เครดิตปชป.ทั้งที่เพิ่งเริ่มมาเลือกปชป.เมื่อสมัยที่พลอ.ชวลิตได้เป็นนายกฯเมื่อปี 39 เท่านั้น ก็เพราะพวกเขายอมปักหลักเป็นฝ่ายค้านโดยไม่ร่วมผสมพันธุ์กับขั้วตรงข้าม เท่านั้นจริงๆครับ

ตอนนี้ผมว่าไม่ต้องไปห่วงว่าปชป.จะทำอะไรหรอกครับ เค้ามีหน้าที่ก็ค้านของเค้าไป ผมเห็นรัฐบาลแต่ละยุคที่พังก็พังเพราะตัวเองทั้งนั้น ฝ่ายค้านไม่เคยล้มรัฐบาลหรือทำให้นโยบายรัฐบาลเพี้ยนไปได้ครับ ถ้าไม่เอาเรื่องจริงมาค้านถึงเวลาก็แพ้ภัยไปเอง ทางที่ดีเราควรเอาเวลาไปคอยตรวจสอบดูว่าสมัครกับสมุนทักษิณจะสร้างความอิ๊บอ๋ายให้ประเทศชาติยังไงน่าจะเท่กว่าเยอะครับ

ที่จริงอยากเขียนมากกว่านี้แต่ความสามารถในการพิมพ์จำกัดครับ

:slime_smile2:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 21:58
คุยได้ครับ...

ตอนนี้ปชป.เป็นฝ่ายค้าน สามสมัยติดกันแล้ว

ชวนว่า รัฐบาลผสม ก็แข่งกันทำงานได้..

ฝ่ายค้านไม่เหมือนนักแสดง ไม่จำเป็นต้องเล่นตามบทแคบๆ

นักการเมืองต้องมองกว้าง และมีศักยภาพครับ ทั้งด้านกฎหมาย และการผลักดันนโยบาย หรืองานตามกรอบนโยบาย

การคัดค้านนโยบายที่ไม่ถูกต้องอย่างเข้มแข็งมีเหตุผล

ที่สำคัญต้องมีข้อมูลในพื้นที่ของตน เอามาบอกปัญหาและวิธีแก้ไขในระดับกรรมาธิการ หรือสภา ตลอดจนตรวจสอบรัฐบาลในด้านต่างๆ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: เล่าปี๋ ที่ 25-01-2008, 22:05

   ต่ออีกนิดครับ  เที่ยวนี้พรรค ปชป.ได้ สส.รวมแล้ว 160 กว่าเสียง

มากที่สุดเท่าที่ตั้งพรรคมา  นักการเมืองถ้าแสดงได้ทั้งบทฝ่ายรัฐบาล

หรือบทพรรคฝ่ายค้าน  ผมคิดว่าน่าจะต้องทำหน้าที่ให้ดีที่สุด คือ

เหมือนนักแสดง  ที่ต้องเล่นได้ทุกบทบาทครับ  อีกอย่างพรรคตั้งมา

หกสิบกว่าปี  กับประชาธิปไตยที่ รัชกาลที่ 7 พระองค์ทรงมอบไว้ให้

75 - 76 ปี  ก็ยังพายเรือวนเวียนเหมือนกับพายเรืออยู่ในอ่าง ไปไม่ถึงไหนเลยครับ
:slime_hmm:




หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 22:10
ผมมองต่างจากคุณคิวครับ

สภาพปากอดีตถึงปัจจุบัน พรรคประชาธิปัตย์มีความเป็นสถาบันมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่มีอยู่นี้แล้วครับ นายอภิสิทธิ์ นายบรรญัติ นายชวน นายสุรินทร์ ฯลฯ คนเหล่านี้เกิดและเติบโตมากับพรรค แล้วถึงเวลาก็ก้าวขึ้นมาเป็นหัวหน้าพรรค การเติบโตในพรรคปชป.ก็เป็นไปตามระบบ มีขั้นตอนของมัน พวกที่ทนรอไม่ไหวหรือคิดว่าตัวเองไม่มีลุ้นก็เปิดตูดหนีออกไป ส่วนพรรคร้อยพ่อพันแม่พวก สามัคคีธรรม ชพน. ควม. ทรท. พปช. ฯลฯ ที่เกิดจากการรวมตัวของผู้มีอิทธิพลในแต่ละพื้นที่ เพื่อสนับสนุนคนที่ตัวเองคิดว่ามีเงินจ่ายและมีสิทธิ์ได้เป็นผู้นำตั้งรัฐบาล แล้วส่วนใหญ่พวกที่อยู่ปชป.ไม่ได้ก็แห่ไปอยู่ในพรรคร้อยพ่อพันแม่ที่ว่าแหละครับ ลองถ้าปชป.มีเงินแล้วกล้าเอาเงินออกมามาซื้อตัวพวกนักย้ายพรรคอาชีพสิครับ ยังไงก็ผูกปีเป็นรัฐบาล

เหตุที่ปชป.ไม่ได้รับความนิยมจากชาวรากหญ้ามากนักก็เพราะไม่กล้าออกแคมเปญหวือหวาเอาใจรากหญ้าโดยที่รู้ว่าทำไม่ได้หรือว่าทำไปแล้วหายนะจะตามมา การพูดของคนอย่างนายชวนหรือนายอภิสิทธิ์ คนรากหญ้าส่วนใหญ่ฟังไม่เข้าใจเพราะมันเป็นหลักการกว้างๆและค่อนข้างเป็นนามธรรมครับ แต่ไม่ใช่ไม่อยู่บนพื้นฐานความจริงครับ ที่ผมให้เครดิตปชป.ทั้งที่เพิ่งเริ่มมาเลือกปชป.เมื่อสมัยที่พลอ.ชวลิตได้เป็นนายกฯเมื่อปี 39 เท่านั้น ก็เพราะพวกเขายอมปักหลักเป็นฝ่ายค้านโดยไม่ร่วมผสมพันธุ์กับขั้วตรงข้าม เท่านั้นจริงๆครับ

ตอนนี้ผมว่าไม่ต้องไปห่วงว่าปชป.จะทำอะไรหรอกครับ เค้ามีหน้าที่ก็ค้านของเค้าไป ผมเห็นรัฐบาลแต่ละยุคที่พังก็พังเพราะตัวเองทั้งนั้น ฝ่ายค้านไม่เคยล้มรัฐบาลหรือทำให้นโยบายรัฐบาลเพี้ยนไปได้ครับ ถ้าไม่เอาเรื่องจริงมาค้านถึงเวลาก็แพ้ภัยไปเอง ทางที่ดีเราควรเอาเวลาไปคอยตรวจสอบดูว่าสมัครกับสมุนทักษิณจะสร้างความอิ๊บอ๋ายให้ประเทศชาติยังไงน่าจะเท่กว่าเยอะครับ

ที่จริงอยากเขียนมากกว่านี้แต่ความสามารถในการพิมพ์จำกัดครับ

:slime_smile2:


ผมตั้งข้อสังเกตว่าปชป.เป็นพรรคที่ไม่มีประสิทธิภาพพอจะชนะเลือกตั้งได้เสียงข้างมากของสภาจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวในเมืองไทยได้

จากตลอดระยะเวลาหกสิบปีได้และคงจะตลอดไปต่อจากนี้ครับ แล้วก็ที่เป็นฝ่ายค้านและไม่มีเงินทุนหนุนเพราะนายทุนเห็นแล้วว่าเป็นเช่นนั้น

นายทุนทั่วไป ไม่ใช่นายทุนการเมืองมากมายอะไรนัก เพราะผู้สมัครสส.ทุกคนต้องอาศัยทุนในการลงแข่งขันพอๆกันมาตลอด

ทุนการเมืองก็ต้องอาศัยตัวนักการเมืองที่มีเสียงดีอยู่แล้ว การกวาดต้อนสส.ถึงแม้มีทุนถ้าสส. ไม่เอาด้วยก็ยากครับ..

ส่วนจะไปคิดว่าสส.ขายตัวทั้งหมด คงไม่ใช่ มีพอๆกันทุกภาค  หากสส.ไม่ใกล้ชิดชาวบ้านโอกาสได้รับเลือกก็คงไม่มีเหมือนกัน ต้องมีผลงาน..

แล้วก็ขยายผลงานที่เห็นเป็นรูปธรรมได้ สม่ำเสมอ

ต้องถามว่าทำไมปชป.ไม่มัคนบริจาคให้มากเท่าหรือมากกว่าพรรคอื่นๆมากกว่าครับ :slime_doubt:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: so what? ที่ 25-01-2008, 22:16

ผมตั้งข้อสังเกตว่าปชป.เป็นพรรคที่ไม่มีประสิทธิภาพพอจะชนะเลือกตั้งได้เสียงข้างมากของสภาจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวในเมืองไทยได้

จากตลอดระยะเวลาหกสิบปีได้และคงจะตลอดไปต่อจากนี้ครับ แล้วก็ที่เป็นฝ่ายค้านและไม่มีเงินทุนหนุนเพราะนายทุนเห็นแล้วว่าเป็นเช่นนั้น

นายทุนทั่วไป ไม่ใช่นายทุนการเมืองมากมายอะไรนัก เพราะผู้สมัครสส.ทุกคนต้องอาศัยทุนในการลงแข่งขันพอๆกันมาตลอด

ทุนการเมืองก็ต้องอาศัยตัวนักการเมืองที่มีเสียงดีอยู่แล้ว การกวาดต้อนสส.ถึงแม้มีทุนถ้าสส. ไม่เอาด้วยก็ยากครับ..

ส่วนจะไปคิดว่าสส.ขายตัวทั้งหมด คงไม่ใช่ มีพอๆกันทุกภาค  หากสส.ไม่ใกล้ชิดชาวบ้านโอกาสได้รับเลือกก็คงไม่มีเหมือนกัน ต้องมีผลงาน..

แล้วก็ขยายผลงานที่เห็นเป็นรูปธรรมได้ สม่ำเสมอ

ต้องถามว่าทำไมปชป.ไม่มัคนบริจาคให้มากเท่าหรือมากกว่าพรรคอื่นๆมากกว่าครับ :slime_doubt:


อันนี้ตอบไม่ยากครับ การบริจาคเงินให้พรรคการเมืองผู้บริจาครายใหญ่ๆส่วนใหญ่เค้ามีเงื่อนไขเยอะครับ ปชป.จะรับเงินเค้ามาคงต้องมีสัญญิงสัญญาให้เค้า ถามว่าปชป.รับได้ทุกเงื่อนไขมั้ย ผมเชื่อว่ายากครับ 

อย่างพรรคทรท.ตอนนั้นคงไม่ต้องให้บอกนะครับ ว่าเงินบริจาคมาจากไหน
   :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 22:16
  ต่ออีกนิดครับ  เที่ยวนี้พรรค ปชป.ได้ สส.รวมแล้ว 160 กว่าเสียง

มากที่สุดเท่าที่ตั้งพรรคมา  นักการเมืองถ้าแสดงได้ทั้งบทฝ่ายรัฐบาล

หรือบทพรรคฝ่ายค้าน  ผมคิดว่าน่าจะต้องทำหน้าที่ให้ดีที่สุด คือ

เหมือนนักแสดง  ที่ต้องเล่นได้ทุกบทบาทครับ  อีกอย่างพรรคตั้งมา

หกสิบกว่าปี  กับประชาธิปไตยที่ รัชกาลที่ 7 พระองค์ทรงมอบไว้ให้

75 - 76 ปี  ก็ยังพายเรือวนเวียนเหมือนกับพายเรืออยู่ในอ่าง ไปไม่ถึงไหนเลยครับ
:slime_hmm:





ถ้าเล่นผิดบท ก็อาจจะเสียฐานผู้สนับสนุนเดิม ปชป.ติดกับตัวเองครับ..จึงเหมือนอยู่รอดพรรคเดียว พายเรืออยู่ในอ่างคนเดียว

จะเห็นว่า คราวก่อน ทรท.ได้ 377 เสียง จึงได้เหิมเกริมมาก พลังประชาชนก็ได้ถึงสองร้อยสามสิบกว่าเสียง

แสดงว่า พปช.ปรับตัวได้ดีกว่าปชป.มาก เริ่มต้นก็เหนือกว่ากินขาดแล้วครับ อยู่ที่เขาจะใช้เสียงที่ได้มาทำงานอย่างไร?


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: soco ที่ 25-01-2008, 22:25
อยากดูผลงานรัฐบาล ปชป.มากกว่าค่ะ ว่าแก้ปัญหาภาคใต้ได้หรือเปล่า ไม่ใช่โยนความผิดให้กับบุคคลในพื้นที่ หรือ สส.ฝ่ายค้าน

ผมเห็นแว๊บ ๆ ว่า ปชป.จะนำเสนอกฎหมายเพื่อแก้ปัญหาตรงนี้ในเบื้องต้นครับ

และการแก้กฎหมายต่าง ๆ ผมว่า ศักยภาพ ของปชป. ในฐานะฝ่ายนิติบัญญัติ ก็คงจะมี

ผมดูคะแนนในสภาแล้ว น่าจะได้รับความร่วมมือจาก พรรคอื่น ๆ ที่มิใช่พรรคพปช.

หลายอย่างน่าจะดำเนินการได้ครับ


และใจผมลึก ๆ คิดมานานแล้วเช่นกันว่า การนำเสนอวิธีแก้ปัญหา ตรงนี้ น่าจะมีคนทีเข้าใจจริง ๆ และต้องปฎิบัติจริง ๆ

เพื่อความมั่นคงของ ชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชนที่ประสพ พบเหตุตรงนั้นได้


นั่นก็คือออกกฎหมายมารองรับ ให้ทุกคนปฎิืบัติ ก็น่าจะดีขึ้น

คอยดูว่ามีใครขวางหรือปล่าว


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 22:27

อันนี้ตอบไม่ยากครับ การบริจาคเงินให้พรรคการเมืองผู้บริจาครายใหญ่ๆส่วนใหญ่เค้ามีเงื่อนไขเยอะครับ ปชป.จะรับเงินเค้ามาคงต้องมีสัญญิงสัญญาให้เค้า ถามว่าปชป.รับได้ทุกเงื่อนไขมั้ย ผมเชื่อว่ายากครับ 

อย่างพรรคทรท.ตอนนั้นคงไม่ต้องให้บอกนะครับ ว่าเงินบริจาคมาจากไหน
   :slime_bigsmile:



พรรคปชป.เที่ยวนี้โฆษณาทีวี เยอะมากพรรดเดียวก่อนพรรคอื่นๆ หมดเงินไปไม่น้อยครับ

ข้อมูลที่คุณโต้แย้งมาเป็นสมมุติฐานหรือเป็นข้อเท็จจริงครับ..

นายทุนกับนักการเมือง ไม่ได้ยื่นเงื่อนไขกันง่ายๆหรือชัดๆอย่างนั้น

ก็แค่อย่าไปกลั่นแกล้งคนที่ทำมาหากินสุจริต.. ส่วนคอร์รัปชันมีทุกรัฐบาลมานานแล้ว

ปชป.  แก้ไม่ได้ ที่เห็นชัดคือปัญหาไฟได้ การแก้ไขไม่ใช่ฝีมือของปชป.


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 22:33
ผมเห็นแว๊บ ๆ ว่า ปชป.จะนำเสนอกฎหมายเพื่อแก้ปัญหาตรงนี้ในเบื้องต้นครับ

และการแก้กฎหมายต่าง ๆ ผมว่า ศักยภาพ ของปชป. ในฐานะฝ่ายนิติบัญญัติ ก็คงจะมี

ผมดูคะแนนในสภาแล้ว น่าจะได้รับความร่วมมือจาก พรรคอื่น ๆ ที่มิใช่พรรคพปช.

หลายอย่างน่าจะดำเนินการได้ครับ


และใจผมลึก ๆ คิดมานานแล้วเช่นกันว่า การนำเสนอวิธีแก้ปัญหา ตรงนี้ น่าจะมีคนทีเข้าใจจริง ๆ และต้องปฎิบัติจริง ๆ

เพื่อความมั่นคงของ ชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชนที่ประสพ พบเหตุตรงนั้นได้


นั่นก็คือออกกฎหมายมารองรับ ให้ทุกคนปฎิืบัติ ก็น่าจะดีขึ้น

คอยดูว่ามีใครขวางหรือปล่าว

คงหมายถึง ศอบต. ผมว่าจะเป็นการเลี้ยงไข้ครั้งใหญ่ต่อไปด้วยซ้ำ

มันเป็นองค์กรซ้อนองค์กรปกติของรัฐ ทางที่ดีกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นมากขึ้น หาทางค่อยๆถอนทหารกลับเข้ากรมกองจะดีกว่า

ซึ่งก็ต้องทำให้พวกตำรวจมีขีดความสามารถมากว่านี้ ในระยะต่อๆไป.


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: soco ที่ 25-01-2008, 22:38




ปชป.  แก้ไม่ได้ ที่เห็นชัดคือปัญหาไฟได้ การแก้ไขไม่ใช่ฝีมือของปชป.

ยังไงครับอ่านแล้วงง  :mrgreen:

ถ้าท่านตอบประเด็นนี้ทำให้ผมงง มากยิ่งขึ้น ขอสงวนสิทธิ ในการเปิดกระทู้ถามในหัวข้อใหม่น่ะครับ  :slime_v:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: soco ที่ 25-01-2008, 22:39
คงหมายถึง ศอบต. ผมว่าจะเป็นการเลี้ยงไข้ครั้งใหญ่ต่อไปด้วยซ้ำ

มันเป็นองค์กรซ้อนองค์กรปกติของรัฐ ทางที่ดีกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นมากขึ้น หาทางค่อยๆถอนทหารกลับเข้ากรมกองจะดีกว่า

ซึ่งก็ต้องทำให้พวกตำรวจมีขีดความสามารถมากว่านี้ ในระยะต่อๆไป.

ไม่ใช่ครับ  :mrgreen:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 22:42


ผมคงขอรอดูผลงานก่อน

หน้าที่เสนอแนะคงเป็นของกองเชียร์พันธุ์แท้.

อยากให้ปชป.ชนะ ก็คงต้องเลิกทุ่มแทดิสเครดิตพรรคอื่นๆ

หันมาทุ่มเททำงานของตัวเองให้มีผลงาน กองเชียร์พันธุ์แท้ ก็คงต้องเปลี่ยนมุมมองในการวิจารณ์


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 22:44


ไม่ใช่ครับ  :mrgreen:

ครับ รอดูครับ เพราะล่าสุดผมเห็น สส.สามจังหวัดประชุมกันเท่านั้น.

ถ้าพรรคการเมืองสนับสนุนจริงจังคงจะได้ผลมากกว่าในด้านการยกร่างหรือผ่านกฎหมายในสภา


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 22:49

ยังไงครับอ่านแล้วงง  :mrgreen:

ถ้าท่านตอบประเด็นนี้ทำให้ผมงง มากยิ่งขึ้น ขอสงวนสิทธิ ในการเปิดกระทู้ถามในหัวข้อใหม่น่ะครับ  :slime_v:

หมายถึงเรื่องคอร์รัปชัน ครับ เรื่องไฟได้ก็ด้วยอาศัยทหาร  ส่วนการเมืองในสามจังหวัด

ปชป.ไม่ได้สส.ทั้งหมดนะครับ จะเอาการเมืองนำการทหาร นำอย่างไร ?


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 25-01-2008, 22:50
อยากรู้เรื่อง ปชป. ต้องไปเว็บ ปชป. อิ อิ

งานในสภาก็ยังไม่เห็นมีใครเป็นรัฐบาลเลยนี่นะ จะให้ค้านตั้งแต่ไก่โห่ ก็คงดูกระไรอยู่

ตอนนี้เทพไท ก็เริ่มๆ แล้วนี่ครับ

ถ้ามองเป็นพรรคฝ่ายค้าน ก็ต้องรอจนเค้าเปิดสภาเลือกนายก เลือกผู้นำฝ่ายค้านก่อนสิ

ถ้าผมเป็นฝ่ายค้านตอนนี้ จะไปมอบดอกไม้ให้ คตส. ก่อนเพื่อนเลย


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 22:55
อยากรู้เรื่อง ปชป. ต้องไปเว็บ ปชป. อิ อิ

งานในสภาก็ยังไม่เห็นมีใครเป็นรัฐบาลเลยนี่นะ จะให้ค้านตั้งแต่ไก่โห่ ก็คงดูกระไรอยู่

ตอนนี้เทพไท ก็เริ่มๆ แล้วนี่ครับ

ถ้ามองเป็นพรรคฝ่ายค้าน ก็ต้องรอจนเค้าเปิดสภาเลือกนายก เลือกผู้นำฝ่ายค้านก่อนสิ

ถ้าผมเป็นฝ่ายค้านตอนนี้ จะไปมอบดอกไม้ให้ คตส. ก่อนเพื่อนเลย

นี่ผมก็ตั้งกระทู้ทวงสองเรื่องก่อน คือเรื่องคอร์รัปชันในภาคใต้ ปัญหาไฟใต้ ที่เหลือแค่จะรอดูผลงาน

แต่กองเชียร์เขามาถาม ก็เลยตอบโต้กันสนุกนิดหน่อย เรื่องเก่าๆพยายามจะไม่พูดถึงครับ..

แต่ถ้ากองเชียร์หรือสมาชิกพรรคดิสเครดิตพรรคอื่นมากๆ ก็คงต้องเอาเรื่องทำนองเดียวกันในอดีตมาย้ำกันอีก..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 25-01-2008, 23:01
ฝ่ายค้านสบายจะตายไป คอยตรวจสอบรัฐบาลกับดูแลกฎหมาย

นอกนั้นไม่ใช่เรื่องของฝ่ายค้านครับ

นโยบายรัฐบาลจะเป็นยังไงก็ยังไม่มีใครรู้

ตอนนี่แต่งหล่อ เดินไปเดินมาให้เด็กๆ ยกมือไหว้ก็พอแล้ว


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: soco ที่ 25-01-2008, 23:05
หมายถึงเรื่องคอร์รัปชัน ครับ เรื่องไฟได้ก็ด้วยอาศัยทหาร  ส่วนการเมืองในสามจังหวัด

ปชป.ไม่ได้สส.ทั้งหมดนะครับ จะเอาการเมืองนำการทหาร นำอย่างไร ?

ถ้าจำไม่ผิด ปชป.เสียไป 4 ที่นั่งในระับบเขต

แต่บรรดาพรรคการเมืองที่ทุ่มเทไปหาเสียง ตรงนั้น ทุกพื้นที่

ผมต้องซูฮก ทีมบริหารพรรค ปชป.

เห็นหลายท่านที่ลงไปหาเสียง มีข่าวออกอยู่เรื่อย

นั่นแสดงว่าเค้าต้องการไปแก้ในภาพรวม

การฝังตัวอยู่ในพื้นที่ ของ ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ถ้าไปดูย้อนประวัติ แต่ละคน

ก็หลากหลายกันไปครับ

ผมก็ยังมองว่า ได้มากกว่าพรรคอื่ีนอยู่ดี  แต่ต้องยอมรับในบางเรื่องว่าสู้ไม่ได้  :slime_surrender:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 23:09
ฝ่ายค้านสบายจะตายไป คอยตรวจสอบรัฐบาลกับดูแลกฎหมาย

นอกนั้นไม่ใช่เรื่องของฝ่ายค้านครับ

นโยบายรัฐบาลจะเป็นยังไงก็ยังไม่มีใครรู้

ตอนนี่แต่งหล่อ เดินไปเดินมาให้เด็กๆ ยกมือไหว้ก็พอแล้ว

ผมอยากเห็นการค้านแบบเสนอแนะ มีบทเด่นๆในการผลักดันการแก้ปัญหาต่างๆ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 23:12
ถ้าจำไม่ผิด ปชป.เสียไป 4 ที่นั่งในระับบเขต

แต่บรรดาพรรคการเมืองที่ทุ่มเทไปหาเสียง ตรงนั้น ทุกพื้นที่

ผมต้องซูฮก ทีมบริหารพรรค ปชป.

เห็นหลายท่านที่ลงไปหาเสียง มีข่าวออกอยู่เรื่อย

นั่นแสดงว่าเค้าต้องการไปแก้ในภาพรวม

การฝังตัวอยู่ในพื้นที่ ของ ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ถ้าไปดูย้อนประวัติ แต่ละคน

ก็หลากหลายกันไปครับ

ผมก็ยังมองว่า ได้มากกว่าพรรคอื่ีนอยู่ดี  แต่ต้องยอมรับในบางเรื่องว่าสู้ไม่ได้  :slime_surrender:

คือเรื่องในพื้นที่ ถ้าไม่พึ่งสส.คงยาก สส.ต้องเอามาพูดกับรัฐบาลให้ได้ ไม่ใช่แบ่งแยกพรรคกันเด็ดขาด

เพราะเป็นรัฐสภาครับ..สส.ใต้ของปชป.ส่วนใหญ่..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 23:15


เชิญทุกท่าน กันตามสบายครับ ถ้าอยู่ในประเด็นผลงานปชป.แล้ว

กระทู้ก็ถือเป็นสาธารณะ โพสต์มุมมองต่างๆกันได้ ต่อไปเรื่อยๆครับ..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: soco ที่ 25-01-2008, 23:17
ผมอยากเห็นการค้านแบบเสนอแนะ มีบทเด่นๆในการผลักดันการแก้ปัญหาต่างๆ

ยกตัวอย่างเรื่องเสนอแนะ

วันนี้อ่านข่าวเห็นอาจารย์ไตรรงค์บอกว่า กระทรวงคลัง ถ้าเลี๊ยบขึ้น ผิดพลาดอย่างไรก็จะให้อภัย

อันไหนปรึกษามาก็จะบอก ประมาณนี้ครับ

ใจป้ำน่ะครับ

แต่ผมว่า ไม่แคล้วโดนแขว๊ะมาอีก อิอิ  :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-01-2008, 23:23
ยกตัวอย่างเรื่องเสนอแนะ

วันนี้อ่านข่าวเห็นอาจารย์ไตรรงค์บอกว่า กระทรวงคลัง ถ้าเลี๊ยบขึ้น ผิดพลาดอย่างไรก็จะให้อภัย

อันไหนปรึกษามาก็จะบอก ประมาณนี้ครับ

ใจป้ำน่ะครับ

แต่ผมว่า ไม่แคล้วโดนแขว๊ะมาอีก อิอิ  :slime_bigsmile:

ก็ขอดูเนื้อในก่อนครับ นโบบายปชป. ผมก็เอามาแปะไว้

ส่วนประชานิยม ก็รอดูอยู่ครับ รายได้ที่ว่าเอามาจากการท่องเที่ยวก็ตรงกับปชป.หลายเรื่อง

ยังไงก็ต้องรอดูผล ว่ามาจากการทำงานจริงในส่วนไหนบ้าง?


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 01:14


การเมืองไทย ที่เอาปชป.เป็นตัวตั้ง

สร้างและวิ่งตามกระแสเทพมาร โดยไม่มีผลงานเป็นรูปธรรม

กองเชียร์ก็คงเสียงเบาไปด้วยตลอดไป..


ต้องเอางานมาคุยครับ เรื่องโกงยังไงก็ต้องจับ

แต่จะต้องเอางานมาคุย นอกฤดูเลือกตั้งด้วย

กองเชียร์ปชป. ท่องไว้ ทุกวันปชป.ต้องทำงาน ไม่ใช่หาเสียงนอกฤดู

หรือคอยตีพรรคการเมืองอื่น ตามสื่อ ใครบอกสื่อและคอลัมนิสต์ไม่มีผลประโยชน์

อันดับแรก กองเชียรต้องออกจากระแสของสื่อ

จะเห็นว่าตอนนี้ สื่อไม่ได้ลงข่าวปชป.

กองเชียร์ก็ไม่มีใครแนะนำว่าปชป. ต้องทำงานยังไง?

กองเชียร์แบบนี้ ไม่มีราคา..  :slime_doubt:



หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 01:24



เสียงในกรุงที่คิดว่าปชป.ชนะ เพราะอะไร?ไปคิดกันให้ดี

ถ้าเผมเป็นนายทุน ถึงแม้จะอยู่ข้างปชป.ก็คิดหนักครับ..

บอกแค่นี้ไม่เข้าใจ ผมก็ไม่บอกแล้ว


อีกอย่างถ้าไม่มีทักษิณ สมัคร เฉลิม ปชป.ก็แพ้พรรคร่วมฯอยู่ดี

อำนาจ เบื้องหลังทหาร คงทำได้มากที่สุดแค่นี้


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: so what? ที่ 26-01-2008, 01:47
เรื่องแพ้เลือกตั้งนี่ก็ชัดเจนนะครับว่าปชป.แพ้ก็ไปเป็นฝ่ายค้านตามารยาท เท่าที่ผ่านๆมาผมก็ไม่เคยเห็นปชป.เล่นนอกกติกา หรือแสดงอาการอดอยากปากแห้งอะไรจนน่าเกลียด การตั้งรัฐบาลสมัยงูเห่าประชากรไทยนั่นก็เกิดจากกระแสไม่เอาจิ๋วกะ ควม. ถ้าจิ๋วยุบสภาเลือกตั้งใหม่ไปปชป.ก็ชนะเลือกตั้งมาเป็นรัฐบาลอยู่ดี แต่จิ๋วเลือกลาออกเพราะกะว่าจะให้พลเอกชาติชายขึ้นแทนแล้วพรรคตัวเองเป้นรัฐบาลอยู่เท่านั้น ไม่ได้เกิดจากความเป็นสุภาพบุรุษหรือความเห็นแก่ชาติบ้านเมืองอะไร

ผมไม่เคยเห็นฝ่ายค้านประเทศไหนที่จะมีบทบาทโดดเด่นอย่างที่คุณคิวคาดหวังนะครับ จำได้ไหมว่าสมัยที่แล้ว ไอ้เหลี่ยมไม่สนใจแม้แต่จะเข้าประชุมสภาเพื่อตอบคำถามฝ่ายค้าน เพราะฉะนั้นตัวเอกของเรื่องคือรัฐบาลครับ ความคาดหวังอยู่ที่รัฐบาลครับ เสียงส่วนใหญ่เค้าเลือกมาแล้วก็ทำงานให้สมราคา กติกาก็ชัดเจนคือ คุณบริหารได้ก็บริหารไป ถ้าดูแล้วไปไม่รอดก็ยุบสภาหรือลาออกไป ฝ่ายค้านเสียงส่วนน้อยก็ค้านตามกติกา เท่านั้นจบครับ การมาเรียกร้องหรืคาดหวังอะไรจากฝ่ายค้าน สำหรับผมถือว่า nonsense ครับ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 01:55
เรื่องแพ้เลือกตั้งนี่ก็ชัดเจนนะครับว่าปชป.แพ้ก็ไปเป็นฝ่ายค้านตามารยาท เท่าที่ผ่านๆมาผมก็ไม่เคยเห็นปชป.เล่นนอกกติกา หรือแสดงอาการอดอยากปากแห้งอะไรจนน่าเกลียด การตั้งรัฐบาลสมัยงูเห่าประชากรไทยนั่นก็เกิดจากกระแสไม่เอาจิ๋วกะ ควม. ถ้าจิ๋วยุบสภาเลือกตั้งใหม่ไปปชป.ก็ชนะเลือกตั้งมาเป็นรัฐบาลอยู่ดี แต่จิ๋วเลือกลาออกเพราะกะว่าจะให้พลเอกชาติชายขึ้นแทนแล้วพรรคตัวเองเป้นรัฐบาลอยู่เท่านั้น ไม่ได้เกิดจากความเป็นสุภาพบุรุษหรือความเห็นแก่ชาติบ้านเมืองอะไร

ผมไม่เคยเห็นฝ่ายค้านประเทศไหนที่จะมีบทบาทโดดเด่นอย่างที่คุณคิวคาดหวังนะครับ จำได้ไหมว่าสมัยที่แล้ว ไอ้เหลี่ยมไม่สนใจแม้แต่จะเข้าประชุมสภาเพื่อตอบคำถามฝ่ายค้าน เพราะฉะนั้นตัวเอกของเรื่องคือรัฐบาลครับ ความคาดหวังอยู่ที่รัฐบาลครับ เสียงส่วนใหญ่เค้าเลือกมาแล้วก็ทำงานให้สมราคา กติกาก็ชัดเจนคือ คุณบริหารได้ก็บริหารไป ถ้าดูแล้วไปไม่รอดก็ยุบสภาหรือลาออกไป ฝ่ายค้านเสียงส่วนน้อยก็ค้านตามกติกา เท่านั้นจบครับ การมาเรียกร้องหรืคาดหวังอะไรจากฝ่ายค้าน สำหรับผมถือว่า nonsense ครับ

ถ้าอย่างนั้นก็ ไม่ต้องหวังจะได้รับเสียงมากกว่านี้ คงไม่มีหวังครับ อันนี้แหละนอนเซนส์ ในมุมมองของผม   :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 01:57


คนส่วนใหญ่หวังเลือกสส. เข้าไปทำงาน ไม่ใช่เข้าไปค้าน  


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 26-01-2008, 02:01
ก็ทำงานในหน้าที่ฝ่ายค้านนั่นแหละ เพราะเค้าไม่ให้เป็นรัฐบาล

เป็นฝ่ายค้านก็ทำงานครับ

ว่างๆ ลองค้น "หน้าที่ฝ่ายค้าน" มาดูกันมั่งซีครับ อิ อิ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:02

คนส่วนใหญ่หวังเลือกสส. เข้าไปทำงาน ไม่ใช่เข้าไปค้าน  

ในบอร์ดนี้ ก็เห็นส่วนใหญ่อยากให้ปชป.เป็นรัฐบาล

ใครอยากให้ปชป.เป็นฝ่ายค้าน ก็ไปบอกปชป.สิครับ

จะได้ประกาศตัวช่วง สมัครเลือกตั้ง ว่าตั้งใจเข้ามาเป็นฝ่ายค้าน

องุ่นเปรี้ยวครับ..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: so what? ที่ 26-01-2008, 02:04

คนส่วนใหญ่หวังเลือกสส. เข้าไปทำงาน ไม่ใช่เข้าไปค้าน  

อันนั้นก็ชัดเจนครับ ส่วนใหญ่เลือกอะไร ฝ่ายนั้นก็บริหาร

แต่ฝ่ายค้านต้องมีนะครับ ไว้ตรวจสอบคานอำนาจและเสนอแนะ

ตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้าน ก็ต้องได้รับโปรดเกล้าแต่งตั้งนะครับ คุณคิว   :slime_agreed:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:04
ก็ทำงานในหน้าที่ฝ่ายค้านนั่นแหละ เพราะเค้าไม่ให้เป็นรัฐบาล

เป็นฝ่ายค้านก็ทำงานครับ

ว่างๆ ลองค้น "หน้าที่ฝ่ายค้าน" มาดูกันมั่งซีครับ อิ อิ

แค่เสนอแนวคิดว่าฝ่ายค้านต้องทำงานมากๆ เพราะไม่ได้เป็นรัฐบาล จะผ่านหรือเปล่า? :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:06
อันนั้นก็ชัดเจนครับ ส่วนใหญ่เลือกอะไร ฝ่ายนั้นก็บริหาร

แต่ฝ่ายค้านต้องมีนะครับ ไว้ตรวจสอบคานอำนาจและเสนอแนะ

ตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้าน ก็ต้องได้รับโปรดเกล้าแต่งตั้งนะครับ คุณคิว   :slime_agreed:

ก็ต้องสร้างผลงาน..ที่ว่าค้านสร้างงาน :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:07
อันนั้นก็ชัดเจนครับ ส่วนใหญ่เลือกอะไร ฝ่ายนั้นก็บริหาร

แต่ฝ่ายค้านต้องมีนะครับ ไว้ตรวจสอบคานอำนาจและเสนอแนะ

ตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้าน ก็ต้องได้รับโปรดเกล้าแต่งตั้งนะครับ คุณคิว   :slime_agreed:

ตอนนี้การเมืองทางตรงภาคประชาชนและองค์กรอิสระก็มีมากขี้น นี่เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่ฝ่ายค้านอาชีพจะถูกลดบทบาทจากสังคม


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: so what? ที่ 26-01-2008, 02:08
ถ้าอย่างนั้นก็ ไม่ต้องหวังจะได้รับเสียงมากกว่านี้ คงไม่มีหวังครับ อันนี้แหละนอนเซนส์ ในมุมมองของผม   :slime_bigsmile:


ไม่จำเป็นว่าปชป.จะเป็นฝ่ายค้านหรือรัฐบาลครับ ขอให้พวกเค้ายังอยู่ในระบบเท่านั้นพอครับ

ยังไงเค้าก็คงไม่ได้หวังคะแนนเสียงจากคุณคิวอยู่แล้วหละครับ ผมเชื่ออย่างนั้น   :slime_smile2:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:10

ไม่จำเป็นว่าปชป.จะเป็นฝ่ายค้านหรือรัฐบาลครับ ขอให้พวกเค้ายังอยู่ในระบบเท่านั้นพอครับ

ยังไงเค้าก็คงไม่ได้หวังคะแนนเสียงจากคุณคิวอยู่แล้วหละครับ ผมเชื่ออย่างนั้น   :slime_smile2:

คุณอย่าพูดแทนเค้าเลย มีบทบาทในพรรคแค่ไหนครับ? :slime_sentimental:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: so what? ที่ 26-01-2008, 02:12
ตอนนี้การเมืองทางตรงภาคประชาชนและองค์กรอิสระก็มีมากขี้น นี่เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่ฝ่ายค้านอาชีพจะถูกลดบทบาทจากสังคม

การเมืองต้องเล่นกันในสภาก่อนครับ ใครเป็นรัฐบาลก็เห็นพูดแบบนี้ทุกคน

ไม่งั้นก็คงต้องปฏิวัติกันสามปีห้าปีหนอย่างที่ผ่านๆมานั่นแหละ

อย่าไปกังวลเรื่องการทำงานของฝ่ายค้านเลยครับ เค้ากินเงินเดือนคนละไม่กี่ตังค์หรอก


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:14


ถ้าแค่ใช้สิทธิ์ หนึ่งคนหนึ่งเสียงผลก็ออกมาแล้ว

ส่วนผลการเลือกตั้งครั้งต่อๆไป จะเป็นการตอกย้ำ

ว่าจะเหลืออยุ่ได้ในระยะยาวสักเท่าไร?

ตราบเท่าที่บุกไม่ขึ้น..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: so what? ที่ 26-01-2008, 02:15
คุณอย่าพูดแทนเค้าเลย มีบทบาทในพรรคแค่ไหนครับ? :slime_sentimental:

ไม่ได้เป็นแม้แต่สมาชิกพรรคครับ

แต่แค่ดูจากการที่คุณไล่จิกไล่ตีนายอภิสิทธิ์กับกระทู้นี้แล้ว

ผมสรุปได้แบบนี้เท่านั้นเอง    :slime_smile2:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:16
การเมืองต้องเล่นกันในสภาก่อนครับ ใครเป็นรัฐบาลก็เห็นพูดแบบนี้ทุกคน

ไม่งั้นก็คงต้องปฏิวัติกันสามปีห้าปีหนอย่างที่ผ่านๆมานั่นแหละ

อย่าไปกังวลเรื่องการทำงานของฝ่ายค้านเลยครับ เค้ากินเงินเดือนคนละไม่กี่ตังค์หรอก

ผมเห็นบอกจะสร้างสรรค์ :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: so what? ที่ 26-01-2008, 02:18
ผมเห็นบอกจะสร้างสรรค์ :slime_fighto:


ใครบอกครับ ? ไม่ใช่ผมหรอก



หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:19
ไม่ได้เป็นแม้แต่สมาชิกพรรคครับ

แต่แค่ดูจากการที่คุณไล่จิกไล่ตีนายอภิสิทธิ์กับกระทู้นี้แล้ว

ผมสรุปได้แบบนี้เท่านั้นเอง    :slime_smile2:


ทั้งบอร์ดมีผมอยู่เสียงเดียวจะอะไรนักหนากับพวก ที่ไล่จิกไล่ตีพรรคอื่น ปุถุชน ไม่ต่างกันขนาดที่บอร์ดนี้แสดงออกหรอก

คนอื่นๆตีก็ถูกพวกล็อคอินผีรุมตี..เหมือนกัน ที่สำคัญเรื่องภาคใต้ ปชป. อภิสิทธิ์ไม่สนใจก็จะต้องถูกตี..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:21
ใครบอกครับ ? ไม่ใช่ผมหรอก



อ่านข้างบนครับ รองหัวหน้าพรรค..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: so what? ที่ 26-01-2008, 02:25
ทั้งบอร์ดมีผมอยู่เสียงเดียวจะอะไรนักหนากับพวก ที่ไล่จิกไล่ตีพรรคอื่น ปุถุชน ไม่ต่างกันขนาดที่บอร์ดนี้แสดงออกหรอก

คนอื่นๆตีก็ถูกพวกล็อคอินผีรุมตี..เหมือนกัน ที่สำคัญเรื่องภาคใต้ ปชป. อภิสิทธิ์ไม่สนใจก็จะต้องถูกตี..

ผมไม่เคยสนกับเรื่องล็อกอินนะครับ เพราะผมมมีตัวเดียวอันเดียว
เปลี่ยนชื่อมาหนเดียวจาก meteorite เป็น so what? เท่านั้นจริงๆ

ปชป.ก็ไม่ได้รักใคร่พิศวาสหนักหนา แต่ว่าดูยังไงมันก้ดีกว่าไอ้พวกลิ่วล้อขายตัวเท่านั้นเองครับ   :mrgreen:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:29
ผมไม่เคยสนกับเรื่องล็อกอินนะครับ เพราะผมมมีตัวเดียวอันเดียว
เปลี่ยนชื่อมาหนเดียวจาก meteorite เป็น so what? เท่านั้นจริงๆ

ปชป.ก็ไม่ได้รักใคร่พิศวาสหนักหนา แต่ว่าดูยังไงมันก้ดีกว่าไอ้พวกลิ่วล้อขายตัวเท่านั้นเองครับ   :mrgreen:


กองเชียร์ ปชป อ่านดู ผมเห็นสาระเพียงเท่านี้..

นอกนั้นที่เว็บของพรรคไม่มีอะไร แสดงให้เห็นว่าจะทำอะไรต่อไป..


เอามาให้แล้วครับ ผมรู้สึกเป็นมิตรกับคุณครับ ไม่ได้มีปัญหาในส่วนนี้

แต่ผมก็มั่นใจว่า มีกองเชียร์ปชป.มากเป็นส่วนใหญ่ที่นี่ครับ.

สื่อสร้างกระแสได้ มีอิทธิพลต่อผู้อ่านได้ จริงไหมครับ..

ผู้จัดการนี่เอียงเห็นชัด

อ้างถึง

http://www.democrat.or.th/viewnews.asp?id_head=8917&id_main=60&p=0&ca=62&mt=175.92.185.153.216.238.33.205&st=172.102.168.190.167.250.47.206

คำถาม : ในส่วนของพรรค คิดว่าสิ่งแรกในฐานะฝ่ายค้านที่จะได้ทำหน้าที่ในสภานั้นจะเป็นเรื่องอะไร สำหรับในวาระแรก ประเด็นแรกที่จะอภิปรายในสภาจะเป็นเรื่องคุณสมบัติของคนที่เป็นนายกฯ หรือไม่

คุณจุรินทร์ : อย่างน้อยที่สุดก็ต้องเริ่มต้นด้วยการทำหน้าที่ในการให้ความเห็นเรื่องนโยบายของรัฐบาล เพราะว่ารัฐบาลก็ต้องแถลงนโยบาย แล้วก็งานในสภาหลัก ๆ ก็จะต้องมีการพิจารณาเรื่องนโยบาย พรรคก็จะให้ความเห็น และผมก็เรียนว่าหลักใหญ่ก็คือเราจะให้ความเห็นเชิงสร้างสรรค์นอกจากวิพากษ์วิจารณ์แล้ว ส่วนหนึ่งก็จะให้ความเห็นในเชิงสร้างสรรค์ด้วยว่าทิศทางที่ถูกนั้นควรจะเป็นอย่างไร  นโยบายของรัฐบาลที่ไม่เหมาะสมเป็นอย่างไร คืออะไร






หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:31



คือผมวิจารณ์การเมืองเพราะต้องการให้บ้านเมืองรุดหน้า

ผมไม่สนใจพรรคการเมืองมากไปกว่าประเด็นนี้

ดังนั้นผมพอใจที่มีการพยายามดำเนินคดีกับนักการเมือง

หรือพวกอภิสิทธิ์ชน..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:36



ระบบการเมืองและราชการไทยจะพัฒนาได้เร็วกว่านี้

ถ้าไม่เล่นพรรคเล่นพวกจนเกิดความแตกแยก เบี่ยงเบนหลักการการทำงานและการตรวจสอบ

ในช่วงทักษิณ ผมวิจารณ์การเมืองในฐานะฝ่ายค้าน


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: so what? ที่ 26-01-2008, 02:39
No hard feeling ครับ

ผมแค่อยากจะบอกว่าการมาคาดหวังอะไรกะคนที่ไม่มีอำนาจในมือน่ะมันไม่คุ้มค่าเวลา
น่าจะไปดูแลไอ้พวกที่มันกำลังแบ่งเค้กแบ่งกระทรวงกัน จะได้มรรคได้ผลกว่าเท่านั้น
แล้วการมีฝ่ายค้านในสภาน่ะมันเป้นเรื่องปกติ ฝ่ายค้านประเทศไหนๆเค้าก็ทำแบบนี้ทั้งนั้นแหละครับ


โอเค ผมพูดเท่าที่อยากจะพูดไปหมดแล้วครับ
ราตรีสวัสดิ์ รักษาสุขภาพด้วยครับ จะได้มีแรงไปตรวจสอบปชป.   :slime_smile2:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:41



แต่จากนี้ไป ผมเลือกวิจารณ์ปชป. พรรคแอบอิงอำนาจต่างๆดีกว่าครับ

ท่านอื่นๆจะเลือกจุดยืนอย่างไร ก็เป็นสิ่งที่แต่ละคนจะเลือกสร้างสรรค์การวิจารณ์กันเอง

ผมเพียงชี้ว่า หากเป็นเช่นเดิม ก็คงหวังไมได้ให้ปชป.ได้เสียงมากกว่าการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมานี้

และปชป. จะอ่อนแรงลงไปในที่สุด มันน่าจะเห็นแล้วว่าหลายอย่างในสังคมไทยกำลังเปลี่ยนผ่าน ไปตามกระแสโลกาภิวํฒน์


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:43
No hard feeling ครับ

ผมแค่อยากจะบอกว่าการมาคาดหวังอะไรกะคนที่ไม่มีอำนาจในมือน่ะมันไม่คุ้มค่าเวลา
น่าจะไปดูแลไอ้พวกที่มันกำลังแบ่งเค้กแบ่งกระทรวงกัน จะได้มรรคได้ผลกว่าเท่านั้น
แล้วการมีฝ่ายค้านในสภาน่ะมันเป้นเรื่องปกติ ฝ่ายค้านประเทศไหนๆเค้าก็ทำแบบนี้ทั้งนั้นแหละครับ


โอเค ผมพูดเท่าที่อยากจะพูดไปหมดแล้วครับ
ราตรีสวัสดิ์ รักษาสุขภาพด้วยครับ จะได้มีแรงไปตรวจสอบปชป.   :slime_smile2:

ครับ นี่ก็อำนาจของสื่อบริสุทธิ์ไงครับ ราตรีสวัสดิ์เช่นกันครับ.. :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 26-01-2008, 02:45
ปีกลองยังไม่เริ่มเลย ไหว้ครูก็ยังไม่จบ จะให้เค้าทำอะไรบ้างครับ อิ อิ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:48

ปีกลองยังไม่เริ่มเลย ไหว้ครูก็ยังไม่จบ จะให้เค้าทำอะไรบ้างครับ อิ อิ

เอาภาคใต้ก่อน เอาจริงกับคอร์รัปชัน และ ปัญหาไฟใต้ เศรษฐกิจภาคใต้..ก่อนก็ยังดีครับ

เป็นฝ่ายค้านคงพอมีเวลาทุ่มเท..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 02:51


ปัญหาภาคใต้ก็เห็นปชป.ขยับกันอยู่เหมือนกัน

ตั้งแต่ก่อนเลือกตั้งแล้ว น่าจะแสดงฝีมือประสานกับรัฐบาลและหน่วยงานของรัฐในภาคใต้ได้


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: หาเพื่อนหยิงคุยแก้เหงาครับ ที่ 26-01-2008, 03:21
ตกลงปัญหาไฟใต้ ปชป เป็นคน ก่อเรื่อง ใช่มะ  :slime_doubt:



หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 26-01-2008, 03:42
ตกลงให้ฝ่ายค้านบริหารงานภาคใต้ใช่มั๊ยครับ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 05:57
ตกลงปัญหาไฟใต้ ปชป เป็นคน ก่อเรื่อง ใช่มะ  :slime_doubt:



มีทุกพรรคที่ส่งสส.ลงสมัครภาคใต้แหละหัดอ่านมาก ๆ  คนใต้ฆ่าตัดคอ ถ้ายังตอบไม่ได้ ก็อ่านไปเงียบๆ พอเรื่องสงบแล้วค่อยมาเดาสุ่ม :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 05:59

ตกลงให้ฝ่ายค้านบริหารงานภาคใต้ใช่มั๊ยครับ

ให้เสนอฝ่ายรัฐบาล ผ่านรัฐสภาหรือผ่านข้าราชการ ทำได้หลายวิธี


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 06:01


ตกลงรู้กันหรือยังฝ่ายค้านมีหน้าที่ทำอะไร? :slime_fighto:



หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 14:29


สรุป ได้ว่าพรรคปชป.และกองเชียร์ล้าหลังทางความคิด มากพอๆกัน

สำหรับบทบาทพรรคที่ไม่ได้ร่วมรัฐบาลและต้องทำหน้าที่ตรวจสอบ ให้ประเทศเดินหน้า..


หากเป็นเช่นนี้ ฝ่ายค้านในสภาก็ไม่จำเป็น หันมาแก้ไขให้มีฟรีโหวตดีกว่า พร้อมกับตรวจสอบพฤติกรรมสส.รายตัว

นั่นคือ ส่งเสริมบทบาทของกกต.ในการตรวจสอบสส.รายตัวต่อเนื่อง..จนครบวาระการดำรงค์ตำแหน่ง


 :slime_bigsmile: :slime_cool: :slime_bigsmile: :slime_fighto:



หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 26-01-2008, 20:02
ก็เห็นเสนอมาตั้งนานแล้วนี่ครับ ว่างๆ ลองค้นคำอภิปรายของนายชวนในสภาซีครับ

เสนอแล้วรัฐบาลไม่ทำ มันก็แค่นั้นแหละ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 20:55
ก็เห็นเสนอมาตั้งนานแล้วนี่ครับ ว่างๆ ลองค้นคำอภิปรายของนายชวนในสภาซีครับ

เสนอแล้วรัฐบาลไม่ทำ มันก็แค่นั้นแหละ

ขวนบ่มิไก๊ ไร้น้ำยา วาทกรรมเทียมๆ ไม่มีผลอะไรเลย นับประสาอะไรกับกรรมการบริหารพรรค

หรือ มะม่วงจำบ่ม อย่างอภิสิทธิ์


แนะให้หน่อย ตั้งกรรมมาธิการของพรรค และวาระดับพรรค ในการติดตามและแก้ปัญหาภาคใต้

ให้มีโครงสร้างผู้รับผิดชอบในด้านต่างๆของชุดกรรมาธิการอย่างชัดเจน มีกิจกรรมลงเยี่ยมพื้นที่เหมือนการหาเสียง

มีเอกสาร การวิจัยเชิงปฏิบัติการ ทำให้ดูมีมาตรฐานไม่ต่างจากที่นักวิชาการเขาทำกัน..

มีการผลักดันอย่างจริงจังต่อเนื่อง ส่วนรัฐบาลไม่ทำด้วยเหตุอะไร ก็อาศัยสื่อไปสอบถาม ฝ่ายต่างๆในองคาพายพของรัฐบาล


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีค
เริ่มหัวข้อโดย: jerasak ที่ 26-01-2008, 22:23
มิติใหม่ของการเมืองโลก .. "ตรวจสอบฝ่ายค้าน"  :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 26-01-2008, 22:29
วิธีทำงานของฝ่ายค้าน ก็อภิปรายในสภาไง หรือจะให้ไปสั่งการนอกสภา

หรือไปสั่งให้ข้าราชการทำตามนโยบายของตัวเอง ผมเริ่มงง


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีค
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 22:30

มิติใหม่ของการเมืองโลก .. "ตรวจสอบฝ่ายค้าน"  :slime_bigsmile:

ก็บอกแล้วไม่มีใครหวังเลือกสส.มาเป็นฝ่ายค้านอาชีพ ตะบันค้าน เขาเลือกมาทำงาน

ยุคใหม่นี้ทรัพยากรมีจำกัด อะไรไม่จำเป็น ไม่ถูกใช้งาน มันจะฝ่อหรือถูกตัดทิ้งไปโดยปริยาย

กองเชียร์ได้แต่มองตาปริบๆ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 22:31


วิธีทำงานของฝ่ายค้าน ก็อภิปรายในสภาไง หรือจะให้ไปสั่งการนอกสภา

หรือไปสั่งให้ข้าราชการทำตามนโยบายของตัวเอง ผมเริ่มงง

ไม่มีใครต้องสั่ง การทำงานเหมือนการบริการสังคมมีเยอะแยะ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 22:33


ร้อยหกสิบกว่าคนไปสั่งกันเองในพรรคให้ได้ก่อน..

เอ มีใครได้ข่าวชัยวัฒน์ ว่าออกจากพรรคหรือยัง?


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 22:38


แนวคิดเลือกสส.มาเป็นนาย มันไม่ใช่ประชาธิปไตยหรอก

มันเป็น สิ่งที่นักการเมือง แสดงออกเพื่อหลอกพวกลูกทาสทางการเมือง..

สส.ทุกคนปกติก็มีเข้าไปเป็นกรรมมาธิการต่างๆในสภาอยู่แล้ว

ฝ่ายบริหารที่ไม่ฟังสส. ก็เท่ากับว่าไม่เคารพให้เกียรติประชาชน

สส.ที่เอาแต่ทะเลาะกันไม่เป็นเรื่องก็เท่ากับไม่เคารพให้เกียรติประชาชนที่เลือกมา

ประชาชนที่เลือกสส.แล้วไม่รับผิดชอบการกระทำของสส.เหล่านั้น ก็ไม่รู้หน้าที่ไม่มีความรับผิดชอบตามระบอบ..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีค
เริ่มหัวข้อโดย: jerasak ที่ 26-01-2008, 22:44

ร้อยหกสิบกว่าคนไปสั่งกันเองในพรรคให้ได้ก่อน..

เอ มีใครได้ข่าวชัยวัฒน์ ว่าออกจากพรรคหรือยัง?

หาอ่านได้ในกระทู้นี้ของ คุณรวงข้าวล้อลม นะครับ  :slime_smile:

@..งานนี้ ปชป..พลาดจริงๆ ...พลาดอย่างไม่น่าให้อภัย..??..
http://forum.serithai.net/index.php?topic=21129.0


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 26-01-2008, 22:53
อืมม เคยฟังอภิปราย CTX มั๊ยครับ

ถ้ายุคนั้น มี สส. พออภิปรายนายกได้ ผมว่า หน้าเหลี่ยมไม่รอดจากกระแสสังคมครับ

เอาไว้ดูตามรัฐธรรมนูญใหม่ ดูว่าเค้าจะกระชากลากไส้สมัคร ได้แค่ไหน อีกไม่นานเกิน 6 เดือนมั๊ง

แค่อภิปราย นโยบายรัฐบาล นี่คอยดูกันเป็นน้ำจิ้ม อิ อิ

แต่ผมกลัวว่า "รัฐบาลหมัก 1" จะอยู่ถึง อภิปรายไม่ไว้วางใจหรือเปล่าเท่านั้นเอง


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีค
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 23:20
หาอ่านได้ในกระทู้นี้ของ คุณรวงข้าวล้อลม นะครับ  :slime_smile:

@..งานนี้ ปชป..พลาดจริงๆ ...พลาดอย่างไม่น่าให้อภัย..??..
http://forum.serithai.net/index.php?topic=21129.0

ผมมองไม่เห็นรายชื่อ แสดงว่ายื่นใบลาออกไปแล้ว..? และมีผลแล้ว

ผมว่าดีแล้วที่ออกจากพรรคนี้..ชัยวัฒน์เหมาอยู่ภาคประชาชนมากกว่า


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 23:24
อืมม เคยฟังอภิปราย CTX มั๊ยครับ

ถ้ายุคนั้น มี สส. พออภิปรายนายกได้ ผมว่า หน้าเหลี่ยมไม่รอดจากกระแสสังคมครับ

เอาไว้ดูตามรัฐธรรมนูญใหม่ ดูว่าเค้าจะกระชากลากไส้สมัคร ได้แค่ไหน อีกไม่นานเกิน 6 เดือนมั๊ง

แค่อภิปราย นโยบายรัฐบาล นี่คอยดูกันเป็นน้ำจิ้ม อิ อิ

แต่ผมกลัวว่า "รัฐบาลหมัก 1" จะอยู่ถึง อภิปรายไม่ไว้วางใจหรือเปล่าเท่านั้นเอง

อยุ่ที่พปช. จะทำอะไรผิดจนสาธารณชนรับไม่ได้..

อธิปรายไม่ไว้วางใจ ต่อไปจะเป็นดาบสองคมสำหรับพรรคการเมือง..

ยุบสภาผมว่าก็ไม่ต่างกัน ประเด็นทางการเมืองเริ่มได้รับการแยกแยะละเอียดโดยสื่อต่างมากขึ้น..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 26-01-2008, 23:32
แค่รับคำสั่งจากมือสกปรกจากต่างแดน ก็เป็นจุดตายแล้วครับ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-01-2008, 23:40


แค่รับคำสั่งจากมือสกปรกจากต่างแดน ก็เป็นจุดตายแล้วครับ

มารอดูกันครับ ว่าปชป.จะมีหรือหาหลักฐานไปฟ้องหรือเปล่า?


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 26-01-2008, 23:57
เค้าไม่ฟ้องหรอก แค่อภิปรายในสภาก็เจ๊งแล้ว

ต้องไม่ลืมว่า คะแนน ปชป. อยู่ในกลุ่มคนชั้นกลางที่เสียงดัง

เค้ารู้กันทั่วประเทศ เป็นฝ่ายค้าน ก้ไปอภิปรายในสภานั่นแหละ

ไม่ต้องไปฟ้องอะไรหรอก ผมเห็นแต่ภาคประชาชน ฟ้องแล้วสำเร็จ

ถ้าให้นักการเมืองไปฟ้องศาล เค้าเรียกว่า ไม่มีฝีมือ

การเมืองเค้าเล่นกันที่การชี้แจงแสดงหลักฐานกันในสภา ไม่ใช่ศาล

เรื่องศาล ก็มีพวก ปปช. สตง. อะไรพวกนั้นเล่นอยู่แล้ว


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 01:08
เค้าไม่ฟ้องหรอก แค่อภิปรายในสภาก็เจ๊งแล้ว

ต้องไม่ลืมว่า คะแนน ปชป. อยู่ในกลุ่มคนชั้นกลางที่เสียงดัง

เค้ารู้กันทั่วประเทศ เป็นฝ่ายค้าน ก้ไปอภิปรายในสภานั่นแหละ

ไม่ต้องไปฟ้องอะไรหรอก ผมเห็นแต่ภาคประชาชน ฟ้องแล้วสำเร็จ

ถ้าให้นักการเมืองไปฟ้องศาล เค้าเรียกว่า ไม่มีฝีมือ

การเมืองเค้าเล่นกันที่การชี้แจงแสดงหลักฐานกันในสภา ไม่ใช่ศาล

เรื่องศาล ก็มีพวก ปปช. สตง. อะไรพวกนั้นเล่นอยู่แล้ว

ถ้าปชป.ไม่อ้างเสียงไม่พอ ก็ไม่มีปัญหาครับ.. :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 01:11



จะให้ดี ถ้าปชป.เช็คซี้ซั้ว คงต้องแนะนำให้สส.พรรคอื่นเช็คกลับบ้าง?

คงปล่อยออกมาให้สัมภาษณ์ตีกินรายวันไม่ได้ แบบนั้นการเมืองไม่พัฒนา

มันซูเอี๋ยกันแต่แรก หรือตั้งแต่ระดับวิป..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: samepong(ยุ่งแฮะ) ที่ 27-01-2008, 10:41
ไม่ต้องทำอะไรดีกว่ามั้งครับ

กฎหมายอะไรจะออก ออกไม่เป้นธรรมก็ไม่ต้องค้านไม่ต้องซัก ไม่ต้องทำอะไรเลยจะได้ไม่ผิดในสายตาเจ้าของกระทู้

เค้าทำอะไรเป็นชินเป้นอันหรือไม่ เจ้าของกระทู้ก็ปิดตาข้างนึงมองอีกด้านอยู่แล้ว สำหรับ ปชป. ในสายตาคุณ ดีไหม ให้ดี ลาออกให้หมด ไม่ต้องทำงานเลยดีกว่า โดนใจสุดๆๆ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: h_e_a_t ที่ 27-01-2008, 10:54
ทำหน้าที่ฝ่ายค้าน เพื่อประชาชนไงครับ

ตรวจสอบ การทำงานของรัฐบาล กรองกฏหมายที่นำเข้าสภา ไม่ว่าผลจะออกมาผ่านหรือไม่ผ่าน ก็เอามาตีแผ่ขอดี ด้อย ให้ประชาชนทราบ

เท่านี้ ก็คุ้มกับภาษี และสิ่งที่ประชาชนเลือกเข้าไปแล้ว


ว่าแต่ว่า..............รัฐบาลใหม่นี้ น่ะ  จะทำอะไรให้ประชาชน บ้างล่ะครับ?


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: aiwen^mei ที่ 27-01-2008, 11:10
ผมมีแนวคิดที่นำเสนอเสมอว่า สส.ต้องทำงานในหน้าที่ให้สมบูรณ์ รวมทั้งฝ่ายค้านด้วย

กระทู้นี้ตั้งขึ้นเพื่อ มองสส.ฝ่ายค้านที่คนส่วนใหญ่ ไม่ติดตามตรวจสอบว่าทำงานสร้างสรรค์หรือไม่?

มักจะพยายามหันไปโจมตีสส.รัฐบาลที่ทำงานไม่ถูกใจ หรือไม่ใช่พรรคที่ตนสนับสนุน ซึ่งบ่อยครั้งเป็นมุมมองที่คับแคบ

ก็เปิดกระทู้ไว้รอดูผลงานพรรค หกสิบปี ที่ดูเหมือนปัจจุบัน ทำงานไม่เป็นชิ้นเป็นอันให้สังคมได้เห็น

ได้มีโอกาสทำงานให้สังคมได้เห็นมากขึ้น และไม่ใช้สื่อเป็นเครื่องมือในการโจมตีพรรคอื่นๆ ทั้งทางตรงทางอ้อม..

กองเชียร์ที่คอยดูผลงานจะได้เห็นชัดเจนมากขึ้น ว่ามีอะไรที่เป็นชิ้นเป็นอันได้บ้าง ไม่ต้องใช้แว่นขยายคำพูดสส.แก่อย่างชวน

หรือสส.ผลงานน้อยอย่าง อภิสิทธิ์

คงเป็นแค่ใน "อุดมคติ"  ที่ไม่สามารถปฏิบัติให้เห็นจริงได้ค่ะ

จะมีใครทำหน้าที่ได้ "สมบูรณ์"  :mozilla_undecided: แค่ประเมินจากตัวเราก็พอ  :mrgreen: รัฐบาลขิงแก่ก็ถูกประเมินว่า "สอบตก"  :mrgreen:

ว่ากันว่า ปชป. เป็นฝ่ายค้านที่ทำหน้าที่ได้แย่น้อยกว่าพรรคอื่น ๆ ที่เป็นฝ่ายค้านด้วยกันเสียอีก ดีกว่าปชป. เป็นรัฐบาลเองด้วยซ้ำ

หรือจะหวังให้พรรคฝ่ายค้านเริ่มแสดงบทบาทแบบ proactive / preventive ไม่ใช่ reactive แบบนั้นหรือคะ  :D

เดี๋ยวจะรำกระบี่ค้างอยู่กลางอากาศค่ะ เพราะพวก ๖ พรรคยังเลือกตั้งนายกฯ ไม่เสร็จ หัวหน้าพรรคที่มีคะแนนเสียงมากที่สุด กลับไม่ได้รับการยอมรับให้เป็นโดยทันที นับเป็นเรื่องที่น่าประหลาดโดยแท้  :mrgreen: :mrgreen: :mrgreen:

ตอนนี้พวกหกพรรคอยู่ในช่วงต้องแบ่งโควต้าแย่งเก้าอี้รัฐมนตรีกันอีก ยังทะเลาะกันไม่เลิก :slime_bigsmile:

ฝ่ายค้านตอนนี้นอนตีพุง สังสรรค์ สมานฉันท์ ภายในพรรคตัวเองไปก่อนก็แล้วกัน เวลาทำหน้าที่ฝ่ายค้านในสภาจะได้ค้านเป็นเสียงเดียวแบบเอกฉันท์  :mrgreen: :mrgreen: :mrgreen:



หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: เพื่อนร่วมชาติ ที่ 27-01-2008, 11:30
คุณขมขื่นหรือเปล่าล่ะ? ผมเห็นว่าสส.ปชป.ไม่มีผลงาน ร้อยกว่าเสียงก็มากเกินไป

และเห็นไม่มีคนพูดถึงด้วย.. คุณควรพิจารณาตัวเองมากกว่า ว่างมงายอะไรกับปชป.

ส่วนทักษิณ ผมวิจารณ์เขามาตลอดในช่วงหลัง.

ในทางกลับกันปชป. เห็นว่าไม่มีใช่เรื่องเร่งด่วนก็เลยไม่วิจารณ์มาก

แต่ไม่ใช่วิจารณ์ไม่ได้..   :slime_smile2:

จะว่าผมงมงายกับ ปชป. ก็ให้มีหลักฐานหน่อยนะครับ มีความเห็นผมตรงไหนที่ส่อว่าผมงมงายกับ ปชป. เอามาแสดงเลย (ความเห็นผมมีไม่เยอะหรอก ผมไม่มีเวลามาโพสต์แบบอุตสาหกรรม)

ปชป. ใครว่าวิจารณ์ไม่ได้ ถ้าเห็นทำอะไรไม่สวย ผมก็วิจารณ์ ตอนชัยวัฒน์ฟ้องศาลให้เลือกตั้งเป็นโมฆะ (ตอนนั้นเขายังไม่ลาออกจากพรรค) ผมก็บอกว่าประเด็นนี้ไม่น่าเล่น บอกก่อนที่ ปชป. จะขอให้ชัยวัฒน์ถอนฟ้องด้วยซ้ำ

วิจารณ์น่ะวิจารณ์ได้อยู่แล้ว แต่ขอให้แยกแยะบทบาทหน้าที่และอำนาจของรัฐบาลกับฝ่ายค้านให้ออกก่อน จะไปหวังให้ฝ่ายค้านสร้างผลงานได้อย่างรัฐบาลที่มีอำนาจเต็มมือ มันเป็นเรื่องไม่สมเหตุสมผล สมัยไอ้แม้ว ผมก็เห็นว่าโดยภาพรวม ปชป. ก็ทำหน้าที่ในสภาโดยว่ากันที่หลักฐาน การทำงาน ไม่ได้เล่นเรื่องส่วนตัวเหมือนสมัยขุดโคตรปลาไหลมาด่า ตรงนี้ผมก็เห็นว่าเป็นแนวโน้มการทำงานที่ดีขึ้น โดยเฉพาะในสมัยที่รัฐธรรมนูญจำกัดการทำงานของฝ่ายค้าน

การทำงานช่วยสังคม ผมก็เห็นว่า สส. ปชป. เขาก็ทำนี่ครับ แต่สมัยไอ้แม้วเขาไม่ค่อยมีสื่อให้ประโคมข่าว สึนามิก็ไป สามจังหวัดชายแดนผมก็ว่าไปบ่อยกว่าไอ้แม้วอีก แต่คนไม่มีอำนาจรัฐน่ะมันทำได้จำกัดนะครับ งบภาครัฐก็ไม่มีให้ สั่งข้าราชการก็ไม่ได้

สำหรับงานสภาสมัยนี้ หัวใจสำคัญก็ไม่ได้ยากอะไร ขอให้มองผลประโยชน์ของประชาชนในระยะยาวเป็นหลัก จะค้าน จะเสนอ จะทำงานการเมืองอะไร ก็ให้มุ่งที่ผลประโยชน์ประชาชน ไม่ใช่ทำเพื่อพวกพ้องหรือทำด้วยความอาฆาต (เรื่องนี้ฝ่ายรัฐบาลก็เหมือนกันนะ) และถ้ารัฐบาลทำงานเป็นผลดีต่อชาติบ้านเมืองระยะยาว ก็ไม่ต้องไปพยายามล้มเขา แต่ถ้ามันทำชั่วช้า ก็ต้องอภิปรายให้ดิ้นไม่หลุด

ส่วนเรื่องผลงาน ปชป. คุณเอาอคติที่บังตาออกก่อนเหอะ ไม่งั้นพูดกันไม่รู้เรื่อง


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 11:40
จะว่าผมงมงายกับ ปชป. ก็ให้มีหลักฐานหน่อยนะครับ มีความเห็นผมตรงไหนที่ส่อว่าผมงมงายกับ ปชป. เอามาแสดงเลย (ความเห็นผมมีไม่เยอะหรอก ผมไม่มีเวลามาโพสต์แบบอุตสาหกรรม)

ปชป. ใครว่าวิจารณ์ไม่ได้ ถ้าเห็นทำอะไรไม่สวย ผมก็วิจารณ์ ตอนชัยวัฒน์ฟ้องศาลให้เลือกตั้งเป็นโมฆะ (ตอนนั้นเขายังไม่ลาออกจากพรรค) ผมก็บอกว่าประเด็นนี้ไม่น่าเล่น บอกก่อนที่ ปชป. จะขอให้ชัยวัฒน์ถอนฟ้องด้วยซ้ำ

วิจารณ์น่ะวิจารณ์ได้อยู่แล้ว แต่ขอให้แยกแยะบทบาทหน้าที่และอำนาจของรัฐบาลกับฝ่ายค้านให้ออกก่อน จะไปหวังให้ฝ่ายค้านสร้างผลงานได้อย่างรัฐบาลที่มีอำนาจเต็มมือ มันเป็นเรื่องไม่สมเหตุสมผล สมัยไอ้แม้ว ผมก็เห็นว่าโดยภาพรวม ปชป. ก็ทำหน้าที่ในสภาโดยว่ากันที่หลักฐาน การทำงาน ไม่ได้เล่นเรื่องส่วนตัวเหมือนสมัยขุดโคตรปลาไหลมาด่า ตรงนี้ผมก็เห็นว่าเป็นแนวโน้มการทำงานที่ดีขึ้น โดยเฉพาะในสมัยที่รัฐธรรมนูญจำกัดการทำงานของฝ่ายค้าน

การทำงานช่วยสังคม ผมก็เห็นว่า สส. ปชป. เขาก็ทำนี่ครับ แต่สมัยไอ้แม้วเขาไม่ค่อยมีสื่อให้ประโคมข่าว สึนามิก็ไป สามจังหวัดชายแดนผมก็ว่าไปบ่อยกว่าไอ้แม้วอีก แต่คนไม่มีอำนาจรัฐน่ะมันทำได้จำกัดนะครับ งบภาครัฐก็ไม่มีให้ สั่งข้าราชการก็ไม่ได้

สำหรับงานสภาสมัยนี้ หัวใจสำคัญก็ไม่ได้ยากอะไร ขอให้มองผลประโยชน์ของประชาชนในระยะยาวเป็นหลัก จะค้าน จะเสนอ จะทำงานการเมืองอะไร ก็ให้มุ่งที่ผลประโยชน์ประชาชน ไม่ใช่ทำเพื่อพวกพ้องหรือทำด้วยความอาฆาต (เรื่องนี้ฝ่ายรัฐบาลก็เหมือนกันนะ) และถ้ารัฐบาลทำงานเป็นผลดีต่อชาติบ้านเมืองระยะยาว ก็ไม่ต้องไปพยายามล้มเขา แต่ถ้ามันทำชั่วช้า ก็ต้องอภิปรายให้ดิ้นไม่หลุด

ส่วนเรื่องผลงาน ปชป. คุณเอาอคติที่บังตาออกก่อนเหอะ ไม่งั้นพูดกันไม่รู้เรื่อง

อคติอะไรละครับ ปัญหาภาคใต้ทั้งภาคเห็นอยู่ทนโท่..ทำให้เรียบร้อยกว่าภาคอื่นได้โดยไม่ต้องพึงทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่แล้วค่อยมาคุยต่อครับ

ถ้ามองไม่เห็นผมว่าหยุดคุยดีกว่า ไม่เกิดประโยชน์แล้ว. อคติมีกี่ชนิดครับ?


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 11:44
ไม่ต้องทำอะไรดีกว่ามั้งครับ

กฎหมายอะไรจะออก ออกไม่เป้นธรรมก็ไม่ต้องค้านไม่ต้องซัก ไม่ต้องทำอะไรเลยจะได้ไม่ผิดในสายตาเจ้าของกระทู้

เค้าทำอะไรเป็นชินเป้นอันหรือไม่ เจ้าของกระทู้ก็ปิดตาข้างนึงมองอีกด้านอยู่แล้ว สำหรับ ปชป. ในสายตาคุณ ดีไหม ให้ดี ลาออกให้หมด ไม่ต้องทำงานเลยดีกว่า โดนใจสุดๆๆ

ไม่ทำอะไรก็ไม่ว่า ไม่ง้อครับ งานการเมืองสำหรับผมเป็นงานอาสา แต่ถ้ากองเชียร์น้อยใจก็ขออภัย :slime_smile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 11:47
ทำหน้าที่ฝ่ายค้าน เพื่อประชาชนไงครับ

ตรวจสอบ การทำงานของรัฐบาล กรองกฏหมายที่นำเข้าสภา ไม่ว่าผลจะออกมาผ่านหรือไม่ผ่าน ก็เอามาตีแผ่ขอดี ด้อย ให้ประชาชนทราบ

เท่านี้ ก็คุ้มกับภาษี และสิ่งที่ประชาชนเลือกเข้าไปแล้ว


ว่าแต่ว่า..............รัฐบาลใหม่นี้ น่ะ  จะทำอะไรให้ประชาชน บ้างล่ะครับ?

รัฐบาลผมคงไปตอบแทนเขาไม่ได้หรอกครับ ใครเลือกมาต้องรับผิดชอบแนะนำกันเอง แต่เที่ยวหน้าถ้าทำดีผมคงจะเลือก

ผมชอบคนทำงานครับ มีผิดบ้างยังดีกว่าพูดวิจารณ์หรือแก้ตัวอย่างเดียว :slime_smile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 11:53
คงเป็นแค่ใน "อุดมคติ"  ที่ไม่สามารถปฏิบัติให้เห็นจริงได้ค่ะ

จะมีใครทำหน้าที่ได้ "สมบูรณ์"  :mozilla_undecided: แค่ประเมินจากตัวเราก็พอ  :mrgreen: รัฐบาลขิงแก่ก็ถูกประเมินว่า "สอบตก"  :mrgreen:

ว่ากันว่า ปชป. เป็นฝ่ายค้านที่ทำหน้าที่ได้แย่น้อยกว่าพรรคอื่น ๆ ที่เป็นฝ่ายค้านด้วยกันเสียอีก ดีกว่าปชป. เป็นรัฐบาลเองด้วยซ้ำ

หรือจะหวังให้พรรคฝ่ายค้านเริ่มแสดงบทบาทแบบ proactive / preventive ไม่ใช่ reactive แบบนั้นหรือคะ  :D

เดี๋ยวจะรำกระบี่ค้างอยู่กลางอากาศค่ะ เพราะพวก ๖ พรรคยังเลือกตั้งนายกฯ ไม่เสร็จ หัวหน้าพรรคที่มีคะแนนเสียงมากที่สุด กลับไม่ได้รับการยอมรับให้เป็นโดยทันที นับเป็นเรื่องที่น่าประหลาดโดยแท้  :mrgreen: :mrgreen: :mrgreen:

ตอนนี้พวกหกพรรคอยู่ในช่วงต้องแบ่งโควต้าแย่งเก้าอี้รัฐมนตรีกันอีก ยังทะเลาะกันไม่เลิก :slime_bigsmile:

ฝ่ายค้านตอนนี้นอนตีพุง สังสรรค์ สมานฉันท์ ภายในพรรคตัวเองไปก่อนก็แล้วกัน เวลาทำหน้าที่ฝ่ายค้านในสภาจะได้ค้านเป็นเสียงเดียวแบบเอกฉันท์  :mrgreen: :mrgreen: :mrgreen:



ที่วิจารณ์เสนอแนะไป ถือว่าเบาแล้วนะครับเกรงใจเพื่อนสมาชิก ผมไม่ชอบพูดย้อนหลังครับ ตอนนั้นทำไปแล้วคงแก้อะไรไม่ได้

ทักษิณผมก็วิจารณ์ล่วงหน้าเสมอ ทักษิณในปีที่สี่ ผมโพสต์ขอให้แก้คอร์รัปชัน วันเสาร์สัปกาห์ถัดๆไปบอกจะประกาศสงครามแก้คอร์รัปชัน

พอไปอยู่ต่างประเทศ ให้สัมภาษณ์บอกแก้ไม่ได้มันอยู่ในระบบของไทย ให้ร้ายประเทศ ยอมรับว่าตัวเองพูดจาหลอกลวงหาเสียงหรือความสามารถไม่ถึงดีกว่า..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 11:57


ถ้ากองเชียร์ไม่ต้องการเสียงเพิ่ม ก็ปล่อยครับ

ใครว่าปชป.จะได้เสียงในการเลือกตั้งครั้งถัดไปภายในสีปีข้างหน้า

มากกว่า ครั้งที่ผ่านมานี้ ยกมือขึ้นครับ..

หรือจะได้กี่เสียง? พอใจหรือเปล่า? ถ้าพอใจก็ไม่ต้องคอยแก้ต่างหรือ สนับสนุนชวนเชื่อ

หรือค้นหาสาเหตุที่ไม่ได้ตามคาดครับ..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: เพื่อนร่วมชาติ ที่ 27-01-2008, 12:05
อคติอะไรละครับ ปัญหาภาคใต้ทั้งภาคเห็นอยู่ทนโท่..ทำให้เรียบร้อยกว่าภาคอื่นได้โดยไม่ต้องพึงทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่แล้วค่อยมาคุยต่อครับ

ถ้ามองไม่เห็นผมว่าหยุดคุยดีกว่า ไม่เกิดประโยชน์แล้ว. อคติมีกี่ชนิดครับ?

อันนี้ผมไม่เข้าใจ ตกลงปัญหาภาคใต้นี่ คุณคิวคิดว่าประชาธิปัตย์ก่อใช่มั้ยครับ

แล้วที่บอกว่าปัญหา "ทั้งภาค" ถ้าไม่นับสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้มีปัญหาอะไรที่เลวร้ายกว่าภาคอื่น ๆ รวมทั้งกรุงเทพเหรอครับ (หรือว่าปัญหาในสายตาคุณคิวคือ เพราะคนใต้เลือก ปชป. มากไป) ผมก็เห็นว่าเกษตรกรมีปัญหาเหมือน ๆ กัน ภาคใต้อาจจะมีน้อยกว่าด้วยซ้ำ ปัญหายาเสพติดก็ไม่ได้รุนแรงกว่า การศึกษาผมก็ว่าคนใต้ออกจะได้รับการศึกษาดีเมื่อเทียบกับภาคอื่น อาชญากรรมผมก็ว่ากรุงเทพฯรุนแรงกว่า ผมลงไปภาคใต้อย่างน้อยปีละสองครั้ง บางทีอยู่กับชาวบ้านเป็นอาทิตย์ ผมยังว่าภาคใต้น่าอยู่เลย ตกลงปัญหาภาคใต้ทั้งภาคนี่ปัญหาอะไรครับ

คำว่า "หยุดคุย" ผมไม่ได้พูดนะ ถ้าผมจะหยุด ผมหยุดไปเลย ผมเสนอวิธีให้เข้าใจกันได้มากขึ้น ก็แค่นั้น


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 12:06
อันนี้ผมไม่เข้าใจ ตกลงปัญหาภาคใต้นี่ คุณคิวคิดว่าประชาธิปัตย์ก่อใช่มั้ยครับ

แล้วที่บอกว่าปัญหา "ทั้งภาค" ถ้าไม่นับสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้มีปัญหาอะไรที่เลวร้ายกว่าภาคอื่น ๆ รวมทั้งกรุงเทพเหรอครับ (หรือว่าปัญหาในสายตาคุณคิวคือ เพราะคนใต้เลือก ปชป. มากไป) ผมก็เห็นว่าเกษตรกรมีปัญหาเหมือน ๆ กัน ภาคใต้อาจจะมีน้อยกว่าด้วยซ้ำ ปัญหายาเสพติดก็ไม่ได้รุนแรงกว่า การศึกษาผมก็ว่าคนใต้ออกจะได้รับการศึกษาดีเมื่อเทียบกับภาคอื่น อาชญากรรมผมก็ว่ากรุงเทพฯรุนแรงกว่า ผมลงไปภาคใต้อย่างน้อยปีละสองครั้ง บางทีอยู่กับชาวบ้านเป็นอาทิตย์ ผมยังว่าภาคใต้น่าอยู่เลย ตกลงปัญหาภาคใต้ทั้งภาคนี่ปัญหาอะไรครับ

คำว่า "หยุดคุย" ผมไม่ได้พูดนะ ถ้าผมจะหยุด ผมหยุดไปเลย ผมเสนอวิธีให้เข้าใจกันได้มากขึ้น ก็แค่นั้น

เรื่องอคติมีกี่ชนิดครับ.?


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 12:09


ผมว่ากระจายอำนาจและงบประมาณให้ท้องถิ่นดีกว่า แต่ยังถือว่าไทยเป็นเอกรัฐนะครับ

ขยะทุกบ้านมีเหมือนกัน ก็ไปกวาดกันเอง บางบ้านก็สะอาด แต่ผมเห็นว่าภาคใต้ปัญหาไม่น้อยกว่าภาคอีสานครับ..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: เพื่อนร่วมชาติ ที่ 27-01-2008, 12:11
เรื่องอคติมีกี่ชนิดครับ.?

ไม่เคยนับครับ ศาสนาพุทธว่าสี่ แต่ผมว่าเยอะกว่านั้น


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 12:12


ส่วนกรุงเทพ ผมแค่ บอกว่าหยุดอพยพเข้ากรุงหรือส่งลูกมาเรียนกรุงเทพกันได้แล้ว..

งานถ้าเลือกได้ ก็ให้เลือกที่บ้านเกิดก่อน..กรุงเทพแออัดครับ ผมเกิดที่นี่..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 12:13


ไม่เคยนับครับ ศาสนาพุทธว่าสี่ แต่ผมว่าเยอะกว่านั้น

โอเค อย่างน้อยก็พอครับ..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: อธิฏฐาน ที่ 27-01-2008, 12:16

ส่วนกรุงเทพ ผมแค่ บอกว่าหยุดอพยพเข้ากรุงหรือส่งลูกมาเรียนกรุงเทพกันได้แล้ว..

งานถ้าเลือกได้ ก็ให้เลือกที่บ้านเกิดก่อน..กรุงเทพแออัดครับ ผมเกิดที่นี่..

เพราะคุณคิว เป็นคนกรุงเทพโดยกำเนิด ไม่ได้อยู่บ้านนอก แล้วจะทราบวิถีชีวิตของคนบ้านนอกได้อย่างไรกัน


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 12:16



ปัญหาของเถื่อนในภาคใต้แก้ปัญหายังไงดีครับ..?

สองวันนี้มีข่าวชาวประมงที่สงขลาร้อง น้ำมันแพงหยุดจับปลา

แล้วพวกตัดไม้เถื่อน หมดไปหรือยังครับ..?


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 12:18


เพราะคุณคิว เป็นคนกรุงเทพโดยกำเนิด ไม่ได้อยู่บ้านนอก แล้วจะทราบวิถีชีวิตของคนบ้านนอกได้อย่างไรกัน

เห็นพูดทำนองนี้มาหลายความเห็นแล้ว พอถามว่ารู้อะไรเกี่ยวกับคนท้องถิ่นก็เงียบ?


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: อธิฏฐาน ที่ 27-01-2008, 12:21

เรื่องตัดไม้เถื่อน  หากไม่มากนักก็น่าจะดีใจ แสดงว่ายังมีป่าหลงเหลืออยู่ ผิดกับบางภาคไม่มีไม้จะตัดแล้ว
ส่วนเรื่องการประท้วงเป็นปกติ  เขาประท้วงกันแค่ศาลากลาง และก็เคลียร์ปัญหากันได้ ไม่ได้ยกคาราวานมาประท้วงที่กรุงเทพฯเหมือนคนอีสาน


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 12:30


เรื่องตัดไม้เถื่อน  หากไม่มากนักก็น่าจะดีใจ แสดงว่ายังมีป่าหลงเหลืออยู่ ผิดกับบางภาคไม่มีไม้จะตัดแล้ว
ส่วนเรื่องการประท้วงเป็นปกติ  เขาประท้วงกันแค่ศาลากลาง และก็เคลียร์ปัญหากันได้ ไม่ได้ยกคาราวานมาประท้วงที่กรุงเทพฯเหมือนคนอีสาน

ผมพยายามไม่เริ่มเปรียบเทียบมากนัก เพราะคิดว่าคนท้องถิ่นมีหน้าที่เตรียมความพร้อมต้อนรับคนต่างถิ่น..

แต่ถ้าเราไม่เห็นปัญหาในจุดที่ตัวเองอยู่ผมก็ว่าไม่ไหว อคติ..ต้องถามว่าแก้ไขได้แค่ไหนแล้ว..?



หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 12:35


เป็นไปได้ ให้ทุกภาค เป็นภาระกับรัฐบาลกลางน้อยที่สุด ผมว่าดีที่สุด

งบระมาณสำหรับท้องถิ่น เริ่มต้นน่าจะดูตามหัวประชากร


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: เพื่อนร่วมชาติ ที่ 27-01-2008, 12:36


ปัญหาของเถื่อนในภาคใต้แก้ปัญหายังไงดีครับ..?

สองวันนี้มีข่าวชาวประมงที่สงขลาร้อง น้ำมันแพงหยุดจับปลา

แล้วพวกตัดไม้เถื่อน หมดไปหรือยังครับ..?

ของเถื่อนต้องให้ สส. ปชป. ไปคอยยืนคุมด่านครับ

น้ำมันแพงก็ต้องให้ ปชป. ควักเงินพรรคอุดหนุนค่าน้ำมัน

ตัดไม้เถื่อนก็ต้องให้ สส. ปชป. ไปสืบหาพ่อค้าไม้รายใหญ่แล้วจับตัวมาลงโทษ

ไม่รู้ว่าต้องการคำตอบแบบนี้รึเปล่า


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 12:41


สส.ปชป.มีอะไร ที่ใช้เป็นแบบอย่างในการทำงานได้สำหรับสส.ภาคอื่นบ้างครับ..?


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: เพื่อนร่วมชาติ ที่ 27-01-2008, 12:57


ปัญหาของเถื่อนในภาคใต้แก้ปัญหายังไงดีครับ..?

สองวันนี้มีข่าวชาวประมงที่สงขลาร้อง น้ำมันแพงหยุดจับปลา

แล้วพวกตัดไม้เถื่อน หมดไปหรือยังครับ..?

แต่ถ้าอยากได้คำตอบแบบอื่น ปัญหาของเถื่อนกับตัดไม้เถื่อน ส่วนหนึ่งทำกันได้เพราะผู้รักษากฎหมายรู้เห็นเป็นใจ ปัญหาจุดนี้จึงต้องแก้ที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่ป่าไม้ ปัญหาของเถื่อนภาคใต้ควรแก้ปัญหาแบบไหน ปัญหาของเถื่อนที่แม่สายก็ควรแก้ในลักษณะเดียวกัน ปัญหาตัดไม้ภาคใต้ควรแก้แบบไหน ปัญหาตัดไม้ที่ภาคเหนือ ภาคตะวันตก ก็ควรแก้ในลักษณะเดียวกัน

เรื่องตัดไม้ เดี๋ยวนี้กลวิธีของพ่อค้าไม้มันหัวหมอมาก มันใช้วิธีจ้างแบบเหมา คือเหมาทั้งตัดทั้งขนออกมา ได้ของแล้วถึงจะจ่าย คนตัดก็คือคนท้องถิ่น ถ้าบังเอิญมันโดนจับ พ่อค้าไม้ก็ไม่เดือดร้อน แต่สุดท้ายพ่อค้าไม้ก็จะได้ของอยู่ดี เพราะมันสามารถใช้กลไกในการไปประมูลไม้ของกลางออกมาได้ นั่นหมายความกลไกการประมูลไม้ของกลางยังมีช่องให้พวกชั่วนี่อยู่ ตรงนี้อาจต้องศึกษาหาทางแก้กฎระเบียบการประมูล และตรวจสอบข้าราชการที่ทุจริต

ปัญหาน้ำมันแพง ถ้าไม่ขึ้นราคาอาหารทะเล ก็ต้องช่วยหาพลังงานทางเลือก หรือหาอาชีพเสริมอื่นที่ไม่ต้องใช้น้ำมันมาก เพราะไม่มีทางที่ ปชป. จะอุดหนุนราคาน้ำมันให้ชาวประมงได้ในระยะยาว


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 13:04
แต่ถ้าอยากได้คำตอบแบบอื่น ปัญหาของเถื่อนกับตัดไม้เถื่อน ส่วนหนึ่งทำกันได้เพราะผู้รักษากฎหมายรู้เห็นเป็นใจ ปัญหาจุดนี้จึงต้องแก้ที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่ป่าไม้ ปัญหาของเถื่อนภาคใต้ควรแก้ปัญหาแบบไหน ปัญหาของเถื่อนที่แม่สายก็ควรแก้ในลักษณะเดียวกัน ปัญหาตัดไม้ภาคใต้ควรแก้แบบไหน ปัญหาตัดไม้ที่ภาคเหนือ ภาคตะวันตก ก็ควรแก้ในลักษณะเดียวกัน

เรื่องตัดไม้ เดี๋ยวนี้กลวิธีของพ่อค้าไม้มันหัวหมอมาก มันใช้วิธีจ้างแบบเหมา คือเหมาทั้งตัดทั้งขนออกมา ได้ของแล้วถึงจะจ่าย คนตัดก็คือคนท้องถิ่น ถ้าบังเอิญมันโดนจับ พ่อค้าไม้ก็ไม่เดือดร้อน แต่สุดท้ายพ่อค้าไม้ก็จะได้ของอยู่ดี เพราะมันสามารถใช้กลไกในการไปประมูลไม้ของกลางออกมาได้ นั่นหมายความกลไกการประมูลไม้ของกลางยังมีช่องให้พวกชั่วนี่อยู่ ตรงนี้อาจต้องศึกษาหาทางแก้กฎระเบียบการประมูล และตรวจสอบข้าราชการที่ทุจริต

ปัญหาน้ำมันแพง ถ้าไม่ขึ้นราคาอาหารทะเล ก็ต้องช่วยหาพลังงานทางเลือก หรือหาอาชีพเสริมอื่นที่ไม่ต้องใช้น้ำมันมาก เพราะไม่มีทางที่ ปชป. จะอุดหนุนราคาน้ำมันให้ชาวประมงได้ในระยะยาว

อันนี้เป็นสิ่งที่ผมมองเห็นว่า ทำไม ปชป.ไม่แก้ไขปัญหาระบบและสภาพแวดล้อมราชการในท้องถิ่น ทั้งที่ได้สส.ใต้เกือบหมดทุกสมัย รวมทั้งสมัยที่เป็นรัฐบาลอยู่หลายปี หลายครั้งด้วย

ถ้าราชการดีความสัมพันธ์กับชาวบ้านดี ปัญหาไฟใต้น่าจะหมดไปนานแล้ว


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 13:07


แล้วอาวุธสงครามเถื่อนนี่ ภาคใต้ช่วงหลังผมว่ามีมากกว่าภาคอื่นๆ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 13:09


สนามบินภูเก็ต หลังจากอุบัติเหตุแล้วมี การปรับแก้ปัญหาเรื่องลมกรรโชกหรือเปล่าครับ?


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 13:17


ผมเข้าใจว่าคุณอธิษฐาน อยู่ในมอ. หรือว่าอยู่ในตัวเมืองหาดใหญ่ครับ? :slime_smile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 13:24


คือผมสรุปง่ายๆแล้วกัน ผมไม่ได้รู้สึกไม่ดีกับคนถิ่นใด

ผมเพียงแต่นำเสนอว่า ถ้าหากปชป.ไม่มีผลงานเด่นกว่านี้

ยิ่งไม่มีโอกาสเป็นรัฐบาล ง่ายมากครับที่งวดเลือกตั้งเที่ยวหน้าจะได้เสียงเหลือปริ่มๆร้อยเหมือนเดิม..


แล้วกระทู้นี้เปิดรับฟังผลงานปชป. ไม่ใช่มุ่งโจมตี แต่ต้องการกดดันให้ทำงานมากๆ เข้มงวดกับปัญที่ใกล้ชิดสส. :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: อธิฏฐาน ที่ 27-01-2008, 14:13

ผมเข้าใจว่าคุณอธิษฐาน อยู่ในมอ. หรือว่าอยู่ในตัวเมืองหาดใหญ่ครับ? :slime_smile:

อยู่ในหาดใหญ่ซิตี้ค่ะ  ส่วน มอ.ไปเป็นประจำ ไป รพ.บ้าง ไปหาอะไรทานแถวนั้นบ้าง


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 14:18


อยู่ในหาดใหญ่ซิตี้ค่ะ  ส่วน มอ.ไปเป็นประจำ ไป รพ.บ้าง ไปหาอะไรทานแถวนั้นบ้าง

ศูนย์อาหารใต้โรงพยาบาลก็อร่อยดีครับ..?

ดัดฟันหรือฉีดยาครับ? ดูเหมือนจะรับราชการนะครับ? :slime_smile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 14:24



ศูนย์อาหารใต้โรงพยาบาลก็อร่อยดีครับ..?

ดัดฟันหรือฉีดยาครับ? ดูเหมือนจะรับราชการนะครับ? :slime_smile:

ร้านติ๋มซำ ยังขายอยู่หรือเปล่าครับ ตรงหัวมุมด้านใน :slime_doubt:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีค
เริ่มหัวข้อโดย: jerasak ที่ 27-01-2008, 14:25
คือผมสรุปง่ายๆแล้วกัน ผมไม่ได้รู้สึกไม่ดีกับคนถิ่นใด

ผมเพียงแต่นำเสนอว่า ถ้าหากปชป.ไม่มีผลงานเด่นกว่านี้
ยิ่งไม่มีโอกาสเป็นรัฐบาล ง่ายมากครับที่งวดเลือกตั้งเที่ยวหน้าจะได้เสียงเหลือปริ่มๆร้อยเหมือนเดิม..

แล้วกระทู้นี้เปิดรับฟังผลงานปชป. ไม่ใช่มุ่งโจมตี แต่ต้องการกดดันให้ทำงานมากๆ เข้มงวดกับปัญที่ใกล้ชิดสส. :slime_fighto:
ผมสรุปให้ง่ายกว่านั้นอีก..  :slime_smile:

ถ้า ปชป. ไม่มีผลงานเด่นกว่านี้ในสายตาคุณ Q
สมัยหน้าก็ไม่ได้คะแนนจากคุณ Q .. เหมือนเดิม

แต่คนที่เขายังพอใจ หรือ คนใหม่ๆ ที่เริ่มพอใจ
รวมทั้งคนที่ไม่พอใจในรัฐบาลปัจจุบัน ก็คงจะ
เทคะแนนมาให้กับ ปชป.

ฐานเสียง ปชป.ไม่ได้คาดหวังอะไรแบบคุณ Q
ตราบใดที่ฐานเสียงของ ปชป. ไม่ได้มีปัญหา
กับการทำงานของ ปชป. เขาก็ยังเลือกต่อ
และคุณ Q ไม่ใช่ฐานเสียง ปชป. เสียด้วย  :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีค
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 14:27
ผมสรุปให้ง่ายกว่านั้นอีก..  :slime_smile:

ถ้า ปชป. ไม่มีผลงานเด่นกว่านี้ในสายตาคุณ Q
สมัยหน้าก็ไม่ได้คะแนนจากคุณ Q .. เหมือนเดิม

แต่คนที่เขายังพอใจ หรือ คนใหม่ๆ ที่เริ่มพอใจ
รวมทั้งคนที่ไม่พอใจในรัฐบาลปัจจุบัน ก็คงจะ
เทคะแนนมาให้กับ ปชป.

ฐานเสียง ปชป.ไม่ได้คาดหวังอะไรแบบคุณ Q
ตราบใดที่ฐานเสียงของ ปชป. ไม่ได้มีปัญหา
กับการทำงานของ ปชป. เขาก็ยังเลือกต่อ
และคุณ Q ไม่ใช่ฐานเสียง ปชป. เสียด้วย  :slime_bigsmile:

เกรงว่าจะถูกพปช.รุกฆาตเป็นระยะสิครับ.. :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 14:36



ผมเคยเตือนแล้วให้ระวังเสียงทางใต้ให้ดีก็แล้วกัน..

คนใต้รักจริงเกลียดจริงนะครับ จะบอกให้ จริงป่ะครับ คุณอธิษฐาน..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: อธิฏฐาน ที่ 27-01-2008, 16:27


ผมเคยเตือนแล้วให้ระวังเสียงทางใต้ให้ดีก็แล้วกัน..

คนใต้รักจริงเกลียดจริงนะครับ จะบอกให้ จริงป่ะครับ คุณอธิษฐาน..

พฤติกรรมของเหลี่ยม พฤติกรรมของสมัคร พฤติกรรมของวีระ  พฤติกรรมของพวก นปก.
ทำให้คนใต้เห็นใจพรรคประชาธิปัตย์มากขึ้น เราจะมองพรรค มากกว่ามอง สส.ในพื้นที่ เพราะการพึ่งพา สส.
รู้สึกว่าบางครั้งไม่จำเป็นสำหรับชาวบ้าน เพราะเขาช่วยเหลือตนเองได้


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 19:41


พฤติกรรมของเหลี่ยม พฤติกรรมของสมัคร พฤติกรรมของวีระ  พฤติกรรมของพวก นปก.
ทำให้คนใต้เห็นใจพรรคประชาธิปัตย์มากขึ้น เราจะมองพรรค มากกว่ามอง สส.ในพื้นที่ เพราะการพึ่งพา สส.
รู้สึกว่าบางครั้งไม่จำเป็นสำหรับชาวบ้าน เพราะเขาช่วยเหลือตนเองได้

ถ้าอยากให้ปชป.ฟื้นจากกระแสลวงตา ก็จับตาการทำงานของแกนนำ อย่างชวน เทพเทือก และอภิสิทธิ์ให้ดีครับ..

ผมเห็นว่าถ่วงพรรค..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 20:36
ในระหว่างที่ยังไม่ได้ฟังอภิสิทธิ์ แสดงวิสัยทัศน์ ให้ ชวน เทพเทือกต้องปฏิบัติตาม
ก็เอาข้อมูลเก่าๆมาเปรียบเทียบครับ


รายงานผลการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ เมื่อ 19 ส.ค. 2550 จำแนกรายภาค


ภาค                    เห็นชอบ     ร้อยละ  ไม่เห็นชอบ  ร้อยละ



กลาง                  5,714,973  66.53  2,874,674  33.47

ใต้                      3,214,506  88.30  425,883  11.70

ตะวันออกเฉียงเหนือ 3,050,182  37.20  5,149,957  62.80

เหนือ                   2,747,645  54.47  2,296,927  45.53

รวมทั่วประเทศ      14,727,306  57.81  10,747,441 42.19


หมายเหตุ สถิติตามตารางนี้คำนวณจากบัตรที่นับเป็นคะแนน โดยไม่รวมบัตรที่ไม่ได้นับเป็นคะแนน เช่น
บัตรเสีย การฉีกบัตร การคืนบัตร หรืออื่นๆ ซึ่งเป็นไปตามประกาศ สสร. ข้อ 33 เพื่อแสดง
ผลการออกเสียงประชามติ รายการเห็นชอบและไม่เห็นชอบ ในอัตรา 100 เปอร์เซ็นต์


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 21:10


ข้อมูลสถิติ และผลการเลือกตั้ง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
พ.ศ. 2548
http://www.ect.go.th/thai/download49/book_mp_48.pdf


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 21:14


คะแนนตามตารางของพปช. ยังไม่ไช่คะแนนสุทธิ คือ สรุปแล้วมากกว่าปชป.แต่ก็ใช้ดูได้ครับ

(http://forum.serithai.net/index.php?action=dlattach;topic=20161.0;attach=5267;image)


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 21:25
หน้าแรกเลือกตั้ง 48 | ผลการเลือกตั้งทั่วประเทศ

ตารางแสดงผลคะแนนบัญชีรายชื่อ   http://www.manager.co.th/Election48/ElectionTable.html
ชื่อพรรค คะแนน คิดเป็น
(% ของผู้ลงคะแนน)  จำนวนที่นั่งที่ได้  
 (1)พรรคชาติไทย 2,039,000 6.71 8
 (2)พรรคกิจสังคม 54,574 0.18 0
 (3)พรรคพัฒนาชาติไทย 63,363 0.21 0
 (4)พรรคประชาธิปัตย์ 7,066,000  23.25  24
 (5)พรรคประชาชนไทย 53,091 0.17 0
 (6)พรรคคนขอปลดหนี้ 231,053 0.76 0
 (7)พรรคธรรมชาติไทย 33,117 0.11 0
 (8)พรรคแผ่นดินไทย 72,649 0.24 0
 (9)พรรคไทยรักไทย 18,896,000  62.18  68
 (10)พรรคความหวังใหม่ 79,527 0.26 0
 (11)พรรคมหาชน 1,152,308 3.79 0
 (12)พรรคประชากรไทย 34,495 0.11 0
 (13)พรรคไทยช่วยไทย 44,531 0.15 0
 (14)พรรคแรงงาน 138,078 0.45 0
 (15)พรรคชาติประชาธิปไตย 85,535 0.28 0
 (16)พรรคกสิกรไทย 20,204 0.07 0
 (17)พรรคทางเลือกที่สาม 11,639 0.04 0
 (18)พรรครักษ์ถิ่นไทย 24,251 0.08 0
 (19)พรรคพลังเกษตรกร 266,694 0.88 0
 (20)พรรคพลังประชาชน 23,655 0.08 0
 (21)พรรคพลังธรรม 0 0.00 0
 (22)พรรคกฤษ์ไทยมั่นคง 0 0.00 0
 (23)พรรครักษ์แผ่นดินไทย 0 0.00 0
 (24)พรรคเกษตรกรไทย 0 0.00 0
 (25)พรรคเผ่าไท 0 0.00 0
 รวม 30,389,764  98.00  100  


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 22:23

แบบบัญชีรายชื่อ   http://www.prdnorth.in.th/election/Loads/Old_Election.zip   
วันที่ทำการเลือกตั้ง 6 มกราคม 2544      
คะแนนของแต่ละพรรคการเมืองที่ได้รับจากประชาชน      
ประมวลผลล่าสุด ณ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2544 เวลา 01.12   น.      
คะแนนของทุกพรรครวมกัน                        =   28,127,532  คะแนน      
 พรรคที่จะมีส.ส.ต้องได้คะแนน (5% ขึ้นไป)   =    1,406,376  คะแนน
      
พรรค   คะแนนรวม   คิดเป็นร้อยละ

ไทยรักไทย   11530216   40.99
ประชาธิปัตย์   7363044   26.17
ความหวังใหม่   1982278   7.04
ชาติพัฒนา   1736407   6.17
ชาติไทย   1481981   5.26
เสรีธรรม   794094   2.82
ถิ่นไทย   594389   2.11
ราษฎร   354018   1.25
ประชากรไทย   336032   1.19
ไทยประชาธิปไตย   195140   0.69
ชาติประชาธิปไตย   191264   0.67
อำนาจประชาชน   146706   0.52
ไทยช่วยไทย   127956   0.45
นิติมหาชน   119457   0.42
รักสามัคคี   117540   0.41
เสรีประชาธิปไตย   107330   0.38
เกษตรมหาชน   72298   0.25
สังคมใหม่   72000   0.25
สยาม   71049   0.25
พลังธรรม   67466   0.23
พลังประชาชน   63446   0.22
พลังเกษตรกร   57020   0.2
ไท   56383   0.2
กสิกรไทย   54336   0.19
พัฒนาสังคม   48061   0.17
ชีวิตที่ดีกว่า   45399   0.16
ชาวไทย   44762   0.15
กิจสังคม   44266   0.15
ชาวนาพัฒนาประเทศ   44198   0.15
ก้าวหน้า   31743   0.11
สังคมประชาธิปไตย   31677   0.11
ไทยมหารัฐ   31105   0.11
สันติภาพ   29096   0.1
แรงงานไทย   28820   0.1
ศรัทธาประชาชน   25164   0.08
เผ่าไทย   19378   0.06
วิถีไทย   12013   0.04
รวม   28127532   100


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 27-01-2008, 23:03


ผลการนับคะแนนเลือกตั้งอย่างไม่เป็นทางการ
http://news.sanook.com/election49/election_17983.php

 
โดย วัน อังคาร ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2549 06:30 น.
 
 รายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง รวม 537 คน

กระบี่
กระบี่ 1 นายสฤษฎ์พงษ์ เกี่ยวข้อง ไทยรักไทย 10,375 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 28,830 คะแนน
กระบี่ 2 นายสุพจน์ นครป้อ ไทยรักไทย 3,476 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 22,899 คะแนน
กระบี่ 3 นายอติพจน์ ศรีสุคนธ์ ไทยรักไทย 5,359 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 20,072 คะแนน

กรุงเทพมหานคร

เขต 1 ดุสิต พระนคร(แขวงบวรนิเวศ แขวงตลาดยอด แขวงบ้านพานถม แขวงบางขุนพรม และแขวงวัดสามพระยา)

หมายเลข 2 นายกฤษฎา สัจจกุล ไทยรักไทย 31,304 คะแนน
หมายเลข 4 น.ส.ลีลาวดี วัชโรบล ประชากรไทย 3,794 คะแนน
หมายเลข 8 นายสุรพงษ์ แว่นแก้ว ธัมมาธิปไตย 80 คะแนน
หมายเลข 9 นายชนะภูมิ น้อยอำพน กสิกรไทย 152 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 29,213 คะแนน

เขต 2 บางซื่อ
หมายเลข 2 นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ไทยรักไทย 33,844 คะแนน
หมายเลข 4 นายสมประสงค์ ปัญจทวี ประชากรไทย 1,304 คะแนน
หมายเลข 9 นายวิรัตน์ พัชราวุธ กิจสังคม 292 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 33,709 คะแนน

เขต 3 พญาไท,ราชเวที(แขวงทุ่งพญาไท)

หมายเลข 2 ร.อ.รชฏ พิสิษฐบรรณกร ไทยรักไทย 21,938 คะแนน
หมายเลข 4 นายสุรัตน์ ยุทธนาวนิชย์ ประชากรไทย 939 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 26,767 คะแนน

เขต 4 ปทุมวัน,ราชเทวี(ยกเว้นแขวงทุ่งพญาไท)

กรุงเทพมหานคร 4 น.ส.ยุวลักษณ์ อภิธนาคุณ ไทยรักไทย 16,010 คะแนน
หมายเลข 2 นายพลท เฉลิมแสน ประชากรไทย 484 คะแนน

**ไม่เลือกใคร 29,267 คะแนน

เขต 5 บางรัก สัมพันธวงศ์ ป้อมปราบฯ(ยกเว้นแขวงบวรนิเวศ แขวงตลาดยอด แขวงบ้านพานถม แขวงบางขุนพรม แขวงบ้านสามพระยา)

หมายเลข 2 นายจักรภพ เพ็ญแข ไทยรักไทย22,231 คะแนน
หมายเลข 4 นายสรรพัชญ มหาสารินันทน์ ประชากรไทย 707 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 56,277 คะแนน

เขต 6 ยานนาวา สาทร

หมายเลข 2 นายดนุพร ปุณณกันต์ ไทยรักไทย 26,420 คะแนน
หมายเลข 4 นายโสภิณ บำรุงเวช ประชากรไทย 789 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 50,887 คะแนน

เขต 7 บางคอแหลม

หมายเลข 2 นายพงษ์พิสุทธิ์ จินตโสภณ ไทยรักไทย16,176คะแนน
**ไม่เลือกใคร 26,774 คะแนน

เขต 8 คลองเตย

หมายเลข 2 น.ต.ศิธา ทิวารี ไทยรักไทย 20,306 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 25,559 คะแนน

เขต 9 ห้วยขวาง วัฒนา(ยกเว้นพระโขนงเหนือ)

หมายเลข 2 น.ส.ณหทัย ทิวไผ่งาม ไทยรักไทย 22,957 คะแนน
หมายเลข 4 น.ส.วาสนา ศรีรางวัล ประชากรไทย 689 คะแนน คะแนน
**ไม่เลือกใคร 33,270 คะแนน

เขต 10 ดินแดง

หมายเลข 2 นายยุรนันท์ ภมรมนตรี ไทยรักไทย29,756 คะแนน
หมายเลข 4 นายสุรางค์ หอมจันทร์ ประชากรไทย 913 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 34,213 คะแนน

เขต 11 จตุจักร

หมายเลข 2 นายเฉลิมชัย จีนะวิจารณะ ไทยรักไทย 36,235 คะแนน
หมายเลข 4 น.ส.สุแพรวพรรณ ตันติพลาผล ประชากรไทย1,070 คะแนน
หมายเลข 6 นายเลอพงษ์ หนิมพานิช ไทยช่วยไทย 190 คะแนน
หมายเลข 9 นายณัฐฌพรหม นุสติ กฤษไทมั่นคง216 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 44,029 คะแนน

เขต 12 หลักสี่

หมายเลข 2 น.ส.ศุภมาส อิศรภักดี ไทยรักไทย 29,328 คะแนน
หมายเลข 4 นายพิศาล เทพศิริ ประชากรไทย 936 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 26,860 คะแนน

เขต 13 ดอนเมือง

หมายเลข 2 น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ ไทยรักไทย 39,111 คะแนน
กรุงเทพมหานคร 13 นายสุมิตร สุนทรเวช ประชากรไทย 3,102 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 30,572 คะแนน

เขต 14 ดอนเมือง

หมายเลข 2 นางปวีณา หงสกุล ไทยรักไทย 46,301 คะแนน
หมายเลข 4 นายสันติ แม้นเหมือน ประชากรไทย 1,269
**ไม่เลือกใคร 27,273 คะแนน

เขต 15 บางเขน

หมายเลข 2 นายอนุสรณ์ ปั้นทอง ไทยรักไทย 45,067 คะแนน
หมายเลข 4 พล.อ.ท.สมบูรณ์ จ่าภา ประชากรไทย 1,980 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 39,020 คะแนน

เขต 16 ลาดพร้าว

หมายเลข 2 นายวชิรมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์ ไทยรักไทย 25,392 คะแนน
หมายเลข 4 นายรณทศ กองผาพา ประชากรไทย 1,064 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 31,911 คะแนน

เขต 17 วังทองหลาง

หมายเลข 2 น.ส.ภูวนิดา คุนผลิน ไทยรักไทย 22,752 คะแนน
หมายเลข 4 นายสันติ วิชัยพล ประชากรไทย 732 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 28,414 คะแนน

เขต 18 บางกะปิ

หมายเลข 2 นายพิมล ศรีวิกรม์ ไทยรักไทย 28,956 คะแนน
หมายเลข 4 จ.อ.สุนันชัย บุญรอด ประชากรไทย 768 คะแนน
หมายเลข 8 นายทองคำ ศรีสัมฤทธิ์ ธัมมาธิปไตย136 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 37,359 คะแนน

เขต 19 บึงกุ่ม

หมายเลข 2 นายพฤฒิชัย ดำรงรัตน์ ไทยรักไทย 29,604 คะแนน
หมายเลข 4 นายสุริยัณห์ ภู่พวงทอง ประชากรไทย 1,055 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 34,765 คะแนน

เขต 20 คันนายาว สะพานสูง

หมายเลข 2 นายเอกพจน์ วงศ์อารยะ ไทยรักไทย 35,077 คะแนน
หมายเลข 4 นายสมโภช พุ่มน้อย ประชากรไทย 1,251 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 41,912 คะแนน

เขต 21 สวนหลวง ประเวศ(เฉพาะเขตประเวศ)

หมายเลข 2 นายภัทรศักดิ์ โอสถานุเคราะห์ ไทยรักไทย 33,646 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 45,610 คะแนน

เขต 22 บางนา ประเวศ(ยกเว้นเขตประเวศ)

หมายเลข 2 น.ส.ศันสนีย์ นาคพงศ์ ไทยรักไทย 37,702 คะแนน
หมายเลข 4 นายพิศาล ไชยชาญ ประชากรไทย 1,400 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 38,678 คะแนน

เขต 23 พระโขนง วัฒนา(เฉพาะแขวงพระโขนงเหนือ)

หมายเลข 2 นายวัฒนา เซ่งไพเราะ ไทยรักไทย 22,463 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 33,062 คะแนน

เขต 24 หนองจอก ลาดกระบัง

หมายเลข 2 นายมงคล กิมสูนจันทร์ ไทยรักไทย 62,837 คะแนน
หมายเลข 4 นางกุสุมา เด่นเจริญ ประชากรไทย 4,304 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 47,356 คะแนน

เขต 25 มีนบุรี คลองสามวา

หมายเลข 2 นายวิชาญ มีนชัยนันท์ ไทยรักไทย 56,316 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 53,635 คะแนน

เขต 26 ธนบุรี(ยกเว้น แขวงวัดกัลยาณ์และแขวงหิรัญรูจี)

หมายเลข 2 นายเอนก หุตังคบดี ไทยรักไทย 21,401 คะแนน
กรุงเทพมหานคร 26 นางเจริญศรี เพียรกิจ พลังประชาชน 242 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 25,989 คะแนน

เขต 27 คลองสาน ธนบุรี(เฉพาะแขวงวัดกัลยาณ์และแขวงหิรัญรูจี)

หมายเลข 2 น.ส.ศิลัมพา เลิศนุวัฒน์ ไทยรักไทย 19,401 คะแนน
หมายเลข 3 น.ส.เปรมใจ เจริญอรุณวัฒนา พลังประชาชน 325 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 31,041 คะแนน

เขต 28 บางพลัด บางกอกน้อย(เฉพาะแขวงอรุณอัมรินทร์)

หมายเลข 2 นายภิมุข สิมะโรจน์ ไทยรักไทย 28,693 คะแนน
หมายเลข 3 ร.ต.อ.หญิงอนงค์นาฎ กลันทกพันธ์ พลังประชาชน 313 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 34,347 คะแนน

เขต 29 บางกอกน้อย(ยกเว้นแขวงอรุณอัมรินทร์)

หมายเลข 2 นายสมพรต สาระโกเศศ ไทยรักไทย 20,200 คะแนน
หมายเลข 2 นายเอกรินทร์ สถานนท์ชัย ประชากรไทย 2,175 คะแนน
หมายเลข 9 นายแสงฟ้า นพรัตน์เรืองเด่น ชีวิตที่ดีกว่า 99 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 26,238 คะแนน

เขต 30 ตลิ่งชัน ภาษีเจริญ (เฉพาะแขวงบางด้วน แขวงบางแวก และแขวงคลองขวาง)

หมายเลข 2 นายปิติพงศ์ เต็มเจริญ ไทยรักไทย 38,683 คะแนน
หมายเลข 3 นางรานี กฤษฎาธาร พลังประชาชน 307 คะแนน
หมายเลข 4 นายพรชัย อรัณยกานนท์ ประชากรไทย 1,818 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 39,343 คะแนน

เขต 31 บางกอกใหญ่ ภาษีเจริญ (ยกเว้นแขวงบางด้วน แขวงบางแวก และแขวงคลองขวาง)

หมายเลข 2 นายมานะ คงวุฒิปัญญา ไทยรักไทย 31,592คะแนน
หมายเลข 4 นายกรรณ เจียมเจริญ ประชากรไทย 1,576 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 37,741 คะแนน

เขต 32 จอมทอง

หมายเลข 2 นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ ไทยรักไทย 35,766 คะแนน
หมายเลข 3 น.ส.พัชรินทร์ ฉิมอิ่ม พลังประชาชน 263 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 36,162 คะแนน

เขต 33 ราษฎร์บูรณะ ทุ่งครุ

หมายเลข 2 นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล ไทยรักไทย 42,698 คะแนน
หมายเลข 4 นางสุนันทา ศิริถาวรสุวรรณ พลังประชาชน 674 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 44,888 คะแนน

เขต 34 บางขุนเทียน บางบอน

หมายเลข 2 นายสากล ม่วงศิริ ไทยรักไทย 52,750 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 46,599 คะแนน

เขต 35 บางแค

หมายเลข 2 นายสุธา ชันแสง ไทยรักไทย 40,352 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 44,722 คะแนน

เขต 36 หนองแขม ทวีวัฒนา

หมายเลข 2 นายแสวง ฤกษ์จรัล ไทยรักไทย44,941 คะแนน
หมายเลข 6 น.ส.เรวดี พรหมประพันธ์ ไทยช่วยไทย 694 คะแนน
หมายเลข 9 นายอนุสรณ์ เกษมวรรณ พลังธรรม 530 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 45,744 คะแนน

กาญจนบุรี
กาญจนบุรี 1 พล.อ.สมชาย วิษณุวงศ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
กาญจนบุรี 2 นายสันทัด จีนาภักดิ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
กาญจนบุรี 3 นายเรวัต สิรินุกุล ไทยรักไทย
กาญจนบุรี 3 นายสมชาย รัตนนภัสกุล ประชากรไทย
กาญจนบุรี 3 น.ส.นฤมล สุขขำ เพื่อนเกษตรไทย
**ไม่เลือกใคร
กาญจนบุรี 4 นายไพบูลย์ พิมพ์พิสิฐถาวร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
กาญจนบุรี 5 พล.ท.มะ โพธิ์งาม ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

กาฬสินธุ์
กาฬสินธุ์ 1 นางบุญรื่น ศรีธเรศ ไทยรักไทย 28,945 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 7,524 คะแนน
กาฬสินธุ์ 2 น.ส.อรดี สุทธศรี ไทยรักไทย 7,603 คะแนน
กาฬสินธุ์ 2 นายณัฐพล สุวรรณชาติ คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร 801 คะแนน
กาฬสินธุ์ 3 นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง ไทยรักไทย 13,710 คะแนน
กาฬสินธุ์ 3 นายแปลก สุวรรณชาติ คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร 3,008 คะแนน
กาฬสินธุ์ 4 นายพีระเพชร ศิริกุล ไทยรักไทย 6,189 คะแนน
กาฬสินธุ์ 4 น.ส.ปาริชาติ สุวรรณชาติ คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร ,622 คะแนน
กาฬสินธุ์ 5 น.ส.ภัทรา วรามิตร ไทยรักไทย 19,966 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 2,556 คะแนน
กาฬสินธุ์ 6 นายประเสริฐ บุญเรือง ไทยรักไทย 21,216 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 2,842 คะแนน

กำแพงเพชร
กำแพงเพชร 1 นายเรืองวิทย์ ลิกค์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
กำแพงเพชร 2 น.ส.คะนึง ไทยประสิทธิ์ ไทยรักไทย 4,907 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 3,308 คะแนน
กำแพงเพชร 3 พ.ต.ท.ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
กำแพงเพชร 4 นายสนั่น สบายเมือง ไทยรักไทย 1,740 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,133 คะแนน
กำแพงเพชร 5 นายถวิล ฤกษ์หร่าย ไทยรักไทย 25,032 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 9,123 คะแนน

ขอนแก่น
ขอนแก่น 1 นายจักริน พัฒน์ดำรงจิตร ไทยรักไทย 11,159 คะแนน
ขอนแก่น 1 นายธนาศักดิ์ สำเริง แผ่นดินไทย
**ไม่เลือกใคร 8,158 คะแนน
ขอนแก่น 2 นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ ไทยรักไทย 331 คะแนน
ขอนแก่น 2 ร.ต.เทอดศักดิ์ มีสวัสดิ์ เกษตรกรไทย
ขอนแก่น 2 น.ส.พรพิมล มูลสาร แผ่นดินไทย
ขอนแก่น 2 นายธนภณ กิตติวิมลชัย กิจสังคม
**ไม่เลือกใคร 100 คะแนน
ขอนแก่น 3 นายจตุพร เจริญเชื้อ ไทยรักไทย 19,589 คะแนน
ขอนแก่น 3 นายประสิทธิ์ จันทสาร เกษตรกรไทย
**ไม่เลือกใคร 2,515 คะแนน
ขอนแก่น 4 นางมุกดา พงษ์สมบัติ ไทยรักไทย 16,910 คะแนน
ขอนแก่น 4 นางสัตตาภรณ์ ธวบุรี แผ่นดินไทย
ขอนแก่น 4 นายประยงค์ อันไขหน้า ประชาธิปไตยก้าวหน้า
**ไม่เลือกใคร 3,399 คะแนน
ขอนแก่น 5 นายภูมิ สาระผล ไทยรักไทย 13,008 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 2,478 คะแนน
ขอนแก่น 6 นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ ไทยรักไทย 13,807 คะแนน
ขอนแก่น 6 นายธนายุทธ บุตดาเวียง คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร 2,568 คะแนน
ขอนแก่น 7 นายสุชาย ศรีสุรพล ไทยรักไทย 23,296 คะแนน
ขอนแก่น 7 นายทัศไน ล่ามสมบัติ ไทยช่วยไทย
ขอนแก่น 7 นายเกรียงไกร วัชเรนทร์สุนทร ประชาธิปไตยก้าวหน้า
**ไม่เลือกใคร 3,051 คะแนน
ขอนแก่น 8 นายสมศักดิ์ คุณเงิน ไทยรักไทย 18,715 คะแนน
ขอนแก่น 8 นายสงวน ศรีพิลา ไทยช่วยไทย
**ไม่เลือกใคร 2,015 คะแนน
ขอนแก่น 9 นายอรรถสิทธิ์ กาญจนสินิทธิ์ ไทยรักไทย 21,156 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 6,167 คะแนน
ขอนแก่น 10 นายพงศกร อรรณพพร ไทยรักไทย 23,775 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 3,364 คะแนน
ขอนแก่น 11 นายเรืองเดช สุพรรณฝ่าย ไทยรักไทย 32,751 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,847 คะแนน

จันทบุรี
จันทบุรี 1 นายกล้าณรงค์ พงษ์เจริญ ไทยรักไทย 9,246คะแนน
จันทบุรี 1 นายมานิตย์ แสวงการ ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร 16,153 คะแนน
จันทบุรี 2 พล.ต.ต.พยุง ตรงสวัสดิ์ ไทยรักไทย 11,340 คะแนน
จันทบุรี 2 นายวีรสิทธิ์ ทองจันทร์ ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร 11,128 คะแนน
จันทบุรี 3 นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ ไทยรักไทย 11,249 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 9,354 คะแนน

ฉะเชิงเทรา
ฉะเชิงเทรา 1 นางฐิติมา ฉายแสง ไทยรักไทย 16,515 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 14,717 คะแนน
ฉะเชิงเทรา 2 นายสมชัย อัศวชัยโสภณ ไทยรักไทย 12,745คะแนน
**ไม่เลือกใคร 6,909 คะแนน
ฉะเชิงเทรา 3 นายสุชาติ ตันเจริญ ไทยรักไทย 19,200 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,888 คะแนน
ฉะเชิงเทรา 4 นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง ไทยรักไทย 12,005 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 8,783 คะแนน

ชลบุรี
ชลบุรี 1 นายสง่า ธนสงวนวงศ์ ไทยรักไทย 9,857 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 15,633 คะแนน
ชลบุรี 2 นายอัมรินทร์ ตั้งประกอบ ไทยรักไทย 12,477 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 20,237 คะแนน
ชลบุรี 3 นายวิทยา คุณปลื้ม ไทยรักไทย 13,593 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 28,564 คะแนน
ชลบุรี 4 นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ไทยรักไทย 8,043 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 9,463 คะแนน
ชลบุรี 5 นายอิทธิพล คุณปลื้ม ไทยรักไทย 23,153 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 28,564 คะแนน
ชลบุรี 6 นายอุทัย มณีรัตน์โรจน์ ไทยรักไทย 15,436 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 15,763 คะแนน
ชลบุรี 7 นายชาญยุทธ เฮงตระกูล ไทยรักไทย 14,953 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 14,845 คะแนน
ชลบุรี 8 นายปรเมศร์ งามพิเชษฐ์ ไทยรักไทย 19,256 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 13,204 คะแนน

ชัยนาท
ชัยนาท 1 นายอนุสรณ์ นาคาศัย ไทยรักไทย 19,232 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 13,601 คะแนน
ชัยนาท 2 นายชัยวัฒน์ ทรัพย์รวงทอง ไทยรักไทย 24,627 คะแนน
ชัยนาท 2 จ.ส.ต.มานะ สุชัยคณารักษ์ ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร 12,158 คะแนน

ชัยภูมิ
ชัยภูมิ 1 นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ ไทยรักไทย 24,999 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 8,463 คะแนน
ชัยภูมิ 2 นายชวลิต มหาจันทร์ ไทยรักไทย 27,722 คะแนน
**ไม่เลือกใคร
ชัยภูมิ 3 น.ส.ปาริชาติ ชาลีเครือ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ชัยภูมิ 4 นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ชัยภูมิ 5 นายศรคม ฦาชา ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ชัยภูมิ 6 นายเจริญ จรรย์โกมล ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ชัยภูมิ 7 นายสุรวิทย์ คนสมบูรณ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

ชุมพร
ชุมพร 1 นายธวัช บุรินทร์วัฒนา ไทยรักไทย 2,676 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 13,167 คะแนน
ชุมพร 2 นายสมชาย คุณวุฒิ ไทยรักไทย
ชุมพร 2 นายอาคม หญีตน้อย เพื่อนเกษตรไทย
**ไม่เลือกใคร
ชุมพร 3 นายเฉลิมชัย นิยมไท ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

เชียงราย
เชียงราย 1 นายสามารถ แก้วมีชัย ไทยรักไทย 9,021 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,900 คะแนน
เชียงราย 2 นายสฤษฎ์ อึ้งอภินันท์ ไทยรักไทย 22,234 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 3,876 คะแนน
เชียงราย 3 นายสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์ ไทยรักไทย 13,388 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 3,111 คะแนน
เชียงราย 4 นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์ ไทยรักไทย 18,080 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,214 คะแนน
เชียงราย 5 นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์ ไทยรักไทย 3,079 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 1,014 คะแนน
เชียงราย 6 น.ส.ละออง ติยะไพรัช ไทยรักไทย 15,454 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 2,771 คะแนน
เชียงราย 7 นายอิทธิเดช แก้วหลวง ไทยรักไทย 15,908 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,069 คะแนน
เชียงราย 8 นายบัวสอน ประชามอญ ไทยรักไทย 13,739 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 2,672 คะแนน

เชียงใหม่
เชียงใหม่ 1 นายปกรณ์ บูรณุปกรณ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
เชียงใหม่ 2 นายพายัพ ชินวัตร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
เชียงใหม่ 3 นายบุญทรง เตริยาภิรมย์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
เชียงใหม่ 4 นายวิทยา ทรงคำ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
เชียงใหม่ 5 นายพรชัย อรรถปรียางกูร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
เชียงใหม่ 6 นายนพคุณ รัฐผไท ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
เชียงใหม่ 7 นายสุรพล เกียรติไชยากร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
เชียงใหม่ 8 นางผณินทรา ภัคเกษม ไทยรักไทย
เชียงใหม่ 8 นายปฐม หล้าพระบาง คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร
เชียงใหม่ 9 นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
เชียงใหม่ 10 นายสันติ ตันสุทัช ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
เชียงใหม่ 11 นายโสภณ โกชุม ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

ตรัง
ตรัง 1 นายไกรสิน โตทับเที่ยง ไทยรักไทย 956 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,898 คะแนน
ตรัง 2 นายทวี สุระบาล ไทยรักไทย 2,869 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 9,657 คะแนน
ตรัง 3 นางทัศนีย์ สุนทรนนท์ ไทยรักไทย 7,431 คะแนน
ตรัง 3 นายวิญาสิษฐ์ สุนทรนนท์ ประชากรไทย 4,583 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 46,977 คะแนน
**บัตรเสีย 11,404 ใบ
ตรัง 4 นายพีรพนธ์ ลังเมือง ไทยรักไทย 9,857 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 51,222 คะแนน

ตราด
ตราด 1 นายสิงหา สง่าศิลป์ ไทยรักไทย 10,681 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 17,227 คะแนน

ตาก
ตาก 1 นายธนัสถ์ ทวีเกื้อกูลกิจ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ตาก 2 นายชำนาญ สันติพนารักษ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ตาก 3 นางสุกัลยา โชคบำรุง ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

นครนายก
นครนายก 1 นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร ไทยรักไทย 21,588 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 18,549 คะแนน
นครนายก 2 นายวุฒิชัย กิตติธเนศวร ไทยรักไทย 19,742 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 13,369 คะแนน

นครปฐม
นครปฐม 1 นายรัฐกร เจนกิจณรงค์ ไทยรักไทย 12,354 คะแนน
นครปฐม 1 นายชูทรัยพ์ อำนวยทรัพย์ ประชากรไทย 1,133 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 23,164 คะแนน
นครปฐม 2 นายชาญชัย ปทุมารักษ์ ไทยรักไทย 21,702 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 13,623 คะแนน
นครปฐม 3 นายก่อเกียรติ สิริยะเสถียร ไทยรักไทย 24,151 คะแนน
นครปฐม 3 นายไชยยศ บุญยะรัตน์ คนขอปลดหนี้ 897 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 12,675 คะแนน
นครปฐม 4 นายไชยา สะสมทรัพย์ ไทยรักไทย 25,368 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 19,154 คะแนน
นครปฐม 5 นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ ไทยรักไทย 14,560 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 12,365 คะแนน

นครพนม
นครพนม 1 นายชวลิต วีชยสุทธิ์ ไทยรักไทย
นครพนม 1 นายชุมพล ดวงขำ คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร
นครพนม 2 นายไพจิต ศรีวรขาน ไทยรักไทย
นครพนม 2 นายกรัณฑ์ โกพลรัตน์ คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร
นครพนม 3 นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ ไทยรักไทย
นครพนม 3 นายธีรวัฒน์ พลเชียงหลาง คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร
นครพนม 4 นายอรรถสิทธิ์(คันคาย) ทรัพยสิทธิ์ ไทยรักไทย
นครพนม 4 นายโยธิน ไชยธงยศ เกษตรกรไทย
นครพนม 4 นายเมธ์ ปุ่มเป้า คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร
นครพนม 5 นายศุภชัย โพธิ์สุ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

นครราชสีมา
นครราชสีมา 1 นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล ไทยรักไทย 32,312 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 36,827 คะแนน
**บัตรเสีย 4,706 ใบ
นครราชสีมา 2 นายวรรธวริทธิ์ ตันติภิรมย์ ชีวิตที่ดีกว่า
นครราชสีมา 2 นายวัชรพล โตมรศักดิ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
นครราชสีมา 3 นายประเสริฐ บุญชัยสุข ไทยรักไทย 16,299 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 7,353 คะแนน
นครราชสีมา 4 นายอุทัย มิ่งขวัญ ไทยรักไทย 19,510 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,851 คะแนน
นครราชสีมา 5 นายประทีป กรีฑาเวช ไทยรักไทย 49,902 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 16,690 คะแนน
**บัตรเสีย 12,609 ใบ
นครราชสีมา 6 นายวัชรา ณ วังขนาย ไทยรักไทย 21,368 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,677 คะแนน
นครราชสีมา 7 นายพงษ์พิช รุ่งเป้า ไทยรักไทย 19,656 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 3,413 คะแนน
นครราชสีมา 8 นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก ไทยรักไทย 25,648 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,953 คะแนน
นครราชสีมา 9 นายสมศักดิ์ โสมกลาง ไทยรักไทย 20,701 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 6,516 คะแนน
นครราชสีมา 10 นายสมศักดิ์ เบญจพลกุล ไทยรักไทย 19,976 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,687 คะแนน
นครราชสีมา 11 นายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ ไทยรักไทย 15,057 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 6,086 คะแนน
นครราชสีมา 12 นายสุพร อัตถาวงศ์ ไทยรักไทย 12,379คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,097 คะแนน
นครราชสีมา 13 นายสมศักดิ์ พันธ์เกษม ไทยรักไทย 50,6023 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 14,864 คะแนน
**บัตรเสีย 11,657 ใบ
นครราชสีมา 14 พ.ต.ท.สมชาย เพศประเสริฐ ไทยรักไทย 12,751คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,052 คะแนน
นครราชสีมา 15 นายประเสริฐ จันทรรวงทอง ไทยรักไทย 13,671 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 2,316 คะแนน
นครราชสีมา 16 นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์ ไทยรักไทย 56,267 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 6,863 คะแนน
**บัตรเสีย 8,538 ใบ

นครศรีธรรมราช
นครศรีธรรมราช 1 นายกณพ เกตุชาติ ไทยรักไทย 4,937 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 13,716 คะแนน
นครศรีธรรมราช 2 นายอิสระ หัสดินทร์ ไทยรักไทย 1,262 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,253 คะแนน
นครศรีธรรมราช 3 นายนัฏฐประชา เกื้อสกุล ไทยรักไทย 1,520 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 8,468 คะแนน
นครศรีธรรมราช 4 นายปิติ เทพภักดี ไทยรักไทย 2,795 คะแนน
นครศรีธรรมราช 4 นายอนันต์ พรหมอินทร์ ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร 17,799 คะแนน
นครศรีธรรมราช 5 นางวิรวรรณ จงจิตร ศิริจิรกาล ไทยรักไทย 2ม931 คะแนน
นครศรีธรรมราช 5 นายกนก ชิตมาลย์ ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร 16,903 คะแนน
นครศรีธรรมราช 6 นายอารี ไกรนรา ไทยรักไทย 1,469 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,915 คะแนน
นครศรีธรรมราช 7 นายอุดมเกียรติ อภินันทิกุล ปานมี ไทยรักไทย 2,236 คะแนน
นครศรีธรรมราช 7 นายภักดี ดวงบุญ ประชากรไทย
นครศรีธรรมราช 7 นายสมยศ ส้มเขียวหวาน พัฒนาชาติไทย
**ไม่เลือกใคร 13,619 คะแนน
นครศรีธรรมราช 8 นายประกอบ แต้มสีทอง ไทยรักไทย 1,210 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 8,844 คะแนน
นครศรีธรรมราช 9 นายชิต ปุริโสดม ไทยรักไทย
นครศรีธรรมราช 9 นายมาโนช เสนาชู คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร
นครศรีธรรมราช 10 นายเร็วจริง รัตนวิชา ไทยรักไทย 1,619 คะแนน
นครศรีธรรมราช 10 นายจงรักษ์ พันธรังษี ประชากรไทย
นครศรีธรรมราช 10 นายประยูร พูลจันทร์ พัฒนาชาติไทย
**ไม่เลือกใคร 14,581 คะแนน

นครสวรรค์
นครสวรรค์ 1 นายสมชัย เจริญชัยฤทธิ์ ไทยรักไทย 16,655 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 17,734 คะแนน
นครสวรรค์ 2 นายเกษม ปานอุดมลักษณ์ ไทยรักไทย 18,854 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,804 คะแนน
นครสวรรค์ 3 นายวีระกร คำประกอบ ไทยรักไทย 16,167 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 8,812 คะแนน
นครสวรรค์ 4 นายสัญชัย วงษ์สุนทร ไทยรักไทย 21,953 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 7,415 คะแนน
นครสวรรค์ 5 นายเมธี ฉัตรจินดารัตน์ ไทยรักไทย 16,507 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,559 คะแนน
นครสวรรค์ 6 พ.ต.ท.บรรยิน ตั้งภากรณ์ ไทยรักไทย 24,618 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 15,911 คะแนน
นครสวรรค์ 7 นายนิโรธ สุนทรเลขา ไทยรักไทย 25,282 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 8,702 คะแนน

นนทบุรี
นนทบุรี 1 นายนิทัศน์ ศรีนนท์ ไทยรักไทย 20,779 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 20,988 คะแนน
นนทบุรี 2 นายอุดมเดช รัตนเสถียร ไทยรักไทย 12,769 คะแนน
นนทบุรี 2 น.ส.สุมาลี ประทอง คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร 13,843 คะแนน
นนทบุรี 4 พ.อ.อ.อภิวันท์ วิริยะชัย ไทยรักไทย 22,231 คะแนน
นนทบุรี 4 น.ส.ขวัญเรือน ช่วยงาน คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร 21,785 คะแนน
นนทบุรี 5 นายสุชาติ บรรดาศักดิ์ ไทยรักไทย 7,258 คะแนน
นนทบุรี 5 น.ส.บุญณดา พวงพันธ์ คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร 7,589 คะแนน
นนทบุรี 6 นายฉลอง เรี่ยวแรง ไทยรักไทย 18,117 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 14,892 คะแนน

นราธิวาส
นราธิวาส 1 นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ ไทยรักไทย 6,464 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 11,058 คะแนน
นราธิวาส 2 นายสุธิพันธ์ ศรีริกานนท์ ไทยรักไทย 2,783 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 8,031 คะแนน
นราธิวาส 3 นายนัจมุดดีน อูมา ไทยรักไทย 5,810 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,336 คะแนน
นราธิวาส 4 นายเตาฟิก สะมะแอ ไทยรักไทย 9,317 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 16,049 คะแนน
นราธิวาส 5 นายสมรรถ วาหลง ไทยรักไทย 3,099 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,476 คะแนน

น่าน
น่าน 1 นางสิรินทร รามสูต ไทยรักไทย
น่าน 1 นายวิชัย นนทะนำ แผ่นดินไทย
**ไม่เลือกใคร
น่าน 2 นายชลน่าน ศรีแก้ว ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
น่าน 3 นายวัลลภ สุปริยศิลป์ ไทยรักไทย
น่าน 3 นายจรัญ คำมอญ คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร

บุรีรัมย์
บุรีรัมย์ 1 นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล ไทยรักไทย 29,143 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 14,956 คะแนน
บุรีรัมย์ 2 นางกรุณา ชิดชอบ ไทยรักไทย 24,891 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,869 คะแนน
บุรีรัมย์ 3 นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ ไทยรักไทย 36,194 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 426 คะแนน
บุรีรัมย์ 4 นายสุรศักดิ์ นาคดี ไทยรักไทย 23,919 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 6,635 คะแนน
บุรีรัมย์ 5 นายพีระพงษ์ เฮงสวัสดิ์ ไทยรักไทย 9,186 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 2,964 คะแนน
บุรีรัมย์ 6 นายโสภณ ซารัมย์ ไทยรักไทย 13,626 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 3,987 คะแนน
บุรีรัมย์ 7 นายประกิจ พลเดช ไทยรักไทย 23,609 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,329 คะแนน
บุรีรัมย์ 8 นายโสภณ เพชรสว่าง ไทยรักไทย 14,595 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,811 คะแนน
บุรีรัมย์ 9 นายขจรธน จุดโต ไทยรักไทย 15,458 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,911 คะแนน
บุรีรัมย์ 10 นายทรงศักดิ์ ทองศรี ไทยรักไทย 17,422 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 9,122 คะแนน

ปทุมธานี
ปทุมธานี 1 นายสุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล ไทยรักไทย 11,284 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 6,724 คะแนน
ปทุมธานี 2 ว่าที่ ร.ต.สุเมธ ฤกธาคนี ไทยรักไทย 20,108 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 15,218 คะแนน
ปทุมธานี 3 นายวรัญญู เทพหัสดิน ณ อยุธยา ไทยรักไทย 10,474 คะแนน
ปทุมธานี 3 นายขวัญ ขวัญเรือน ประชากรไทย 294 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 6,451 คะแนน
ปทุมธานี 4 นายลิขิต หมู่ดี ไทยรักไทย 3,036 คะแนน
ปทุมธานี 4 นายอิทธิพล ชินาภา ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร 1,621 คะแนน
ปทุมธานี 5 นายชูชาติ หาญสวัสดิ์ ไทยรักไทย 20,373 คะแนน
ปทุมธานี 5 นายสุรทิน พิจารณ์ รักษ์แผ่นดินไทย 264 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 14,261 คะแนน

ประจวบคีรีขันธ์
ประจวบคีรีขันธ์ 1 นายพีระ สุกิจปาณีนิจ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ประจวบคีรีขันธ์ 2 นายพรเทพ วิสุทธิ์วัฒนศักดิ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ประจวบคีรีขันธ์ 3 นายไพรสน ปานทอง ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

ปราจีนบุรี
ปราจีนบุรี 1 นางกนกวรรณ วิลาวัลย์ ศรีจันทร์งาม ไทยรักไทย 17,360 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 9,462 คะแนน
ปราจีนบุรี 2 นายคงกฤช หงส์วิไล ไทยรักไทย 14,716 คะแนน
ปราจีนบุรี 2 นายสำรวย ปัญสาท พัฒนาชาติไทย 821 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,784 คะแนน
ปราจีนบุรี 3 นายชยุต ภุมมะกาญจนะ ไทยรักไทย 17,701 คะแนน
ปราจีนบุรี 3 น.ส. สุภาวดี ช่อรักษ์ ประชากรไทย 1,621 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 7,516 คะแนน

ปัตตานี
ปัตตานี 1 นายวัยโรจน์ พิพิธภักดี ไทยรักไทย 1,881 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,786 คะแนน
ปัตตานี 2 พ.ต.ท.เจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง ไทยรักไทย 2,058 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 8,367 คะแนน
ปัตตานี 3 นายสมมารถ เจ๊ะนา ไทยรักไทย
ปัตตานี 3 นายยาฮรี จินารงค์ ไทยช่วยไทย
**ไม่เลือกใคร
ปัตตานี 4 นายมุข สุไลมาน ไทยรักไทย
ปัตตานี 4 นายอดุลย์ ดุลกล้าเดช ไทยช่วยไทย
**ไม่เลือกใคร

พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา 1 นายก่อกิจ ด่านชัยวิจิตร ไทยรักไทย 26,365 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 20,534 คะแนน
พระนครศรีอยุธยา 2 นายพ้อง ชีวานันท์ ไทยรักไทย 33,245 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 12,979 คะแนน
พระนครศรีอยุธยา 3 น.ส.สุวิมล พันธ์เจริญวรกุล ไทยรักไทย 24,051 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 8,276 คะแนน
พระนครศรีอยุธยา 4 นายวิทยา บุรณศิริ ไทยรักไทย 32,996 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 10,216 คะแนน
พระนครศรีอยุธยา 5 นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ ไทยรัก
**ไม่เลือกใคร

พะเยา
พะเยา 1 น.ส.อรุณี ชำนาญยา ไทยรักไทย 23,156 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 8,868 คะแนน
พะเยา 2 นายวิสุทธิ์ ไชยณรุณ ไทยรักไทย 7,713 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 1,120 คะแนน
พะเยา 3 นายไพโรจน์ ตันบรรจง ไทยรักไทย 993 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 550 คะแนน

พังงา
พังงา 1 นายปราโมทย์ แหล่ทองคำ ไทยรักไทย 1,824 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 12,314 คะแนน
พังงา 2 นายกฤษ ศรีฟ้า ไทยรักไทย 3,276 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,304 คะแนน

พัทลุง
พัทลุง 1 นายวาทิต ไพศาลศิลป์ ไทยรักไทย 2,133 คะแนน
พัทลุง 1 นายเขมาวุฒิ สุวรรณ์ พัฒนาชาติไทย
**ไม่เลือกใคร 8,308 คะแนน
พัทลุง 2 นายคณนาถ หมื่นหนู ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
พัทลุง 3 นายอนุมัติ ศาสนูปถัมภ์ ไทยรักไทย 1,465 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 10,440 คะแนน

พิจิตร
พิจิตร 1 นายเสริมสุข เหลาหชัยอรุณ ไทยรักไทย 8,809 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,911 คะแนน
พิจิตร 2 น.ส.สุณีย์ เหลืองวิจิตร ไทยรักไทย
พิจิตร 2 นายสุทัศน์ จันอินทร์ พลังประชาชน
**ไม่เลือกใคร
พิจิตร 3 นายนาวิน บุญเสรฐ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
พิจิตร 4 พ.ต.ท.อดุลย์ บุญเสรฐ ไทยรักไทย 20,820 คะแนน
พิจิตร 4 นายดษฎี บัวเขียว ไทยช่วยไทย
**ไม่เลือกใคร 5,262 คะแนน

พิษณุโลก
พิษณุโลก 1 นายพิทักษ์ สันติวงศ์เดชา ไทยรักไทย 3,916 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,935 คะแนน
พิษณุโลก 2 นายมนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ ไทยรักไทย 10,612 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 6,865 คะแนน
พิษณุโลก 3 นางมยุรา มนะสิการ ไทยรักไทย 4,984 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 2,776 คะแนน
พิษณุโลก 4 นายนิยม ช่างพินิจ ไทยรักไทย 16,754 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 6,099 คะแนน
พิษณุโลก 5 นายหัสนัยน์ สอนสิทธิ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

เพชรบุรี
เพชรบุรี 1 นายราชศักดิ์ คล้ายคลึง ไทยรักไทย 19,747 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 47,581 คะแนน
เพชรบุรี 2 นายธานี ยี่สาร ไทยรักไทย 22,091 คะแนน
เพชรบุรี 2 นายหัสพันธ์ เสมเถื่อน สยาม 1,422 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 24,271 คะแนน
เพชรบุรี 3 นายปิยะ อังกินันทน์ ไทยรักไทย 17,406 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 27,666 คะแนน

เพชรบูรณ์
เพชรบูรณ์ 1 นายเรวัต แสงวิจิตร ไทยรักไทย
เพชรบูรณ์ 1 นายเทียนชัย ชาญจึงถาวร พลังธรรม
**ไม่เลือกใคร
เพชรบูรณ์ 2 นายไพศาล จันทรภักดี ไทยรักไทย 6,852 คะแนน
เพชรบูรณ์ 2 นายสุทธิพงษ์ ขันดี คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร 5,735 คะแนน
เพชรบูรณ์ 3 นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
เพชรบูรณ์ 4 นายณรงค์กร ชวาลสันตติ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
เพชรบูรณ์ 5 พ.อ.ท.กิตติคุณ นาคะบุตร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
เพชรบูรณ์ 6 นายเอี่ยม ทองใจสด ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

แพร่
แพร่ 1 นายทศพร เสรีรักษ์ ไทยรักไทย 8,291 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 2,509 คะแนน
แพร่ 2 นายอนุวัธ วงศ์วรรณ ไทยรักไทย 6,671 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 1,948 คะแนน
แพร่ 3 นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล ไทยรักไทย 5,614 คะแนน
แพร่ 3 น.ส.ปนัดดา นันทะยานา คนขอปลดหนี้
แพร่ 3 นางสุทิน ชิดชม พัฒนาชาติไทย
**ไม่เลือกใคร 1,496 คะแนน

ภูเก็ต
ภูเก็ต 1 นางศรีญาดา ปาลิมาพันธ์ ไทยรักไทย 5,943 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 23,000 คะแนน
ภูเก็ต 2 นายวิสุทธิ์ สันติกุล ไทยรักไทย 3,824 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 14,499 คะแนน

มหาสารคาม
มหาสารคาม 1 นายทองหล่อ พลโคตร ไทยรักไทย 45,068 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 11,486 คะแนน
มหาสารคาม 2 นายสุชาติ ศรีสังข์ ไทยรักไทย 52,050 คะแนน
มหาสารคาม 2 นายธนพล ซามาตย์ ไทยช่วยไทย
**ไม่เลือกใคร 6,753 คะแนน
มหาสารคาม 3 นายสุชาติ โชคชัยวัฒนากร ไทยรักไทย 26,714 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 6,901 คะแนน
มหาสารคาม 4 นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง ไทยรักไทย 31,437 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 7,453 คะแนน
มหาสารคาม 5 นางกุสุมาลวดี ศิริโกมุท ไทยรักไทย 28,550 คะแนน
มหาสารคาม 5 นายจรัส ชูคันหอม ไทยช่วยไทย
**ไม่เลือกใคร 4,593 คะแนน
มหาสารคาม 6 นายสุทิน คลังแสง ไทยรักไทย 22,374 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 3,175 คะแนน

มุกดาหาร
มุกดาหาร 1 นายประมวลศิลป์ โภคสวัสดิ์ ไทยรักไทย
มุกดาหาร 1 น.ส.จีระภา กุลศรีวนรัตน์ เกษตรกรไทย
**ไม่เลือกใคร
มุกดาหาร 2 นายเกษม คำมุงคุณ เกษตรกรไทย
มุกดาหาร 2 นายทวีศักดิ์ ประทุมลี ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

แม่ฮ่องสอน
แม่ฮ่องสอน 1 นายปัญญา จีนาคำ ไทยรักไทย
แม่ฮ่องสอน 1 นายอำนาจ แสงเฮ่อ คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร
แม่ฮ่องสอน 2 นายสมบูรณ์ ไพรวัลย์ ไทยรักไทย
แม่ฮ่องสอน 2 นายชัยเพชร กิ่งแก้วเพชร คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร

ยโสธร
ยโสธร 1 นายสุทธิชัย จันทร์อารักษ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ยโสธร 2 นายรณฤทธิชัย คานเขต ไทยรักไทย
ยโสธร 2 นายสุคนธ์ นันตาวัง คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร
ยโสธร 3 นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ยโสธร 4 นายวิสันต์ เดชเสน ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

ยะลา
ยะลา 1 นายไพโรจน์ เฉลียวศักดิ์ ไทยรักไทย 4,646 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 16,166 คะแนน
ยะลา 2 นายซูการ์โน มะทา ไทยรักไทย 6,457 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 6,336 คะแนน
ยะลา 3 นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

ร้อยเอ็ด
ร้อยเอ็ด 1 นายสถาพร ว่องสัธนพงษ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ร้อยเอ็ด 2 นายฉลาด ขามช่วง ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ร้อยเอ็ด 3 นายเอกภาพ พลซื่อ ไทยรักไทย
ร้อยเอ็ด 3 นายเยี่ยมพล พลเยี่ยม คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร
ร้อยเอ็ด 4 นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์ ไทยรักไทย
ร้อยเอ็ด 4 นายณัชธกร ประกอบสาย คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร
ร้อยเอ็ด 5 นายนิสิต สินธุไพร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ร้อยเอ็ด 6 นายกิตติ สมทรัพย์ ไทยรักไทย
ร้อยเอ็ด 6 นายณัฐกริช สิงหพันธ์ ไทยช่วยไทย
**ไม่เลือกใคร
ร้อยเอ็ด 7 นายศักดา ดงเพชร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ร้อยเอ็ด 8 นายอนิวรรตน์ วรเชษฐ์ ไทยรักไทย
ร้อยเอ็ด 8 นายสมประสงค์ ตลาดขวัญ ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร

ระนอง
ระนอง 1 นายไพโรจน์ ชาญพาณิชย์ ไทยรักไทย 3,490 คะแนน
ระนอง 1 นายสุทธิ วังทองซุก ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร 20,550 คะแนน

ระยอง
ระยอง 1 นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ ไทยรักไทย 13,402 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 23,713 คะแนน
ระยอง 2 ร.ต.กฤษฎา การุญ ไทยรักไทย 9,900 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 14,075 คะแนน
ระยอง 3 นายธารา ปิติเตชะ ไทยรักไทย 10,364
****ไม่เลือกใคร 8,643
ระยอง 4 นายปราโมทย์ วีระพันธ์ ไทยรักไทย 23,853
ระยอง 4 น.ส.วีณา จริยะภูมิ สยาม
****ไม่เลือกใคร 25,093

ราชบุรี
ราชบุรี 1 นางกอบกุล นพอมรบดี ไทยรักไทย
ราชบุรี 1 นายเขมรัฐ บัวคลี่ ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร
ราชบุรี 2 นายวิวัฒน์ นิติกาญจนา ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ราชบุรี 3 น.ส.ปารีนา ไกรคุปต์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ราชบุรี 4 นายวัฒนา มังคลรังษี ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ราชบุรี 5 นายบุญลือ ประเสริฐโสภา ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

ลพบุรี
ลพบุรี 1 นายณัฐพล เกียรติวินัยสกุล ไทยรักไทย 16,685 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 9,666 คะแนน
ลพบุรี 2 นายพงษ์ศักดิ์ วรปัญญา ไทยรักไทย 9,357 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,907 คะแนน
ลพบุรี 3 นายสุชาติ ลายน้ำเงิน ไทยรักไทย 5,824 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 2,597 คะแนน
ลพบุรี 4 นายอำนวย คลังผา ไทยรักไทย 19,582 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,461 คะแนน
ลพบุรี 5 นายนิยม วรปัญญา ไทยรักไทย 10,117 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,700 คะแนน

ลำปาง
ลำปาง 1 นายไพโรจน์ โล่ห์สุนทร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ลำปาง 2 นายกิตติกร โล่ห์สุนทร ไทยรักไทย 4,907 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 1,835 คะแนน
ลำปาง 3 นายวาสิต พยัคบุตร ไทยรักไทย 943 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 602 คะแนน
ลำปาง 4 นายพินิจ จันทรสุรินทร์ ไทยรักไทย 14,391 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,235 คะแนน
ลำปาง 5 นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ ไทยรักไทย 6,445 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 1,234 คะแนน

ลำพูน
ลำพูน 1 น.ส.อาภาภรณ์ พุทธปวน ไทยรักไทย 5,467 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 3,339 คะแนน
ลำพูน 2 นายสงวน พงษ์มณี ไทยรักไทย 7,281 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 3,962 คะแนน
ลำพูน 3 นายสถาพร มณีรัตน์ ไทยรักไทย 9,483 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,438 คะแนน

เลย
เลย 1 นายทศพล สังขทรัพย์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
เลย 2 นางนันทนา ทิมสุวรรณ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
เลย 3 นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
เลย 4 นางจันทร์เพ็ญ แสงเจริญรัตน์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

ศรีสะเกษ
ศรีสะเกษ 1 นายธเนศ เครือรัตน์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ศรีสะเกษ 2 นายพิทยา บุญเฉลียว ไทยรักไทย
ศรีสะเกษ 2 นายพิทยา นักรำ ไทยช่วยไทย
**ไม่เลือกใคร
ศรีสะเกษ 3 นายวิวัฒชัย โหตระไวศยะ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ศรีสะเกษ 4 นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ ไทยรักไทย
ศรีสะเกษ 4 นายภัทรผล ผลอิ่นแก้ว คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร
ศรีสะเกษ 5 นายอมรเทพ สมหมาย ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ศรีสะเกษ 6 พ.ต.อ.ทิน วงศ์ปลั่ง ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ศรีสะเกษ 7 นางมาลินี อินฉัตร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ศรีสะเกษ 8 นายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
ศรีสะเกษ 9 นายปวีณ แซ่จึง ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

สกลนคร
สกลนคร 1 นายอภิชาติ ดีรสวัสดิชัย ไทยรักไทย
สกลนคร 1 นางพิศตะวัน จักรพิมพ์ คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร
สกลนคร 2 นายเฉลิมชัย อุฬารกุล ไทยรักไทย
สกลนคร 2 นายสมเด็จ เพ็งอินทร์ เกษตรกรไทย
**ไม่เลือกใคร
สกลนคร 3 นายเฉลิมชาติ การุญ ไทยรักไทย
สกลนคร 3 นายไพศาล คำจวง เกษตรกรไทย
**ไม่เลือกใคร
สกลนคร 4 นายสาคร พรหมภักดี ไทยรักไทย
สกลนคร 4 นายวันเย็น แก้วก่า คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร
สกลนคร 5 นายพงษ์ศักดิ์ บุญศล ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สกลนคร 6 นายเสรี สาระนันท์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สกลนคร 7 นายเกษม อุประ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

สงขลา
สงขลา 1 นายวันชัย ปริญญาศิริ ไทยรักไทย 4,492 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 18,747 คะแนน
สงขลา 2 นายอรรถชาญ เชาวน์วานิชย์ ไทยรักไทย 3,315 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 24,492 คะแนน
สงขลา 3 นายทวีศักดิ์ ทวีรัตน์ ไทยรักไทย 3,666 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 25,599 คะแนน
สงขลา 4 นายกิตติพัฒน์ แก้วมณี ไทยรักไทย 2,066 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 11,201 คะแนน
สงขลา 5 นายสมนิตย์ ประทุมวรรณ ไทยรักไทย 1,339 คะแนน
สงขลา 5 นายนิติธรรมวัฒน์ รัตนสุวรรณ คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร 9,707 คะแนน
สงขลา 6 นายทวีเกียรติ รองสวัสดิ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สงขลา 7 นายอรัญ พรหมรัตน์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สงขลา 8 นายสุรศักดิ์ มณี ไทยรักไทย 580 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 1,035 คะแนน

สตูล
สตูล 1 นายจิรายุส เนาวเกตุ ไทยรักไทย 2,434 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,609 คะแนน
สตูล 2 นายชัยรัตน์ ลำโป ไทยรักไทย 2,828 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,489 คะแนน

สมุทรปราการ
สมุทรปราการ 1 นายสงคราม กิจเลิศไพโรจน์ ไทยรักไทย 19,465 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 12,777 คะแนน
สมุทรปราการ 2 นายประเสริฐ เด่นนภาลัย ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สมุทรปราการ 3 นายวัลลภ ยังตรง ไทยรักไทย
สมุทรปราการ 3 นายสัญชัย จุ่มศรี ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร
สมุทรปราการ 4 นายจิรพันธ์ ลิ้มสกุลศิริรัตน์ ไทยรักไทย
สมุทรปราการ 4 จ่าสิบเอก เกษม พรมสุข ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร
สมุทรปราการ 5 นางสลิลทิพย์ ชัยสดมภ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สมุทรปราการ 6 น.ส.เรวดี รัศมิทัต ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สมุทรปราการ 7 นายประชา ประสพดี ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

สมุทรสงคราม
สมุทรสงคราม 1 นายไชยรัตน์ ไทยเจียมอารีย์ ไทยรักไทย 18,896 คะแนน
สมุทรสงคราม 1 น.ส.บุษยา สุคนธเขตร์ พลังประชาชน
**ไม่เลือกใคร 25,439 คะแนน

สมุทรสาคร
สมุทรสาคร 1 นายอนุสรณ์ ไกรวัตนุสสรณ์ ไทยรักไทย 27,536 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 28,956 คะแนน
สมุทรสาคร 2 นายศุภพรพงศ์ ชวนบุญ ไทยรักไทย 8,452 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 6,308 คะแนน
สมุทรสาคร 3 นายสมนึก โพธิ์ทะเล ไทยรักไทย 16,228 คะแนน
**ไม่เลือกใคร

สระแก้ว
สระแก้ว 1 นายสุรศักดิ์ เกตุสุภะ ไทยรักไทย 38,877 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 18,798 คะแนน
สระแก้ว 1 นางเจรจา สมบูรณ์กูล ประชากรไทย 5,733 คะแนน

สระแก้ว 2 นายปัญญา ชาติปัญญาวุฒิ ไทยรักไทย
สระแก้ว 2 นายชนรดี พรมภักดี ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร
สระแก้ว 3 นายธานินทร์ ศุภศักดิ์มนตรี ไทยรักไทย
สระแก้ว 3 นายชลอ จีนคำ ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร

สระบุรี
สระบุรี 1 ร.ต.ปรพล อดิเรกสาร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สระบุรี 2 นายพศ อดิเรกสาร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สระบุรี 3 นายสมเจตน์ ทองศรี ประชากรไทย
สระบุรี 3 นายฉัตรชัย ศิลาพร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สระบุรี 4 นายวีรพล อดิเรกสาร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

สิงห์บุรี
สิงห์บุรี 1 นายพายัพ ปั้นเกตุ ไทยรักไทย 39,578 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 21,181 คะแนน

สุโขทัย
สุโขทัย 1 นางอนงค์วรรณ เทพสุทิน ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สุโขทัย 2 นายประศาสตร์ ทองปากน้ำ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สุโขทัย 3 นายสมเจตน์ ลิมปะพันธุ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สุโขทัย 4 นายประทาน เขียวฤทธิ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

สุพรรณบุรี
สุพรรณบุรี 1 นายสมคิด สัมฤทธิ์สุทธิ์ ไทยรักไทย 4,038 คะแนน
สุพรรณบุรี 1 น.ส. ธนพร สุขขำ เพื่อนเกษตรไทย
**ไม่เลือกใคร 4,375 คะแนน
สุพรรณบุรี 2 นายยุทธนา ลับบัวงาม ไทยรักไทย 5,456 คะแนน
สุพรรณบุรี 2 นายทรงเดช สุขขำ เพื่อนเกษตรไทย
**ไม่เลือกใคร 4,490 คะแนน
สุพรรณบุรี 3 นายวิจิตร เกตุแก้ว ไทยรักไทย 2,602 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 1,798 คะแนน
สุพรรณบุรี 4 นายเทียนชัย ปิ่นวิเศษ ไทยรักไทย 315 คะแนน
สุพรรณบุรี 4 นายฐนิต ประทีปพรศักดิ์ เกษตรกรไทย
**ไม่เลือกใคร 2,456 คะแนน
สุพรรณบุรี 5 นายสหรัฐ กุลศรี ไทยรักไทย 6,141 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 2,184 คะแนน

สุราษฎร์ธานี
สุราษฎร์ธานี 1 นายภานุ ศรีบุศยกาญจน์ ไทยรักไทย 2,072 คะแนน
สุราษฎร์ธานี 1 น.ส. สุมิตตา แก้วอินทร์ คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร 16,153 คะแนน
สุราษฎร์ธานี 2 นายสมพล วิชัยดิษฐ ไทยรักไทย
สุราษฎร์ธานี 2 นายวรพจน์ วิชัยดิษฐ ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร
สุราษฎร์ธานี 3 นายชูชัย ทองขาว ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สุราษฎร์ธานี 4 นายสมชาย หิรัญรัตนธรรม ไทยรักไทย 1,025 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 2,581
สุราษฎร์ธานี 5 นายโกมล นกวิเชียร ไทยรักไทย 1,152 คะแนน
สุราษฎร์ธานี 5 นายสุพร จันทร์แก้ว คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร 5,526
สุราษฎร์ธานี 6 นายประกิจ เพชรรัตน์ ไทยรักไทย 1,063 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 7,666

สุรินทร์
สุรินทร์ 1 นายชูชัย มุ่งเจริญพร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สุรินทร์ 2 นายเกษม รุ่งธนเกียรติ ไทยรักไทย
สุรินทร์ 2 นายสุพร วัฒนาเอี่ยวสกุล เกษตรกรไทย
**ไม่เลือกใคร
สุรินทร์ 3 นางฟาริดา สุไลมาน ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สุรินทร์ 4 นายธีระทัศน์ เตียวเจริญโสภา ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สุรินทร์ 5 นายประดุจ มั่นหมาย ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สุรินทร์ 6 นายศุภรักษ์ ควรหา ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สุรินทร์ 7 นายมานิตย์ สังข์พุ่ม ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
สุรินทร์ 8 นายศิริศักดิ์ ร่วมพัฒนา ไทยรักไทย
สุรินทร์ 8 นายสุรสีห์ ยุวรานุกูล ธัมมาธิปไตย
**ไม่เลือกใคร
สุรินทร์ 9 นายตี๋ใหญ่ พูนศรีธนากูล ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

หนองคาย
หนองคาย 1 ว่าที่ ร.ต.พงศ์พันธ์ สุนทรชัย ไทยรักไทย 47,958 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 14,989 คะแนน
**บัตรเสีย 7,601 ใบ

หนองคาย 2 นายประสิทธิ์ จันทาทอง ไทยรักไทย 46,878คะแนน
**ไม่เลือกใคร 6,336 คะแนน
**บัตรเสีย 7,607 ใบ

หนองคาย 3 นายเอกธนัช อินทร์รอด ไทยรักไทย 46,446 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 7,120 คะแนน
**บัตรเสีย 6,857 ใบ

หนองคาย 4 นายเทวฤทธิ์ นิกรเทศ ไทยรักไทย 37,506 คะแนน
หนองคาย 4 นายพิบูลย์ มณีทร คนขอปลดหนี้ 10,299 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 3,383 คะแนน
**บัตรเสีย 7,017 ใบ

หนองคาย 5 นายสงกรานต์ คิพิไสย์ ไทยรักไทย 53,932 คะแนน
หนองคาย 5 นายสัมฤทธิ์ สงวนนาม คนขอปลดหนี้ 1,717 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,094 คะแนน
**บัตรเสีย 7,110 ใบ

หนองคาย 6 นายนิพนธ์ คนขยัน ไทยรักไทย 49,484 คะแนน
หนองคาย 6 น.ส.ประภัสสร อาจหาญ คนขอปลดหนี้ 2,075 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 4,168 คะแนน
**บัตรเสีย 6,830 ใบ

หนองบัวลำภู
หนองบัวลำภู 1 นายพิษณุ หัตถสงเคราะห์ ไทยรักไทย 2,157 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 3,601 คะแนน
หนองบัวลำภู 2 นายไชยา พรหมา ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
หนองบัวลำภู 3 นายวิชัย สามิตร ไทยรักไทย 7,233 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 646 คะแนน

อ่างทอง
อ่างทอง 1 น.ส.เพ็ญชิสา หงษ์อุปถัมภ์ชัย ไทยรักไทย 41,274 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 23,487 คะแนน
อ่างทอง 2 พล.ต.ต.ประจวบ เปาอินทร์ ไทยรักไทย 11,253 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,291 คะแนน

อำนาจเจริญ
อำนาจเจริญ 1 นายธีระชัย ศิริขันธ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
อำนาจเจริญ 2 นายชัยศรี กีฬา ไทยรักไทย 27,121 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 13,664 คะแนน

อุดรธานี
อุดรธานี 1 นายศราวุธ เพชรพนมพร ไทยรักไทย 6,384 คะแนน
อุดรธานี 1 นายอภิราม หน่อสีดา คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร 4,365 คะแนน
อุดรธานี 2 น.ส.ธิรดา สนิทวงศ์ชัย ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
อุดรธานี 3 นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
อุดรธานี 4 นายธีระยุทธ วานิชชัง ไทยรักไทย 16,719 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 5,340คะแนน
อุดรธานี 5 น.ส.รสพิมล จิรเมธากร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
อุดรธานี 6 นายทองดี มนิสสาร ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
อุดรธานี 7 นายธีระชัย แสนแก้ว ไทยรักไทย
อุดรธานี 7 นายบุญเรือง เนาวดี คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร
อุดรธานี 8 นายต่อพงษ์ ไชยสาส์น ไทยรักไทย 371 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 64 คะแนน
อุดรธานี 9 นายธราพงษ์ ลีลาวงษ์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
อุดรธานี 10 นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

อุตรดิตถ์
อุตรดิตถ์ 1 น.ส.กฤษณา สีหลักษณ์ ไทยรักไทย 15,167 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 9,557 คะแนน
อุตรดิตถ์ 2 นายศรัณย์ ศรัญย์เกตุ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
อุตรดิตถ์ 3 นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร

อุทัยธานี
อุทัยธานี 1 นายประแสง มงคลศิริ ไทยรักไทย 4,486 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 3,754 คะแนน
อุทัยธานี 2 นายสุภาพ โต๋วสัจจา ไทยรักไทย 2,236 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 1,721 คะแนน

อุบลราชธานี
อุบลราชธานี 1 นายเกรียง กัลป์ตินันท์ ไทยรักไทย
อุบลราชธานี 1 นายไพศาล อัครรัตนดิลก ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร
อุบลราชธานี 2 นายสมบัติ รัตโน ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
อุบลราชธานี 3 นายโกวิทย์ ธรรมานุชิต ไทยรักไทย
อุบลราชธานี 3 นายอังกูร จารุวงศ์ ประชากรไทย
**ไม่เลือกใคร
อุบลราชธานี 4 นายสุพล ฟองงาม ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
อุบลราชธานี 5 นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
อุบลราชธานี 6 นายอุดร ทองประเสริฐ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
อุบลราชธานี 7 นายอิดศักดิ์ โภคกุลกานนท์ ไทยรักไทย
อุบลราชธานี 7 นายอภัย กินามนีย์ คนขอปลดหนี้
**ไม่เลือกใคร
อุบลราชธานี 8 นายพูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
อุบลราชธานี 9 นายสุชาติ ตันติวณิชชานนท์ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
อุบลราชธานี 10 นายกิตติพงษ์ เทียมสุวรรณ ไทยรักไทย
**ไม่เลือกใคร
อุบลราชธานี 11 นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ ไทยรักไทย 2,279 คะแนน
**ไม่เลือกใคร 1,629 คะแนน 


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 28-01-2008, 01:34

(http://news.sanook.com/election50/imgs/Table.gif)
http://news.sanook.com/election50/ect.html

ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขต ที่ได้รับคะแนนอยู่ในลำดับที่ได้รับเลือกตั้ง
จำแนกเป็นรายจังหวัดและเขตเลือกตั้ง 157 เขต (400 คน)
http://election50.titv.in.th/Score/mp50_45.pdf



สรุปจำนวน ส.ส. สัดส่วน แยกตามพรรค
http://election50.titv.in.th/Score/mp50_44.pdf



สรุปจำนวนที่นั่ง ส.ส.ทั้งประเทศ [เขต+สัดส่วน]
http://election50.titv.in.th/Score/


ลำดับ พรรคการเมือง ส.ส.แบ่งเขต ส.ส.สัดส่วน รวม
 
กทม. กลาง อีสาน เหนือ ใต้ ทั้งปท.
1
พลังประชาชน 9 39 102 47 2 34 233
2
ประชาธิปัตย์ 27 35 5 16 49 33 165
3
ชาติไทย - 18 7 6 2 4 37
4
เพื่อแผ่นดิน - 1 12 1 3 7 24
5
รวมใจไทยชาติพัฒนา - - 6 2 - 1 9
6
มัชฌิมาธิปไตย - 2 3 2 - - 7
7
ประชาราช - 3 - 1 - 1 5
  รวม 36 98 135 75 56 80 480
 


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 28-01-2008, 01:36


รวมเว็บ เกาะติด ข่าวการเลือกตั้ง 2550

http://www.thaihotweb.com/hotweb/election50.html


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 28-01-2008, 03:24




ลองดูคะแนน สส.สัดส่วนหรือปัญชีรายชื่อ แล้วไม่อึ้ง ทึ่ง เสียว  คงเป็นแค่พวกหนอนโง่งม

พปช.สดจากคราวเลือกตั้งโมฆะ ประมาณสองล้านเสียง หนึ่งในแปดหรือประมาณ สิบกว่าเปอร์เซ็นต์


ถ้ายกให้ ปชป.หมด ก็ได้ เก้าล้านจากปกติ เจ็ดล้าน ส่วนพรรคอื่นๆรวมกันก็ประมาณเท่าเดิม

ดูจำนวนสส.ปชป.เพื่มขึ้นประมาณสามสิบเปอร์เซ็นต์ ก็ประมาณสัดส่วนอีกสองล้าน


รวมแล้วสิบเอ็ดล้าน แสดงว่าทุกคนที่มาเลือกเพิ่มขึ้นจากคราวก่อนอีกสามล้านเสียง เทคะแนนให้ปชป.อีกด้วย สงสัยประชากรไม่สังกัดภาค

ลืมบอกไปเลือกตั้งล่วงหน้า คำนวณแล้วประมาณสามล้านสอง  ตรองกันเอาเอง ว่าเสียงที่เพิ่มขึ้นระบบสัดส่วน

เพิ่มจากเจ็ดล้านเป็นสิบสี่ล้านได้อย่างไร ?

แหม ว่าที่ฝ่ายค้าน เงียบเป็นเป่าสาก เลย  เหลือชัยวัฒน์ที่ยื่นฟ้องหลายกรณีก็ยกฟ้องไป ต้องแจกใบแดงอย่างเดียวแจกใบเหลืองก็แพ้อยู่ดี นี่ว่าตามเทคนิค

   


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: sak ที่ 28-01-2008, 13:59
ขอให้พวกเราได้ให้เวลาทั้ง2ฝ่ายทำงานไปก่อน แล้วดูสิจะมีอะไรออกมาอีกเดียวคงได้ดู


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 28-01-2008, 14:19
ขอให้พวกเราได้ให้เวลาทั้ง2ฝ่ายทำงานไปก่อน แล้วดูสิจะมีอะไรออกมาอีกเดียวคงได้ดู

กฎหมายเชียนได้ แต่ความศักดิ์สิทธิ์เป็นสิ่งที่ต้องประเมิน :slime_doubt:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 29-01-2008, 02:50



เห็นแอ๊บม๊าก บอกจะตั้งรัฐบาลเงา

ยังไงก็แก้ปัญหาภาคใต้ให้สำเร็จ ทำได้เลยครับส่งสส.ลงพื้นที่..ดูแลว่ามีของผิดกฎหมาย คอร์รัปชั่นหรือเปล่า..?

มีมาเฟียรังแกชาวบ้านหรือเปล่า ? แล้วนี่แวะไปหาสนธิยกกำลังสองหรือยัง

เทพเทือก รู้สึกจะกร่างเกินหัวหน้าพรรค เอากระดาษเขียนแปะหน้าผากให้สงบๆ ถ้าไม่มีอะไรดีๆจะทำ

ให้ไปตามคดีของนักการเมืองต่างๆก็ได้ ไปถึงไหนแล้ว  :slime_doubt:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 29-01-2008, 18:15


สส.และผู้ทีที่เคยเป็นอดีตสส.ปชป.

- สมัคร
- เฉลิม
- สนั่น
- ประดิษฐ์
- ยงยุทธ์
- นพดล
- เชาวริน
- ประจวบ
- พ.ต.ท.สมชาย
- วีระ
- ยงยุทธ
- พิจิตร
- สุพัตรา
- ธารินทร์
- ดำรงค์

ใครนึกออก เพิ่มเติมได้ครับ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 31-01-2008, 02:01


 :slime_cool:


ศิษย์เก่าปชป.เยอะมากจริง

ไม่ทราบที่ออกมาหรือที่ยังอยู่ขยันกว่ากัน

แต่ที่แน่ๆ ตะกอนไร้ค่าตกค้างอยู่ในแวดวงการเมืองไทย เยอะมาก


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 01-02-2008, 16:52

 :slime_cool:

รายชื่อ ครม.เงาของน้องมาร์ค ดูแล้ว

วังเวงมากเลยครับ :slime_hmm: :slime_doubt: :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 03-02-2008, 22:00


ถ้าจะเชียร์ปชป. อย่าลืมเอา ผลงานปัจจุบัน มาโพสต์กันนะครับ.

อย่าปล่อยให้กระทู้เสียเปล่า?  :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 04-02-2008, 23:52


รัฐบาลเงา ดีกว่าค้านตะบัน ก็ว่ากันไปครับ..

รอชมผลงาน แต่ผมดูอาการแล้วจุดไม่ติด ถ้าไม่ลงมือทำงานจริงจัง.. :slime_v:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 05-02-2008, 14:53

'อภิสิทธิ์' ย้ำครม.เงาไม่หวังเสียดสีแค่เสนอแนะ     
   
  โดยทีมข่าว INN News 05 กุมภาพันธ์ 2551 12:35:06 น.     
 
   
     
 



 :slime_bigsmile:

ยังไม่เห็นรูปธรรมอะไร?


หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ย้ำ จัดตั้งครม.เงาไม่หวังเสียดสี แต่ต้องการเสนอแนะ วอน นายกรัฐมนตรีหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง
http://www.innnews.co.th/politic.php?nid=87547
 
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ยืนยันการตั้งรัฐมนตรีเงา ทำด้วยเจตนาดี ไม่คิดเสียดสีคณะรัฐมนตรีของ
รัฐบาลใหม่ และไม่จัดทำนโยบายแข่ง แต่จะให้การเสนอแนะ เช่นการจัดตั้ง ครม.เงา ก็ทำมานานแล้วในหลายประเทศ ทั้งนี้ ฝ่ายค้าน
พร้อมทำงานร่วมกันในสภาอย่างสร้างสรรค์ นอกจากนี้ กรณี นายสมัคร สุนทรเวช นายกฯคนใหม่ ต่อว่า เอ็นจีโอ ที่คัดค้าน
โครงการชลประทานขนาดใหญ่นั้น นายอภิสิทธิ์ ขอฝากให้นายสมัคร หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้าและรับฟังความคิดเห็นของทุกฝ่าย

นายอภิสิทธิ์ ยังปฏิเสธที่จะวิจารณ์นโยบายของรัฐบาล ขอรอฟังการแถลงนโยบายต่อรัฐสภาก่อน ทั้งนี้เห็นด้วยกับการดำเนินการ
กระตุ้นเศรษฐกิจ แต่ก็ต้องคำนึงถึงประโยชน์ระยะยาว อย่าให้ฟุ่มเฟือย หรือ ทุจริตคอร์รัปชั่นเกิดขึ้น
 
 


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 05-02-2008, 21:47



รัฐบาลเงา บริหารชาติให้ดีจะได้ไมต้องเป็นภาระชาวบ้าน ไปช่วยกู้ :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 05-02-2008, 22:07


หรือว่าโชว์ความสามารถ จับทักษิณกลับประเทศไทยก็ได้    :slime_doubt:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 05-02-2008, 22:46


เห็นอภิสิทธิ์ จะช่วยสร้างสรรค์การเมือง รัฐบาลเงาก็อย่าสร้างความแตกแยกขึ้นมาอีก

นักการเมืองตายในสนาม ประชาชนและกองเชียร์ไม่ได้ได้ผลประโยชน์ด้วย


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 07-02-2008, 01:58
http://www.innnews.co.th/politic.php?nid=87837

ผู้สื่อข่าวรายงานจากพรรคประชาธิปัตย์ว่า การจัด “ครม.เงา” ของพรรคประชาธิปัตย์ เริ่มมีความชัดเจนขึ้น โดย ครม.เงาชุดนี้จะมีการนัดประชุมในวันที่ 8 กุมภาพันธ์นี้ ก่อนที่จะมีการแถลง ครม.เงาอย่างเป็นทางการ

ทั้งนี้ สำหรับ ครม.เงาของพรรคประชาธิปัตย์ คาดว่าจะประกอบด้วย นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนรองนายกรัฐมนตรี ประกอบด้วย นายกนก วงษ์ตระหง่าน นายสุทัศน์ เงินหมื่น นายโพธิพงษ์ ล่ำซำ นายอลงกรณ์ พลบุตร นายพิเชษฐ์ พันธุ์วิชาติกุล

นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ เป็นเลขาธิการนายกรัฐมนตรี นายกรณ์ จาติกวณิช เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายสรรเสริญ สมะลาภา เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง นายเกียรติ สิทธีอมร เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ นายสาธิต ปิตุเตชะ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์

พ.อ.วินัย สมพงษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม นายไตรรงค์ สุวรรณคีรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายนิพนธ์ บุญญามณี เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พล.อ.พิชาญเมธ ม่วงมณี เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ นายกษิต ภิรมย์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ นายองอาจ คล้ามไพบูลย์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน นายวิฑูรย์ นามบุตร เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นายธีระ สลักเพชร เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม

นายวิทยา แก้วภราดัย เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน นางผุสดี ตามไท เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นพ.ปรีชา มุสิกุล เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข



หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 08-02-2008, 16:37


ใหม่ปชป.คลอด ครม.เงา 36 คน “อภิสิทธิ์” นายกฯ ควบศึกษาธิการ  Şiłąncē Mőbiuş  2  14

http://forum.serithai.net/index.php?topic=21714.0


แปะใหม่แบบ reformatted ให้อ่านง่าย  http://forum.serithai.net/index.php?topic=21714.msg264381#msg264381

=======
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวพรรค เป็นผู้นำคณะรัฐมนตรีเงา
รองนายกรัฐมนตรี นายสุทัศน์ เงินหมื่น นายโพธิพงษ์ ล่ำซำ นายอลงกรณ์ พลบุตร นายพิเชษฐ์ พันธุ์วิชาติกุล และนายกษิต ภิรมย์
       
รัฐมนตรีประจำสำนัก นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ นายองอาจ คล้ามไพบูลย์
กระทรวงศึกษาธิการ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกนก วงศ์ตระหง่าน กับ นายชินวรณ์ บุญยเกียรติ เป็นรมช.
กระทรวงการคลัง   นายกรณ์ จาติกวณิช เป็นรมว. นายสรรเสริญ สมะลาภา เป็นรมช.นายจุติ ไกรฤกษ์ เป็นรมช.
กระทรวงพาณิชย์ นายเกียรติ สิทธีอมร เป็น รมว.นายสาธิต ปิตุเตชะ เป็นรมช.
กระทรวงอุตสาหกรรม นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์
กระทรวงมหาดไทย นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็น รมว. โดยมี นายถาวร เสนเนียม เป็นรมช.
กระทรวงยุติธรรม นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
กระทรวงกลาโหม พล.อ.พิชาญเมธ ม่วงมณ อดีตแม่ทัพภาค 3 เป็น รมว.
กระทรวงต่างประเทศ  ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร เป็นรมว. นายกษิต ภิรมย์ เป็นรมช.
กระทรวงสาธารณสุข นายเทอดพงษ์ ไชยนันท์ เป็นรมว. นพ. บุรณัชย์ สมุทรักษ์ เป็นรมช.
กระทรวงวิทยาศาสตร์ คุณหญิงกัลยา โสภณพานิช
กระทรวงวัฒนธรรม นายธีระ สลักเพชร
กระทรวงคมนาคม พ.อ.วินัย สมพงษ์ เป็นรมว.นายนิพนธ์ บุญญามณี เป็นรมช.
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงฯ นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มี นายไตรรงค์ สุวรรณคีรี เป็นรมว. นายอาคม เอ่งฉ่วน เป็น รมช.
กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม นายวิฑูรย์ นามบุตร
กระทรวงพลังงาน นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์
กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา นายวิทยา แก้วภราดัย
กระทรวงไอซีที นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
กระทรวงแรงงาน นายไพฑูรย์ แก้วทอง





หัวข้อ: เอาชื่อสส.ปชป. 164 คน มาให้ดูกันอีกรอบ
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 09-02-2008, 04:40

เอาชื่อสส.ปชป. 164 คน มาให้ดูกันอีกรอบ

http://mp.parliament.go.th/map2550/form_search.aspx



ที่ ชื่อ-สกุล พรรค แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง/แบบสัดส่วน วันที่มาแสดงตน ประวัติเผยแพร่


1  นายกรณ์ จาติกวณิช
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 2  7 ม.ค.51
   
 
2  นางกันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพังงา เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
3  นายกัมพล สุภาแพ่ง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดเพชรบุรี เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
4  นางสาวกัลยา รุ่งวิจิตรชัย
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสระบุรี เขตที่ 1  9 ม.ค.51
   
 
5  คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 8  4 ม.ค.51
   
 
6  นายโกวิทย์ ธารณา
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 11  7 ม.ค.51
   
 
7  นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 5  4 ม.ค.51
   
 
8  นายครรชิต ทับสุวรรณ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสมุทรสาคร เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
9  นายจุติ ไกรฤกษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพิษณุโลก เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
10  นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  8 ม.ค.51
   
 
11  นายจุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฏ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพังงา เขตที่ 1  6 ม.ค.51
   
 
12  นายเจริญ คันธวงศ์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 6  4 ม.ค.51
   
 
13  นายเจะอามิง โตะตาหยง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนราธิวาส เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
14  นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
15  นายเจือ ราชสีห์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
16  นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
17  นางสาวเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  7 ม.ค.51
   
 
18  นายชนินทร์ รุ่งแสง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 12  6 ม.ค.51
   
 
19  นายชวน หลีกภัย
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  8 ม.ค.51
   
 
20  นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตาก เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
21  นายชาญชัย อิสระเสนารักษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครนายก เขตที่ 1  21 ม.ค.51
   
 
22  นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  7 ม.ค.51
   
 
23  นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
24  นายชุมพล กาญจนะ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุราษฎร์ธานี เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
25  นายชุมพล จุลใส
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชุมพร เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
26  นายเชน เทือกสุบรรณ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุราษฎร์ธานี เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
27  นายฐนโรจน์ โรจนกุลเสฏฐ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
28  นางสาวณิรัฐกานต์ ศรีลาภ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดยโสธร เขตที่ 1  9 ม.ค.51
   
 
29  นายดนัย นพสุวรรณวงศ์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 4  9 ม.ค.51
   
 
30  นายไตรรงค์ สุวรรณคีรี
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  4 ม.ค.51
   
 
31  นายถวิล ไพรสณฑ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 10  4 ม.ค.51
   
 
32  นายถาวร เสนเนียม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
33  นายทศพร เทพบุตร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดภูเก็ต เขตที่ 1  10 ม.ค.51
   
 
34  นายทศพล เพ็งส้ม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนนทบุรี เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
35  นายทิวา เงินยวง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 6  5 ม.ค.51
   
 
36  นายเทพไท เสนพงศ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 2  5 ม.ค.51
   
 
37  นายเทอดพงษ์ ไชยนันทน์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 1  9 ม.ค.51
   
 
38  นายธนา ชีรวินิจ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 3  4 ม.ค.51
   
 
39  นายธนิตพล ไชยนันทน์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตาก เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
40  นายธวัชชัย อนามพงษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดจันทบุรี เขตที่ 1  8 ม.ค.51
   
 
41  นายธารา ปิตุเตชะ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดระยอง เขตที่ 2  7 ม.ค.51
   
 
42  นายธีระ สลักเพชร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตราด เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
43  นายธีระชาติ ปางวิรุฬห์รักษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชุมพร เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
44  นายเธียรชัย สุวรรณเพ็ญ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตาก เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
45  นายนคร มาฉิม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพิษณุโลก เขตที่ 2  5 ม.ค.51
   
 
46  นายนราพัฒน์ แก้วทอง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพิจิตร เขตที่ 1  11 ม.ค.51
   
 
47  นายนริศ ขำนุรักษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพัทลุง เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
48  นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 1  8 ม.ค.51
   
 
49  นางนันทพร วีรกุลสุนทร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 9  4 ม.ค.51
   
 
50  นางนาถยา เบ็ญจศิริวรรณ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 7  4 ม.ค.51
   
 
51  นายนาราชา สุวิทย์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 3  10 ม.ค.51
   
 
52  นายนิพนธ์ บุญญามณี
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  4 ม.ค.51
   
 
53  นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 7  8 ม.ค.51
   
 
54  นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพัทลุง เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
55  นางนิภา พริ้งศุลกะ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุราษฎร์ธานี เขตที่ 2  8 ม.ค.51
   
 
56  นายบรรจบ รุ่งโรจน์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
57  นายบัญญัติ เจตนจันทร์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดระยอง เขตที่ 2  7 ม.ค.51
   
 
58  นายบัญญัติ บรรทัดฐาน
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  10 ม.ค.51
   
 
59  นายบุญยอด สุขถิ่นไทย
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 4  4 ม.ค.51
   
 
60  นายประกอบ จิรกิติ
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 6  4 ม.ค.51
   
 
61  นายประกอบ รัตนพันธ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
62  นายประพนธ์ นิลวัชรมณี
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุราษฎร์ธานี เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
63  นายประพร เอกอุรุ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 1  8 ม.ค.51
   
 
64  นายประมวล พงศ์ถาวราเดช
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
65  นายประมวล เอมเปีย
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
66  นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดยะลา เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
67  นางสาวปรีชญา ขำเจริญ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดราชบุรี เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
68  นายปรีชา มุสิกุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกำแพงเพชร เขตที่ 1  9 ม.ค.51
   
 
69  นายปัญญวัฒน์ บุญมี
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 7  6 ม.ค.51
   
 
70  นายปารเมศ โพธารากุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกาญจนบุรี เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
71  นางสาวผ่องศรี ธาราภูมิ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดลพบุรี เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
72  นางผุสดี ตามไท
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 6  4 ม.ค.51
   
 
73  นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดจันทบุรี เขตที่ 1  9 ม.ค.51
   
 
74  นางพจนารถ แก้วผลึก
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
75  พลเอก พิชาญเมธ ม่วงมณี
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
76  นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกระบี่ เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
77  นางสาวพิมพ์ภัทรา วิชัยกุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 4  8 ม.ค.51
   
 
78  ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีรยศ ราฮิมมูลา
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 8  7 ม.ค.51
   
 
79  นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 3  4 ม.ค.51
   
 
80  นายพุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 2  7 ม.ค.51
   
 
81  นายไพฑูรย์ แก้วทอง
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 2  11 ม.ค.51
   
 
82  นายภุชงค์ รุ่งโรจน์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 5  7 ม.ค.51
   
 
83  นายมนตรี ปาน้อยนนท์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
84  พลตรี มนูญกฤต รูปขจร
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 7  8 ม.ค.51
   
 
85  นายมานิตย์ ภาวสุทธิ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
86  นางมาลินี สุขเวชชวรกิจ
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 2  5 ม.ค.51
   
 
87  นายไมตรี สอยเหลือง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 2  6 ม.ค.51
   
 
88  นายยุคล ชนะวัฒน์ปัญญา
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดจันทบุรี เขตที่ 1  8 ม.ค.51
   
 
89  นางสาวรังสิมา รอดรัศมี
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสมุทรสงคราม เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
90  นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 3  4 ม.ค.51
   
 
91  นางสาวรัชดา ธนาดิเรก
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 12  6 ม.ค.51
   
 
92  นายเรวัต อารีรอบ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดภูเก็ต เขตที่ 1  10 ม.ค.51
   
 
93  นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 2  5 ม.ค.51
   
 
94  นายวรงค์ เดชกิจวิกรม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพิษณุโลก เขตที่ 1  6 ม.ค.51
   
 
95  นายวัชรพงศ์ คูวิจิตรสุวรรณ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสระบุรี เขตที่ 2  9 ม.ค.51
   
 
96  นายวิชัย ล้ำสุทธิ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดระยอง เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
97  นายวิฑูรย์ นามบุตร
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 4  9 ม.ค.51
   
 
98  นายวิทยา แก้วภราดัย
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 3  8 ม.ค.51
   
 
99  พันเอก วินัย สมพงษ์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 5  4 ม.ค.51
   
 
100  นายวินัย เสนเนียม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
101  นายวิรัช ร่มเย็น
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดระนอง เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
102  นายวิรัตน์ กัลยาศิริ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
103  นายวิรัตน์ วิริยะพงษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุโขทัย เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
104  นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 9  6 ม.ค.51
   
 
105  พลตำรวจตรี วีระ อนันตกูล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 3  5 ม.ค.51
   
 
106  นายวุฒิพงษ์ นามบุตร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดอุบลราชธานี เขตที่ 1  9 ม.ค.51
   
 
107  นายศิริโชค โสภา
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสงขลา เขตที่ 3  4 ม.ค.51
   
 
108  นายศุภชัย ศรีหล้า
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดอุบลราชธานี เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
109  นายสกลธี ภัททิยกุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 4  4 ม.ค.51
   
 
110  นายสงกรานต์ จิตสุทธิภากร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครสวรรค์ เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
111  นายสมเกียรติ ฉันทวานิช
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
112  นายสมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 5  9 ม.ค.51
   
 
113  นายสมควร โอบอ้อม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครสวรรค์ เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
114  นายสมชาย โล่สถาพรพิพิธ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตรัง เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
115  นายสมบัติ ยะสินธุ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดแม่ฮ่องสอน เขตที่ 1  13 ม.ค.51
   
 
116  นายสมบัติ สิทธิกรวงศ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนนทบุรี เขตที่ 2  5 ม.ค.51
   
 
117  นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตรัง เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
118  นายสมัย เจริญช่าง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 6  4 ม.ค.51
   
 
119  นายสรรเสริญ สมะลาภา
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 3  4 ม.ค.51
   
 
120  นายสรวุฒิ เนื่องจำนงค์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชลบุรี เขตที่ 3  4 ม.ค.51
   
 
121  นายสราวุธ อ่อนละมัย
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดชุมพร เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
122  นายสัมพันธ์ ตั้งเบญจผล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุโขทัย เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
123  นายสัมพันธ์ ทองสมัคร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
124  นายสาคร เกี่ยวข้อง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกระบี่ เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
125  นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตรัง เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
126  นายสาธิต ปิตุเตชะ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดระยอง เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
127  นายสามารถ พิริยะปัญญาพร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดราชบุรี เขตที่ 2  4 ม.ค.51
   
 
128  นายสามารถ มะลูลีม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 8  8 ม.ค.51
   
 
129  นายสามารถ ราชพลสิทธิ์
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
130  นายสำราญ ศรีแปงวงค์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกำแพงเพชร เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
131  นายสินิตย์ เลิศไกร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุราษฎร์ธานี เขตที่ 2  8 ม.ค.51
   
 
132  นายสุกิจ อัถโถปกรณ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดตรัง เขตที่ 1  8 ม.ค.51
   
 
133  นายสุขวิชชาญ มุสิกุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกำแพงเพชร เขตที่ 1  9 ม.ค.51
   
 
134  หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 6  7 ม.ค.51
   
 
135  นายสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 8  8 ม.ค.51
   
 
136  นายสุทัศน์ เงินหมื่น
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 3  7 ม.ค.51
   
 
137  นายสุเทพ เทือกสุบรรณ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสุราษฎร์ธานี เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
138  นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสมุทรสาคร เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
139  นางสาวสุพัชรี ธรรมเพชร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดพัทลุง เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
140  นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 4  17 ม.ค.51
   
 
141  นายสุรสิทธิ์ ตรีทอง
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
142  นายสุรันต์ จันทร์พิทักษ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 9  6 ม.ค.51
   
 
143  นายสุวโรช พะลัง
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 7  4 ม.ค.51
   
 
144  นายองอาจ คล้ามไพบูลย์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 12  6 ม.ค.51
   
 
145  นายอนุชา บูรพชัยศรี
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 2  5 ม.ค.51
   
 
146  นายอภิชาต การิกาญจน์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 3  11 ม.ค.51
   
 
147  นายอภิชาต ศักดิเศรษฐ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
148  นายอภิชาติ สุภาแพ่ง
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดเพชรบุรี เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
149  หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 1  6 ม.ค.51
   
 
150  นายอภิวัฒน์ เงินหมื่น
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดอำนาจเจริญ เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
151  นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 6  4 ม.ค.51
   
 
152  นายอรรถพร พลบุตร
 ประชาธิปัตย์
 แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 7  4 ม.ค.51
   
 
153  นายอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 4  4 ม.ค.51
   
 
154  นางสาวอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
155  นางอรอนงค์ คล้ายนก
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตที่ 11  4 ม.ค.51
   
 
156  นายอลงกรณ์ พลบุตร
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดเพชรบุรี เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
157  นายอสิ มะหะมัดยังกี
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสตูล เขตที่ 1  8 ม.ค.51
   
 
158  นายอัฏฐพล โพธิพิพิธ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกาญจนบุรี เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
159  นายอันวาร์ สาและ
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดปัตตานี เขตที่ 1  5 ม.ค.51
   
 
160  นายอับดุลการิม เด็งระกีนา
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดยะลา เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 
161  นายอาคม เอ่งฉ้วน
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดกระบี่ เขตที่ 1  6 ม.ค.51
   
 
162  นายอิสมาแอล เบญอิบรอฮีม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดปัตตานี เขตที่ 1  7 ม.ค.51
   
 
163  นายอิสสระ สมชัย
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดอุบลราชธานี เขตที่ 4  9 ม.ค.51
   
 
164  นายฮอชาลี ม่าเหร็ม
 ประชาธิปัตย์
 จังหวัดสตูล เขตที่ 1  4 ม.ค.51
   
 


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 09-02-2008, 06:09


ดีแล้วครับ ประเทศไทยเราต้องการแต่รัฐบาลเงา สส.ซึ่งทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐบาลแห่งชาติ พรรคการเมือง องค์กรอิสระ

เราไม่ต้องการพรรคฝ่ายค้านที่คอยถ่วงประเทศ เราอาจจะ ต้องการรัฐบาลเงาที่ทำงานเป็นเท่านั้น


ถ้าพลังประชาชนเป็นฝ่ายค้าน หรือปชป.เป็นฝ่ายค้าน ประเทศไทยควรมีฝ่ายค้านหรือไม่?  ********Q********  22  166
http://forum.serithai.net/index.php?topic=21383.0

 


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 10-02-2008, 11:13


ผมอยากจะเชิญชวนให้ นายทุนที่ไม่ได้ขึ้นตรงกับปชป.

ทบทวนการสนับสนุนทุนการเมืองโดย ผ่านเทพเทือก และอภิสิทธิ์

หากคุณหวังให้ปชป.เป็นรัฐบาล เงินทุนไม่ใช่ปัจจัยเดียว

การทำงานภายในพรรค ต้องมีผู้นำที่มือถึงครับ..


หัวข้อ: “ครม.จริง กับ ครม.เงาในสายตาประชาชน”
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 11-02-2008, 04:57
http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000016781   :slime_fighto: :slime_cool:

วันนี้ (10 ก.พ.) สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน กทม.และจังหวัดที่เป็นตัวแทนภูมิภาคทั่วประเทศ รวม 12 จังหวัด จำนวน 3,219 คน ระหว่างวันที่ 7-10 ก.พ.ในหัวข้อ “ครม.จริง กับ ครม.เงาในสายตาประชาชน” พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 62.16 เห็นว่า ครม.จริง ทำงานได้จริงตามกฎหมายมากกว่า ครม.เงา ที่ไม่มีบทบาทหน้าที่ชัดเจน ขณะที่ร้อยละ 14.23 เห็นว่า รายชื่อ ครม.เงาเป็นที่รู้จักและมีประสบการณ์มากกว่ารายชื่อ ครม.จริง ร้อยละ 10.81 เห็นว่า เป็นลักษณะแก้เกมการเมืองของฝ่ายค้าน นอกจากนี้ ยังเห็นว่า ครม.จริงน่าจะมีความตั้งใจทำหน้าที่มากกว่า ครม.เงา  และเห็นว่า เป็นการตรวจสอบการทำงานที่กระจายหน้าที่ตามกระทรวง
       
       สวนดุสิตโพล ยังสอบถามเกี่ยวกับสิ่งที่ประชาชนอยากฝาก ครม.จริง ปรากฏว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 35.41 ได้ฝากให้ ครม.จริงเร่งขยันทำงานอย่างจริงจังและรวดเร็ว ตามมาด้วยร้อยละ 27.65 ขอให้ทำงานอย่างซื่อสัตย์ สุจริต และโปร่งใส ร้อยละ 18.61 ขออย่าเล่นพวกพ้อง ต้องทำงานเพื่อประชาชน นอกจากนี้ ยังฝากให้ทำงานตามที่หาเสียงและสัญญาไว้กับประชาชน และฝากให้ระลึกเสมอว่า มีการตรวจสอบจากประชาชน และ ครม.เงา ส่วนสิ่งที่ประชาชนอยากฝาก ครม.เงา พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 39.89 ขออย่าให้ตั้งขึ้นมาเพื่อเป็นเกมการเมือง เพราะจะทำให้เกิดความขัดแย้งมากขึ้น ขณะที่ร้อยละ 22.15 ขอให้กำหนดหน้าที่การตรวจสอบให้ชัดเจน ร้อยละ 19.04 ขอให้ทำหน้าที่ตรวจสอบการทำงานของ ครม.จริงอย่างจริงจัง อย่างไรก็ตาม มีประชาชนอีกส่วนหนึ่งขอให้ ครม.เงาอย่ากลั่นแกล้ง หรือขัดขวางการทำงานของ ครม.จริง และควรให้เวลาการทำงานแก่ ครม.จริงระยะหนึ่งก่อน
       
       สวนดุสิตโพล ได้ตั้งคำถามว่า ประชาชนเห็นด้วยหรือไม่กับการมี ครม.เงา ผลปรากฏว่า ประชาชนส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 61.79 ไม่เห็นด้วย เพราะไม่มีกฎหมายรองรับ, บทบาทหน้าที่ไม่ชัดเจน, กลัวเป็นเกมการเมือง, กลัวจะสร้างความขัดแย้งและแตกแยกมากขึ้น มีเพียงร้อยละ 30.63 เท่านั้นที่เห็นด้วยกับการตั้ง ครม.เงา เนื่องจาก จะเป็นการตรวจสอบการทำงานให้โปร่งใส ถูกต้อง รวดเร็ว และกระตุ้นการทำงานของ ครม.จริง อย่างไรก็ตาม มีประชาชนร้อยละ 7.58 ที่เห็นว่า เฉยๆ เพราะ ครม.เงาไม่มีกฎหมายรองรับการปฏิบัติงาน และคิดว่าคงทำอะไรไม่ได้มาก


หัวข้อ: Re: “ครม.จริง กับ ครม.เงาในสายตาประชาชน”
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 11-02-2008, 07:31
http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000016781   :slime_fighto: :slime_cool:

วันนี้ (10 ก.พ.) สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน กทม.และจังหวัดที่เป็นตัวแทนภูมิภาคทั่วประเทศ รวม 12 จังหวัด จำนวน 3,219 คน ระหว่างวันที่ 7-10 ก.พ.ในหัวข้อ “ครม.จริง กับ ครม.เงาในสายตาประชาชน” พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 62.16 เห็นว่า ครม.จริง ทำงานได้จริงตามกฎหมายมากกว่า ครม.เงา ที่ไม่มีบทบาทหน้าที่ชัดเจน ขณะที่ร้อยละ 14.23 เห็นว่า รายชื่อ ครม.เงาเป็นที่รู้จักและมีประสบการณ์มากกว่ารายชื่อ ครม.จริง ร้อยละ 10.81 เห็นว่า เป็นลักษณะแก้เกมการเมืองของฝ่ายค้าน นอกจากนี้ ยังเห็นว่า ครม.จริงน่าจะมีความตั้งใจทำหน้าที่มากกว่า ครม.เงา  และเห็นว่า เป็นการตรวจสอบการทำงานที่กระจายหน้าที่ตามกระทรวง
       
       สวนดุสิตโพล ยังสอบถามเกี่ยวกับสิ่งที่ประชาชนอยากฝาก ครม.จริง ปรากฏว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 35.41 ได้ฝากให้ ครม.จริงเร่งขยันทำงานอย่างจริงจังและรวดเร็ว ตามมาด้วยร้อยละ 27.65 ขอให้ทำงานอย่างซื่อสัตย์ สุจริต และโปร่งใส ร้อยละ 18.61 ขออย่าเล่นพวกพ้อง ต้องทำงานเพื่อประชาชน นอกจากนี้ ยังฝากให้ทำงานตามที่หาเสียงและสัญญาไว้กับประชาชน และฝากให้ระลึกเสมอว่า มีการตรวจสอบจากประชาชน และ ครม.เงา ส่วนสิ่งที่ประชาชนอยากฝาก ครม.เงา พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 39.89 ขออย่าให้ตั้งขึ้นมาเพื่อเป็นเกมการเมือง เพราะจะทำให้เกิดความขัดแย้งมากขึ้น ขณะที่ร้อยละ 22.15 ขอให้กำหนดหน้าที่การตรวจสอบให้ชัดเจน ร้อยละ 19.04 ขอให้ทำหน้าที่ตรวจสอบการทำงานของ ครม.จริงอย่างจริงจัง อย่างไรก็ตาม มีประชาชนอีกส่วนหนึ่งขอให้ ครม.เงาอย่ากลั่นแกล้ง หรือขัดขวางการทำงานของ ครม.จริง และควรให้เวลาการทำงานแก่ ครม.จริงระยะหนึ่งก่อน
       
       สวนดุสิตโพล ได้ตั้งคำถามว่า ประชาชนเห็นด้วยหรือไม่กับการมี ครม.เงา ผลปรากฏว่า ประชาชนส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 61.79 ไม่เห็นด้วย เพราะไม่มีกฎหมายรองรับ, บทบาทหน้าที่ไม่ชัดเจน, กลัวเป็นเกมการเมือง, กลัวจะสร้างความขัดแย้งและแตกแยกมากขึ้น มีเพียงร้อยละ 30.63 เท่านั้นที่เห็นด้วยกับการตั้ง ครม.เงา เนื่องจาก จะเป็นการตรวจสอบการทำงานให้โปร่งใส ถูกต้อง รวดเร็ว และกระตุ้นการทำงานของ ครม.จริง อย่างไรก็ตาม มีประชาชนร้อยละ 7.58 ที่เห็นว่า เฉยๆ เพราะ ครม.เงาไม่มีกฎหมายรองรับการปฏิบัติงาน และคิดว่าคงทำอะไรไม่ได้มาก


ค่าเฉลี่ยคนไทยที่เข้าใจการเมืองจริงๆ มันมีกี่คนก็ไม่ทราบได้

มันไม่ตอบให้ว่า บ้านเมืองไม่น่ามีรัฐสภา เพราะมีไปก็มีแต่ สส ด่ากัน ก็บุญแล้ว


หัวข้อ: Re: “ครม.จริง กับ ครม.เงาในสายตาประชาชน”
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 11-02-2008, 14:52

ค่าเฉลี่ยคนไทยที่เข้าใจการเมืองจริงๆ มันมีกี่คนก็ไม่ทราบได้

มันไม่ตอบให้ว่า บ้านเมืองไม่น่ามีรัฐสภา เพราะมีไปก็มีแต่ สส ด่ากัน ก็บุญแล้ว

การเข้าใจการเมืองในระดับที่แตกต่างกัน ก็ใช่ว่าจะยืนยันสมมุติฐานว่า


คนเข้าใจการเมืองเลือกพรรคปชป.ครับ ในเมื่อคนที่เลือกมาจากทั่วประเทศ

และแต่ละเขต แม้แต่ในเขตกรุงเทพฯ คะแนนก็ไม่ได้ชนะกันโดยเด็ดขาด

โพลล์เองก็สำรวจจาก สิบสองจังหวัด มีการกระจายตัวตามปกติอยู่แล้ว


โพลล์ชี้ว่าคนส่วนใหญ่ ยังไม่เห็นคุณค่าหรือผลงานของครม.เงาครับ

อาจจะเพราะว่าเป็นของใหม่ อ่อนประชาสัมพันธ์ หรืออาจจะเพราะว่าไม่เคยมีผลงานมาเลยก็เป็นได้

หรืออาจจะเกิดจากข้อจำกัดเชิงโครงสร้างหรือกระบวนทัศน์ ตามที่ประชาชนคิดและให้เหตุผลมาตามโพลล์ก็ได้เช่นกัน


หัวข้อ: รมช.สธ.เงา ปชป. เดินหน้าผลักดันซีแอลยามะเร็ง
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 11-02-2008, 15:51


รมช.สธ.เงา ปชป. เดินหน้าผลักดันซีแอลยามะเร็ง
 http://www.innnews.co.th/social.php?nid=88492   
   
  โดยทีมข่าว INN News 10 กุมภาพันธ์ 2551 18:15:34 น.     
 
   
     
“นพ.บุรณัชย์” รมช.สธ.เงา ของพรรคประชาธิปัตย์โชว์ผลงานแรกหารือหัวหน้าหน่วยมะเร็งจุฬาฯ ย้ำเดินหน้าผลักดันซีแอลยามะเร็ง ทวงสัญญาประชาคมพรรครัฐบาลที่เคยรับปากประชาชน นำประเด็นซีแอลยามะเร็งเข้าที่ประชุม ครม.เงา วันพรุ่งนี้ (11 ก.พ.)
 

(http://www.innnews.co.th/social/88492[0].jpg)

นพ.บุรณัชย์ สมุทรักษ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขเงา (รมช.สธ.เงา) ของพรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) กล่าวภายหลังได้หารือกับ นพ.วิโรจน์ ศรีอุฬารพงศ์ หัวหน้าหน่วยมะเร็งวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ว่า วันนี้ถือเป็นการทำหน้าที่รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขเงาของตนเป็นครั้งแรก ได้มาดูสภาพปัญหาในการรักษาโรคมะเร็ง ก่อนหน้านี้ ได้หารือกับผู้อำนวยการสถาบันมะเร็งแห่งชาติถึงขอบเขตในการที่รัฐต้องรับภาระค่ารักษาพยาบาล รวมทั้งพูดคุยกับกลุ่มเครือข่ายเพื่อนมะเร็ง พบว่าสถิติคนไทยป่วยเป็นโรคมะเร็งทุกชนิดประมาณ 100,000 คนต่อปี เสียชีวิตปีละ 60,000 คน ทำให้ค่าใช้จ่ายในการรักษามีสัดส่วนที่สูงที่สุดแห่งหนึ่งของโลกเมื่อเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายสาธารณสุขโดยรวมของประเทศประมาณ 300,000 ล้านบาท โดยร้อยละ 35 เป็นค่ายา ซึ่งเมื่อ 10 ปีที่แล้วประเทศไทยนำเข้ายาในสัดส่วน 30 ต่อ 70 แต่วันนี้ตัวเลขกลับกัน

นพ.บุรณัชย์ กล่าวด้วยว่า การจัดระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยเมื่อ 5 ปีที่ผ่านมา ถือเป็นการปฏิรูประบบการรักษาพยาบาลเป็นหลักแต่มองข้ามระบบยา ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสุขภาพในประเทศไทย สำหรับมาตรการในการปฏิรูประบบยาสิ่งที่สำคัญคือการเข้าถึงยา ซึ่งรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ ใช้มาตรการบังคับใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตร (ซีแอล) ถือเป็นมาตรการหนึ่งที่ถูกต้องตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งถือว่าการคงสิทธิในการใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยา เป็นสิ่งสำคัญในการแก้ปัญหาสาธารณสุขของประเทศนั้น ๆ

“ในช่วง 3-4 วันที่ผ่านมา การที่นายไชยา สะสมทรัพย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ออกมาพูดเรื่องการทบทวนทำซีแอลยามะเร็ง มองว่าท่านเป็นคนคิดอย่างไรก็พูดอย่างนั้น แต่อย่างไรก็ตาม ผมมีความคิดเห็นที่แตกต่างและขัดแย้งกับคำพูดของท่านมากพอสมควร เพราะการออกมาเปิดเผยจุดยืนในใจว่าคิดอย่างไร แม้จะดีต่อสาธารณชน แต่ก็อาจจะทำให้อำนาจต่อรองในเรื่องการใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยามะเร็ง 4 ตัวลดลง อยากจะให้คิดให้รอบคอบและรอการแถลงนโยบายของรัฐบาลเพื่อกำหนดทิศทางเรื่องนี้อย่างไร อย่าลืมว่า ตอนหาเสียง ได้รับปากกับประชาชนว่าจะเดินหน้าทำซีแอลยามะเร็งต่อ แต่พอเอาเข้าจริงๆกับไม่สนใจ” นพ.บุรณัชย์ กล่าว

นพ.บุรณัชย์ กล่าวอีกว่า ขอให้รัฐมนตรีคิดถึงผลประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก ส่วนการเสียประโยชน์ของคู่สัญญาหรือคู่กรณีต้องเข้าใจว่าเป็นสิทธิที่คู่กรณีจะร้องเรียนได้ ซึ่งมีกระบวนการขั้นตอนอยู่แล้ว ส่วนความสัมพันธ์กับประเทศเจ้าของสิทธิบัตรนั้น ตนอยากให้แยกส่วน กับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เพราะแม้ในประเทศสหรัฐเองก็ใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรหลายเรื่อง ทั้งนี้ ในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ตนจะนำข้อมูลที่ได้เข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเงาของพรรคประชาธิปัตย์ช่วงบ่ายและแถลงผลการประชุมโดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และวันที่ 12–14 กุมภาพันธ์นี้ ตนจะหารือกับนายสุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียน เกี่ยวกับการรวมตัวของกลุ่มผู้ใช้ยาเพื่อสร้างอำนาจต่อรอง ทำให้ราคายาถูกลง เหมือนกลุ่มองค์กรนานาชาติอื่น และในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ จะหารือกับเภสัชกรจุฬาฯ ในเรื่องของกฎหมายและศักยภาพในการใช้ยาในประเทศไทย

ทั้งนี้ นพ.มงคล ณ สงขลา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้ลงนามในประกาศทำซีแอลยามะเร็งเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2551 จำนวน 4 รายการ คือ อิมาทินิบ (Imatinib), โดซีแท็คเซล (Docetaxel), เออร์โลทินิบ (Erlotinib) และเล็ทโทรโซล (Letrozole) ต่อมาได้ระงับการทำซีแอลยาอิมาทินิบ เนื่องจากบริษัทโนวาร์ตีสเจ้าของสิทธิบัตรยาเสนอโครงการทำให้ผู้ป่วยถือบัตรทองในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติประมาณ 48 ล้านคน โดยมีเงื่อนไขว่าผู้ป่วยต้องมีรายได้ต่อครัวเรือนไม่เกิน 1.7 ล้านบาทต่อปี จะได้รับยาฟรี

 
 
 


หัวข้อ: รัฐมนตรีเงาทั้งคณะเข้าประชุมกันอย่างพร้อมเพรียง โดยใช้ประชุมกว่า 3 ชั่วโมง
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 11-02-2008, 22:43
http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000017382

       
       วันนี้ (11 ก.พ.) คณะรัฐมนตรีเงาของพรรคประชาธิปัตย์ นำโดย นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีเงา หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งมีรัฐมนตรีเงาทั้งคณะเข้าประชุมกันอย่างพร้อมเพรียง โดยใช้ประชุมกว่า 3 ชั่วโมง
       
       ทั้งนี้ นายอภิสิทธิ์ ได้แถลงว่า การประชุมนัดแรกเพื่อเป็นการกำหนดแนวทางการทำงานของฝ่ายค้านให้เป็นไปอย่างมีระบบมีความครอบคลุม รวมทั้งทำให้การเมืองมีพัฒนาการ นอกจากนี้ ประชาชนและประเทศชาติจะได้ประโยชน์อย่างสูงสุดจากการทำงานที่จริงจังของทุกฝ่าย ซึ่งยืนยันว่า การทำงานของ ครม.เงาไม่เหมือนกับการทำงานของ ครม.จริง โดยจะทำหน้าที่เฉพาะตรวจสอบติดตามและเสนอแนะการทำงานเท่านั้น และจะไม่มีปัญหาเรื่องความซ้ำซ้อนกับองค์กรอื่นๆ โดยเฉพาะการทำงานของกรรมาธิการ เนื่องจากเป็นกลไกของสภา และ ส.ว.
       
       นายอภิสิทธิ์ กล่าวว่า ในที่ประชุมได้มีการให้ทุกคนรับข้อมูลที่จะเป็นประโยชน์ต่อการทำงานในเบื้องต้น คือ การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2551 โดยจำแนกเป็นรายกระทรวง รายจังหวัด เพื่อให้ติดตามผลงานต่างๆ ที่รัฐบาลชุดที่แล้วได้ทำไว้ รวมถึงรัฐบาลชุดนี้ นอกจากนี้ ยังมีการแจกรายชื่อกฎหมายที่ยังค้างอยู่ในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อดูว่ามีร่างใดที่พรรคเห็นว่าควรจะผลักดันต่อไป หรือไม่ควรสานต่อไป เพื่อประโยชน์ในการกำหนดจุดยืนของพรรค
       
       นายกรัฐมนตรีเงา กล่าวว่า นอกจากนี้ ยังได้กำหนดแนวทางการทำงานเบื้องต้น โดยจะมีการประชุมทุกวันพฤหัสบดี เวลา 08.30-11.00 น.ก่อนที่จะไปร่วมประชุมสภาผู้แทนราษฎร  โดยจะมีการหยิบยกปัญหาเร่งด่วนของบ้านเมืองเพื่อหาแนวทางเสนอแนะรัฐบาล รวมทั้งผลพวงจากปัญหาการบริหารราชการแผ่นดินและการประชุมครม.ในแต่ละนัด อีกทั้งเรื่องอื่นๆ ที่อยู่ในความสนใจที่คิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์ต่อสังคม
       
       นายอภิสิทธิ์ กล่าวว่า ที่ประชุมยังได้มีการพิจารณาเป็นพิเศษ คือ พรรคจะมีการเสนอนโยบายค่าครองชีพ 99 วันต่อรัฐบาลชุดใหม่ ประกอบด้วย 5 ด้าน คือ 1.การฟื้นฟูเศรษฐกิจ 2.การพัฒนาการศึกษาของประเทศ 3.ปัญหาความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 4.การฟื้นฟูประชาธิปไตย และ 5.ปัญหายาเสพติด ซึ่งรัฐบาลจะต้องให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจมากที่สุด โดยเฉพาะปัญหาค่าครองชีพ การลดภาระค่าใช้จ่าย ที่ต้องแก้ไขเป็นเร่งด่วน พรรคเคยเสนอแผนวาระ 99 วันมาแล้วในการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ที่ครอบคลุมการแก้ปัญหา การขึ้นราคาก๊าซหุงต้ม ค่าน้ำมัน และการเรียนฟรี อยากฝากรัฐบาลว่าอย่ารังเกียจว่าเป็นข้อเสนอของเราขอให้รับไปดำเนินการลดภาระค่าใช้จ่ายของผู้บริโภค โดยเฉพาะ ปัญหาหนี้สินที่ไม่ใช้เรื่องการพักชำระหนี้เกษตรกรเท่านั้น แต่รัฐบาลควรดูเรื่องหนี้บัตรเครดิต ปัญหาหนี้เสีย ปัญหากฎหมายข้อมูลเครดิต จึงอยากให้รัฐบาลลดภาระของประชาชนเฉพาะหน้า
       
       ส่วนภาพรวมของเศรษฐกิจรัฐบาลต้องเร่งเรียกความเชื่อมั่นกลับมา ด้วยการสร้างความชัดเจนกับนโยบายการสำรองร้อยละ 30 และนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนควบคู่กันไป รวมถึงการสร้างความเชื่อมั่นในการทำงานที่เป็นเอกภาพระหว่างการทำงานของธนาคารแห่งประเทศไทย และกระทรวงการคลังที่จะเป็นพื้นฐานสำคัญในการบริหารเศรษฐกิจมหภาค ส่วนการกระตุ้นเศรษฐกิจนอกจากจะสนับสนุนการลงทุนในภาครัฐแล้ว ที่เราจะเน้นเรื่องการคุ้มค่าการลงทุนในเชิงประโยชน์ที่เกิดขึ้นต่อเศรษฐกิจ และดำเนินการอย่างโปร่งใส ยังต้องสนับสนุนการลงทุนในภาคเอกชนด้วยการสร้างความเชื่อมั่นและแก้ไขระเบียบเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับนักลงทุนทั้งไทยและต่างประเทศ
       
       อย่างไรก็ตาม หากโครงการใดที่เป็นประโยชน์กับประชาชน พรรคประชาธิปัตย์ยินดีสนับสนุน แต่ต้องพิจารณาใน 3 ข้อ คือ 1.มีหลักการยั่งยืนและพอเพียงในการกำกับ จัดเม็ดเงินลงไปสู่ชุมชน 2.มีเป้าหมายที่ชัดเจน และอิงต่อความต้องการของแต่ละพื้นที่ เช่น พื้นที่ไหนที่จนซ้ำซากจะดูแลเช่นเดียวกับพื้นที่อื่นไม่ได้ และ 3.โครงการประชานิยมที่ลดภาระของประชาชนควรวางระบบสวัสดิการ ซึ่งจะมีหลักประกันไม่ให้ประชาชนวิ่งหาผู้มีอำนาจ โดยอาจจะมีกฎหมายรองรับที่ต้องศึกษาอย่างชัดเจนว่าต้องใช้ประมาณเท่าไหร่ อย่างไร ซึ่งทั้งหมดเป็นการศึกษาเบื้องต้นเพื่อให้ความคิดกับรัฐบาลในฐานะพรรคฝ่ายค้านเรามองปัญหาเร่งด่วน และนำเสนอความคิดเบื้องต้นในการแก้ปัญหาบางประการ ซึ่งเป็นสิทธิ์ของรัฐบาลที่จะเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอนี้ แต่ทั้งหมดคือหลักความคิดที่เราจะใช้ในการตรวจสอบและประเมินการทำงานของรัฐบาล โดยเฉพาะในช่วงการจัดทำและแถลงนโยบายต่อรัฐสภา
       
       นายกรณ์ จาติกวาณิช รองเลขาธิการ และ รมว.คลัง (เงา) พรรคประชาธิปัตย์ กล่าวว่า อยากได้ยิน นพ.สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี รองนายกฯ และ รมว.คลัง ยืนยันถึงนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนว่าเป็นอย่างไร ทั้งนี้ พรรคพลังประชาชนเคยพูดเอาไว้ว่าอยากเห็นอัตราแลกเปลี่ยนที่เป็นแบบตายตัว ซึ่งน่ากลัวมาก จนถึงวันนี้จะทำอย่างนั้นอีกหรือไม่ หรือจะให้เปิดเสรีและคิดถึงสถานการณ์และสภาพแวดล้อมขณะนี้เป็นอย่างไร เนื่องจากขณะนี้วิกฤติซับไพรม์รุนแรงขึ้นอัตราดอกเบี้ยของสหรัฐฯลดลงแล้วถึงร้อยละ 1.25 ภายใน 2 สัปดาห์ หากเป็นเช่นนี้เงินจะไหลมาสู่ประเทศที่มีดอกเบี้ยสูงกว่า ซึ่งประเทศไทยก็จะเป็นประเทศหนึ่งที่เงินไหลเข้ามา ดังนั้นการแก้ปัญหาจะกำหนดเป็นสูตรสำเร็จไม่ได้ อย่างไรก็ตาม พรรคประชาธิปัตย์พูดมาตลอดว่าควรยกเลิกมาตรการ 30% และเมื่อรัฐบาลจะยกเงินมาตรการนี้เช่นกันก็ต้องอธิบายว่าจะมีอะไรดีกว่า โดยฉพาะ รมว.คลัง ต้องตระหนักว่านโยบายดอกเบี้ยเป็นนโยบายของธนาคารแห่งประเทศ (ธปท.)
       
       ผู้สื่อข่าวถามว่า หากแนวทางด้านนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างรัฐบาล และ ธปท.ไม่ตรงกันจะต้องปลดผู้ว่าการ ธปท.หรือไม่ นายกรณ์ กล่าวว่า การปลดผู้ว่าการ ธปท.เป็นเรื่องใหญ่ ในอดีตก็มีการปลดทุกครั้ง แต่การจะปลดก็ต้องอธิบายเหตุผลให้ชัดเจนว่าปลดเพราะอะไร แต่ไม่ทราบว่า พ.ร.บ.ของ ธปท.ฉบับปัจจุบันได้ลดบทบาท รมว.คลัง ลงเหลือแค่ไหน  หากปลดผู้ว่าการ โดยมีเหตุผลเพียงให้คนส่วนใหญ่ คิดว่าต้องการนโยบายการเงินที่หละหลวมจะมีผลกระทบระยะยาว
       
       “ถ้าเลิกมาตรการ 30% ต้องมีความชัดเจนว่าเลิกเพราะอะไร คิดถึงผลที่ตามมาหรือไม่และมีคำอธิบายถึงมาตรการที่จะออกมารองรับการยกเลิกอะไรบ้าง โดยเฉพาะเมื่อมีผลเสียหายจากการเลิกมาตรการนี้จะควบคุมอย่างไร” นายกรณ์ กล่าว


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 12-02-2008, 00:03

ตัวบุคคลในครม.เงา มีการยื่นแสดงบัญชีทรัพย์สินก่อนและหลังเข้ารับตำแหน่ง ต่อกกต.หรือเปล่าครับ?

แล้วก็มีการปรับครม.เงาด้วยหรือเปล่าหากทำงานไม่ดี.? มีอภิปรายไม่ไว้วางใจกันเองด้วยหรือเปล่า?

และหากมีมติไม่ไว้วางใจ จะลาออก หรือจะให้ไล่ครับ..?

ประชาชนไปเดินขบวนประท้วงได้หรือเปล่า? :slime_bigsmile: :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 13-02-2008, 14:49


ยังไม่พบประเด็นนำเสนอที่น่าสนใจ จากฟากรัฐบาลเงา

เห็นว่าต้องการเวลาอภิปราย ช่วงวันแถลงนโยบาย

เท่ากับฟากรัฐบาลจริง ซึ่งผมว่าไม่จำเป็น เนื่องจากไม่มีอะไรใหม่นำเสนอ.. :slime_fighto: :slime_cool:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 18-02-2008, 17:58


อภิปรายนโยบาย ก็ไม่มีอะไรตื่นเต้น

ไม่มีมุขเด็ด  เลี้ยงลูกกันนิดๆหน่อยๆ

คงต้องรอดูการทำงานจริงและทักษะในการบริหารนโยบายต่อไป


แต่เรื่องสมานฉันท์ในชาติ และผลักดันแนวสมดุลในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ ก็ถือว่าหาช่องโจมตีตรงๆยาก

ส่วนใหญ่ก็ต้องลากโยงเอาเรื่อง รัฐบาลก่อนสุรยุทธมาเอ่ยพาดพิงบ่อยๆ อภิปรายในสภาเขาห้ามพาดพิงบุคคลภายนอกโดยไม่จำเป็น

ต่างจากเว็บบอร์ดวิจารณ์การเมือง ที่ห้ามพาดพิงผู้วิจารรณ์ให้เสียหาย หากไม่มีการทำผิดระเบียบ หรือพฤติการ์ณรบกวนผู้สนทนา


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: truly ที่ 18-02-2008, 18:08
รอ ดร.เกรียงศักดิ์กลับมาช่วยทำงานมั้ง
ตั้งแต่ลาออกไป รู้สึกว่ามีคนขยันตั้งกระทู้ด่า ปชป.จัง ขำๆ...
 :slime_smile2:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ชัย คุรุ เทวา โอม ที่ 18-02-2008, 18:09
ปั่นๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ

มาช่วยคุณคิวปั่น  :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 18-02-2008, 18:10
รอ ดร.เกรียงศักดิ์กลับมาช่วยทำงานมั้ง
ตั้งแต่ลาออกไป รู้สึกว่ามีคนขยันตั้งกระทู้ด่า ปชป.จัง ขำๆ...
 :slime_smile2:


ไม่เห็นมีใครด่าปชป.นี่ครับ ไหนอยู่ไหน? :slime_doubt:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 18-02-2008, 18:13


ปั่นๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ

มาช่วยคุณคิวปั่น  :slime_fighto:

ปั่น รอผลงานปชป.? :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ชัย คุรุ เทวา โอม ที่ 18-02-2008, 18:19

ปั่น รอผลงานปชป.? :slime_bigsmile:
งั้นผมปั่นไปรอข้างหน้าละกัน :slime_bigsmile: :slime_hmm:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 18-02-2008, 18:34


งั้นผมปั่นไปรอข้างหน้าละกัน :slime_bigsmile: :slime_hmm:


เคยเสนอให้เน้นเรื่องทางใต้ ก็ต้องดูว่าสส.ลงพื้นที่สม่ำเสมอหรือเปล่า?

มีกระทู้ต่างๆในสภาหรือเปล่า? มีการยกร่างหรือรายงานอะไรเสนอต่อรัฐสภาบ้าง?

มีการติดตามปัญหาจนเกิดมรรคผลอย่างไรบ้าง? มีความกระตือรือล้นในการทำงานต่อเนื่องหรือไม่?

มีการปรับปรุงทีมงานและพรรคอย่างไร? ฯลฯ อภิสิทธิ์และเทพเทือก จะหาเงินเข้าพรรคได้เยอะหรือไม่?


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 21-02-2008, 21:57


อภิปรายสามวัน สส.ปชป. น่าจะทำรายงานสรุปข้อเสนอแนะ ส่งให้ประธานรัฐสภาและรัฐบาล :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 25-02-2008, 21:33


อภิปรายสามวัน สส.ปชป. น่าจะทำรายงานสรุปข้อเสนอแนะ ส่งให้ประธานรัฐสภาและรัฐบาล :slime_fighto:


สรุปว่า ยังไม่ได้รับรายงาน เพราะ..?? :slime_bigsmile: :slime_cool: :slime_doubt:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 28-02-2008, 16:02


ปชป. จะจับทุจริตรัฐบาล หรือจะเสนอทำอะไรก็เร่งมือครับ? :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 29-02-2008, 19:02



ขำจริงๆ พรรครัฐบาลเงา เป็นนอมินีใครหรือเปล่าครับ

ทำไม ไม่เห็นทำอะไร หรือจัดการกับระบอบทักษิณเลย..
                                                                               :slime_doubt:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 01-03-2008, 23:59


เขาว่ากองเชียร์นิสัยเหมือนพรรคที่ตนเองชื่นชอบ

ผมก็ปลงๆ เพราะนิสัยของคนเรามันแก้ไขยาก


หลักฐานทนโธ่ ก็มองกันอยู่ด้านเดียว ไม่มีเปลี่ยนจุดยืนหรือมุมมอง

ตรวจสอบกับจ้องล้มรัฐบาล มันคนละความหมาย


หากหวังล้มกันอย่างเดียวชาติไม่มีทางเจริญ

เพราะนักการเมือง ต้องให้ตายคาสสนาม เท่านั้น


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 06-03-2008, 02:26


ผมรอดูข้อเสนอ เกี่ยวกับปัญหาภาคใต้ของปชป.แล้วกัน

มันมีอะไรเป็นรูปธรรม บ้าง?


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 07-03-2008, 20:27


สาวกปชป. หายไปไหนหมดไม่ทราบ?

กลายเป็นอีแอบทั้งหมดทุกประการ..(ทั้งตัวและหัวใจ)

ดีแล้วที่ ไม่มีพวกหลับหูหลับตา เจ๊าะแจ๊ะ จากพรรคนี้  :slime_smile2:




หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 09-03-2008, 01:58


คนกรุงทีไม่เลือกพรรคใดถาวร ก็เพราะจุดยืนในความเป็นกลาง

และก็เป็นตัวสวิงโหวตนี่แหละครับ ปชป.และแป๊ะ ทราบดี..

ช่วงนี้ถ้าเล่นบทเดิม จะถูกทิ้งไม่เห็นฝุ่นในไม่ช้า

ยกเว้น พปช.สะดุดเท้าตัวเองล้มอีกครั้ง..

ที่พอช่วยได้บ้างคือปชป.ต้องผ่าตัดใหญ่ แล้วก็ขยันออกหมัดดักทางคู่ต่อสู้ :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 09-03-2008, 02:11
แหมพี่ ก็เป็นฝ่ายค้าน

ชื่อรัฐบาลเงา ก็คือเงา จะให้จับต้องได้ไง

เงา จับต้องไม่ได้ แต่มองเป็นได้


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 09-03-2008, 22:21
 :slime_fighto:



คำถามถึงชาวประชาธิปัตย์:ทำอย่างไรปชป.จะชนะเลือกตั้งเพื่อจัดตั้งรัฐบาลได้ในหนหน้า  (อ่าน 166 ครั้ง)

http://forum.serithai.net/index.php?topic=23142.0




หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 10-03-2008, 03:03
ทำอย่างไรจึงจะชนะ คงตกผลึกปัญหามาพอสมควร

แต่มันยังปรับกระบวนการคิดไม่ได้ เพราะความหลากหลายในพรรค

รวมทั้งอคติ มายาคติ วัฒนธรรมองค์กร ฯลฯ

ที่สำคัญ ปชป. น่าจะลองให้บริษัทประเมิน เข้าไปศึกษาแบบไม่มีอคติ

อาจบางทีจะพบจุดอ่อนจุดแข็ง ที่ควรปรับปรุงหรือส่งเสริม

ปรับจุดด้วย ส่งเสริมจุดแข็ง ทำงานอย่างจริงจัง ยังพอมีหวังครับ

ในดีมีเสีย...ในเสียมีดี

คงไม่ใช่ว่าปชป.จะมีข้อเสียไปซะหมด

ผลการเลือกตั้งครั้งนี้ ปชป. ก็ทำสถิติ มีสส.มากที่สุดเป็นประวัติการณ์อยู่แล้ว

น่าจะลองหาดูด้วยว่า จุดสำเร็จครังนี้ มีปัจจัยเกื้อหนุนอย่างไรบ้าง


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: Caocao ที่ 10-03-2008, 03:18
เงามันก็เหมือนตัวสำรอง เป็นตัวเลือกข้างสนาม มันขึ้นอยู่กับผู้จัดการทีม ว่าเมื่อไหร่จะสั่งการให้ลงเล่น โอกาศขึ้นอยู่กับตอนซ้อมโชว์ผลงานดีแค่ไหน เป็นความหวังได้ไหม เห็นบ่อยๆ บางครั้งตัวสำรองก็เป็นซุปเปอร์ซับได้ ก็อีกนั่นแหละ หากตัวจริงไม่เล่นห่วย หรือพลาดท่าบาดเจ็บไปเสียก่อน โอกาศส่งตัวสำรองลงคงยาก :slime_shy:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 10-03-2008, 23:28
เงามันก็เหมือนตัวสำรอง เป็นตัวเลือกข้างสนาม มันขึ้นอยู่กับผู้จัดการทีม ว่าเมื่อไหร่จะสั่งการให้ลงเล่น โอกาศขึ้นอยู่กับตอนซ้อมโชว์ผลงานดีแค่ไหน เป็นความหวังได้ไหม เห็นบ่อยๆ บางครั้งตัวสำรองก็เป็นซุปเปอร์ซับได้ ก็อีกนั่นแหละ หากตัวจริงไม่เล่นห่วย หรือพลาดท่าบาดเจ็บไปเสียก่อน โอกาศส่งตัวสำรองลงคงยาก :slime_shy:

นักข่าวมีปัญหาที่สงสัย รีบไปถาม ชวน เซื่องช้า เทพเทือก อภิสิทธิ์ที่สนใจการเมืองตั้งแต่เด็ก

ก่อนที่คนเหล่านี้จะสาปสูญไปตามครรลอง  บางทีอาจจะเกิดความกระจ่างในประวัติศาสตร์ร่วมสมัยมากขึ้นว่า

ที่พูดกันไม่ค่อยออกนี่ อะไรปิดปากอยู่ ส่วนที่เอาดีเข้าตัวนี่ทำไมพูดเป็นต่อยหอย?

เป็นฝ่ายค้านหรือรัฐบาลเงา ก็หัดตอบเรื่องเก่าๆช่วงที่ได้เป็นรัฐบาลมาให้คนร่วมสมัยเขาหายข้องใจ :slime_smile2:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 10-03-2008, 23:35

เอาเรื่องเหล่านี้ไปลองถามก็ได้ :slime_fighto:


เพขรซาอุฯ เพขรสีน้ำเงิน เพชรที่ต้องคำสาปแช่ง  ********Q********  27  188

http://forum.serithai.net/index.php?topic=23159.0


ตุลา 19 ต้องถามหาว่าใครฆ่าประชาชน: ลูกเสือชาวบ้าน กลุ่มนวพล กลุ่มกระทิงแดง ?  ********Q********  33  432

http://forum.serithai.net/index.php?topic=22437.0


หัวข้อ: 'ปชป.'ลุยการเมืองท้องถิ่นถอยเพื่อรุกคืนสู่ทำเนียบฯ
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 11-03-2008, 17:01


'ปชป.'ลุยการเมืองท้องถิ่นถอยเพื่อรุกคืนสู่ทำเนียบฯ  
 http://www.focuspaktai.com/index.php?file=news&obj=news.view(id=10240) 
 
 ในที่สุด"พรรคประชาธิปัตย์Žก็ตัดสินใจ ลงลุยสนามการเมืองท้องถิ่นอย่างเป็นทางการ เลิกหวั่นเกรงว่าจะกระทบต่อฐานเสียงในพื้นที่ อันเป็นเหตุผลที่พรรคการเมืองเก่าแก่พรรคนี้ ใช้ปฏิเสธที่จะให้การสนับสนุนผู้สมัครรับเลือกตั้งในระดับท้องถิ่นตลอดหลายสิบปีที่ผ่านมา

ยกเว้นก็เฉพาะสนาม "กรุงเทพ มหานคร" เท่านั้น ที่พรรคการเมืองนี้ ส่งคนลงสมัครรับเลือกตั้งมาอย่างต่อเนื่อง

สนามการเมืองท้องถิ่นแรก ที่พลพรรคประชาธิปัตย์ ยกทีมลงมาหาเสียงอย่างเป็นทางการ ก็คือ สนามเลือกตั้ง เทศบาลนครหาดใหญ่ ประกาศส่ง"ไพร พัฒโน" นายกเทศมนตรีนครหาดใหญ่คนปัจจุบัน ลงสมัคร ในนามพรรรค

เป็นที่ชัดเจนแล้วว่า นออกจากสนามใหญ่อย่าง นครหาดใหญ่แล้ว การเลือกตั้งท้องถิ่นในปี 2551 นี้ พรรคประชาธิปัตย์จะส่ง ผู้สมัครลงชิงตำแหน่งอีกหลายสนาม

ไล่มาตั้งแต่ ส่ง"นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร" ชิงตำแหน่งนายกองค์การบริหารจังหวัดพัทลุง, ส่ง"นายธานินทร์ ใจสมุทร" ลงสมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล
นางอัญชลี วานิช เทพบุตร"ลงรักษาตำ แหน่งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต
"นายดาวูด ซา" ลงสมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดยะลา"นายอับดุลลาเต๊ะ
ยากัด" ลงสมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี"นายอำนวย บัวเขียว"
ลงสมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร"นายนภา นทีทอง" ลงสมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดระนอง"นายธานี เทือกสุบรรณ" ลงป้องกันตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฏร์ธานี

มี"นายไพร พัฒโน" เป็นเจ้าแรก ที่พรรค การเมืองนี้ ส่งลงป้องกันตำแหน่งนายกเทศบาลนครหาดใหญ่ นี่ยังไม่นับรวมไปถึงจังหวัดสุรินทร์ ที่พรรคประชาธิปัต์ส่งคนลงชิงตำแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองสุรินทร์ และนายกเทศบาลเมืองชลบุรี

บรรยากาศของความเอาจริงจัง ต่อการ เมืองท้องถิ่น ของพรรคประชาธิปัตย์ ปรากฏขึ้นเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2551 เมื่อขุนพลของพรรคพาเหรดขึ้นเวทีปราศรัยสนับสนุน"ไพร พัฒโน" ณ สนามรถไฟหาดใหญ่ 2 ชุมชนโชคสมาน

ขณะที่"นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ" หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ขึ้นไปปราศรัยช่วย หาเสียงให้กับ ลูกพรรคชิงตำแหน่งนากเทศ มนตรีเมืองสุรินทร์ ในวันเดียวกัน เป็นที่น่าสังเกตว่า บนเวทีปราศรัยกลางนครหาดใหญ่ มี 2 ว่าที่ผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดของพรรคประชาธิปัตย์มาร่วมวงด้วย 2 คน หนึ่งนั้น "นายธานินทร์ ใจสมุทร" จากจังหวัดสตูล สองนั้น"นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร" แห่งจังหวัดพัทลุง

นอกจากจะเป็นการปราศรัยสนับสนุนผู้สมัครนายกเทศมนตรีนครหาดใหญ่แล้ว ยังนับเป็นการเปิดตัว 3 ขุนพลของพรรค การเมืองนี้ ที่พร้อมแล้วจะลงสนามการเมือง ท้องถิ่นไปในตัวด้วย

ทว่า ประเด็นที่หลายฝ่ายให้ความสนใจ ไม่น้อย ก็คือ เวทีนี้ปราศจากเงาร่างของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา ในซีกฝ่าย "ถาวร เสนเยม" บนเวทีปราศรัยใหญ่ เปิดตัวของพรรคคราวนี้

ถึงกระนั้น ดูเหมือนพรรคประชาธิปัตย์จะหวั่นไหวไม่น้อยกับเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่า
ถึงคราวถดถอยต้องลดระดับลงมาสู้ในสนามเล็กอันจะเห็นได้จากคำปราศรัยบนเวทีของ"นายนิพนธ์ บุญญามณี" รองเลขาธิการ พรรคประชาธิปัตย์

"มีคนพูดกันว่าพรรคประชาธิปัตย์เป็นฝ่ายค้านมานาน อดอยากปากแห้งหากินข้าง บนไม่ได้ เลยส่งคนลงมากินข้างล่าง ผมรับไม่ได้กับข้อกล่าวหานี้..."

"นายนิพนธ์ บุญญามณี" ให้เหตุผลถึง สาเหตุที่พรรคประชาธิปัตย์ลงมาสู้ในสนามเล็กว่า การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น เป็นหัว ใจของพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอุดมการณ์ของ พรรค มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498

ประเด็นที่ควรให้ความสนใจและจดจำไว้เป็นอย่างยิ่ง ที่หลุดออมาจากปาก “นายนิพนธ์ บุญญามณี” คือ หากพรรคประชาธิ ปัตย์ได้เป็นรัฐบาล จะให้เงินให้งบประมาณพัฒนาท้องถิ่น 35% ของรายได้ที่จัดเก็บได้

ทว่า ในข้อเท็จจริงแล้ว การพาเหรดถอย หลังกลับมาเล่นสนามเล็กของพรรคประชาธิ ปัตย์เที่ยวนี้ ดูเหมือนมีเหตุผลทางการเมืองอื่นๆ อยู่ข้างหลังด้วย

อันเห็นได้จากคำปราศรัยที่หลุดออกมา จากปากของ"นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร"
ผู้สลัดตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มาลง สมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกองค์การบริหารจังหวัดพัทลุง

"เราส่งผู้สมัครลงในนามพรรคหลายภาค ไม่ใช่เฉพาะภาคมใต้เท่านั้น การส่งผู้สมัครระดับท้องถิ่นครั้งนี้ เป็นเพราะพรรคจะได้ไม่มีความกังวลในการทำการเมืองในอนาคต เพราะสามารถขยายฐานเสียงได้มากขึ้น โดยเฉพาะในภาคอีสาน"

สอดรับกับคำบอกเล่าของ “นายไพร พัฒโน” บนเวทีปราศรัยในวันนั้นว่า เมื่อคราวตัดสินใจลงสมัครชิงตำแหน่ง นายกเทศ มนตรีนครหาดใหญ่ ผู้ใหญ่ในพรรคมีทั้งเห็น ด้วยและไม่เห็นด้วย

"หลายคนถามว่าทำไมผมถึงคิดที่จะลงสมัคร ผมบอกว่าพรรคประชาธิปัตย์ของเรากำลังถูกกลุ่มคนกลุ่มใหญ่คุกคาม สมัยที่ผมเป็นสมาชิกสภาเทศบาล มีคนของทีมเก่าที่บริหารเทศบาลนครหาดใหญ่อยู่ในขณะนั้น ส่งคนลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแข่งกับพรรคประชาธิปัตย์ 2 คน คือ นายทวีชัย ทองวงศ์ กับนายทวีศักดิ์ ทวีรัตน์

"เทศบาลนครหาดใหญ่ในอดีต มีการสืบทอดอำนาจฝังรากทางการเมืองมายาว
นานกว่า 30 ปี ผมจึงบอกกับพรรคว่าต้อง การปฏิรูปเทศบาลนครหาดใหญ่ และลาออก
จากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาลงสมัครนายกเทศมนตรีนครหาดใหญ่ และ
ได้รับโอกาสให้เข้ามาพัฒนาหาดใหญ่ จนได้รับ รางวัลถึง 5 รางวัล ในเวลา 4 ปีที่ผ่านมา"

การถอยร่นมาเล่นสนามเล็กของ "พรรคประชาธิปัตยฺ" เที่ยวนี้ มิได้มีเป้าหมายเพียงแค่สนับสนุนการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นเท่านั้น

ทว่า นี่คือการพลิกเกมเล่น เพื่อวางราก ปักฐาน ให้กับการเมืองสนามใหญ่ ที่บัดนี้ถูกยึดครองด้วยกลุ่มทุนขนาดยักษ์ อันยากยิ่งนักที่พรรคประชาธิปัตย์ จะต่อสู้ด้วยกลยุทธิ์เดิมๆ ได้อีกต่อไป

โดย Focus Team  เมื่อวันที่ 10 มี.ค. 2551 00:12:57 น.
 
 
 
 


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 11-03-2008, 18:04


เห็นภาพแล้วชอบขอเอาดื้อๆนะจ๊ะคนดี :slime_sentimental:


(http://img20.imageshack.us/img20/9606/94855395dk3.jpg)


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 11-03-2008, 18:15
 :slime_doubt:

อ้างถึง
(http://img441.imageshack.us/img441/6280/412156523mt3.jpg)


หัวข้อ: ตรวจแถวส.ว.ปักษ์ใต้เส้นสายการเมืองตบเท้าเข้าสภา
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 12-03-2008, 16:49

http://www.focuspaktai.com/index.php?file=news&obj=news.view(id=10241)&PHPSESSID=c0253ede1521f908e5f828c268d4c627
ตรวจแถวส.ว.ปักษ์ใต้เส้นสายการเมืองตบเท้าเข้าสภา
   
 
 ไม่ว่าเจตนารมณ์ของ"รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550" จะพยายามป้องกันนักการเมืองระดับชาติ ไม่ให้เข้า มาครอบงำสมาชิกวุฒิสภา ถึงขั้นมีบทลงโทษ ให้ยุบพรรค การเมืองก็ตาม

ทว่า ข้อเท็จจริงจากผลการเลือกตั้งสมาชิก วุฒิสภา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2551 กลับยืนยันอย่างดีว่า การที่จะให้การเลือกตั้งวุฒิสภา พ้นไป จากกลิ่นอายพรรคการเมืองนั้น
เป็นไปได้ยากยิ่ง

เมื่อไล่สายตาผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาทั้ง 14 จังหวัดภาคใต้ ก็จะพบว่าผู้ได้รับเลือกตั้งหลายต่อหลายพื้นที่ ล้วนมีคราบไคลทาง การเมืองในระบบพรรคทาบทาอย่างเห็นได้ชัด

ไล่กันมาตั้งแต่ พล.ต.กลชัย สุวรรณบูรณ์ สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดชุมพร ก็เป็นที่รับรู้กันอย่างกว้างขวางว่า มีเงาร่างของนายชุมพล จุลใส สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร
พรรคประชาธิปัตย์ ทาบอยู่ข้างหลัง

เช่นเดียวกับ พล.ต.ท.มาโนช ไกรวงศ์ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสุราษฎร์ธานี ก็เป็นเพื่อนรักของนายบัญญัติ บรรทัดฐาน อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์

ขณะที่ นายมานพ น้อยวานิช สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดพังงา ก็เกี่ยวพันฉันญาติอยู่กับ นางอัญชลี วาณิช เทพบุตร นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต ผู้มีอดีตเป็นสมาชิกสภา
ผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ตหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์คนปัจจุบัน ในสมัยเกิดกรณีอื้อฉาว สปก. 4- 01 ที่พันมาถึงคนในตระกูลเทพบุตรด้วย

ไม่เว้นแม้สมาชิกวุฒิสภาฟอร์มสด แห่งจังหวัดนครศรีธรรมราช นายสิริวัฒน์ ไกรสินธุ์ ที่เข้าสู่แวดวงธุรกิจ ด้วยการซับ งานต่อจากกลุ่มชินวัตร โดยการชักนำของนายสุธรรม แสงประทุม ตั้งแต่อยู่ร่วมพรรคพลังธรรมกับพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

กระทั่ง นายเจริญ ภักดีวานิช สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดพัทลุง ผู้กว้างขวางแห่งวงการครู ก็เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัด พัทลุง พรรคชาติไทย  ที่กลับเข้ารับราชการหลังสิ้นสมัยผู้แทนราษฎร ภายใต้การดูแลของพรรคชาติไทย กระทั่งเติบโต เป็นรอง
อธิบดีกรมสามัญศึกษาและเกษียณอายุราชการในตำแหน่ง รองเลขาธิการการอาชีวะศึกษา

ขณะเดียวกันคู่แข่งอย่าง นางนาที รัชกิจประการ ก็เป็นที่รับรู้กันว่า ใกล้ชิดกับนายเนวิน
ชิดชอบ สมัยเป็นรมต.ช่วยว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ยุคพรรคไทยรักไทยเรืองอำนาจ

ว่ากันว่า นี่คือมือจ่ายตัวจริงของพรรคไทยรักไทย จังหวัดสตูลและจังหวัดพัทลุง คราวเลือกตั้งผู้แทนราษฎรปี 2548 ที่นายเนวิน ชิดชอบ รับผิดชอบ 2 จังหวัดนี้

เช่นดียวกับนายวิเชียร คันฉ่อง สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดตรัง ก็เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์ จังหวัดตรัง หลายสมัย เคยเป็นถึงเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายสัมพันธ ์ทองสมัคร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย จังหวัดนครศรีธรรมราชตลอดกาล

ไม่แตกต่างกับจังหวัดอื่นๆ มากนัก สำหรับจังหวัดภูเก็ต ที่ได้นางธันยรัศม์ อัจฉริยะ
ฉาย ผู้ประกอบการธุรกิจด้านโรงแรม และการท่องเที่ยว เป็นสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดระนองที่มี นายพรพจน์ กังวาล ได้รับเลือกตั้ง นายภิญโญ สายนุ้ย ที่ได้รับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดกระบี่ ดร.ประเสริฐ ชิตพงษ์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสงชลา และนายสุริยา ปันจอร์ ที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสตูล

ด้วยเพราะบรรดาผู้สมัครรับเลือกตั้งสมา- ชิกวุฒิสภาในจังหวัดเหล่านี้ ต่างก็วิ่งเข้าหาฐานเสียงของพรรคประชาธิปัตย์กันชนิดจ้าละหวั่น  

3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ก็เหมือนกับพื้นที่อื่น เนื่องเพราะมีข่าวเล่าลือถึงความพยายามของกลุ่มวาดะห์สายนายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ที่จะเข้าไปมีบทบาทสนับสนุนผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งบางคน

ไม่ว่าจะเป็น ดร.วรวิทย์ บารู สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดปัตตานี อดีตรองอธิการบดี หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี หรือนายมูหามะรอสดี บอตอ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดนราธิวาส ผู้บริหารโรงเรียนดารุสลาม ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ น้องชายนายฟัครูดีน บอตอ อดีตสมาชิกวุฒิสภา สมัยปี 2543 ที่ได้ชื่อว่าใกล้ชิดกับนักการเมืองกลุ่มวาดะห์อยู่ไม่น้อย

มิพักต้องพูดถึง นายต่วนอับดุลเล๊าะ ดาโอ๊ะมารียอ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดยะลา อดีตผู้อำนวยการศูนย์การศึกษา นอกโรงเรียนอำเภอรามัน จังหวัดยะลา ที่เป็นญาติสายตรงกับนายวันมูหะมัดนอร์ มะทา

นี่คือ ภาพรวมสมาชิกวุฒิสภา 14 จังหวัดภาคใต้ ที่มิอาจเลี่ยงพ้นกลิ่นอายการเมืองระ
บบพรรค ดั่งที่ผู้ร่างรัฐ ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ตั้ง เจตนารมณ์ป้องกันเอาไว้

โดย Focus Team  เมื่อวันที่ 10 มี.ค. 2551 00:19:57 น.
 
 
 
 


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 16-03-2008, 21:41


ดัชนีชี้วัดที่สำคัญคือ การแก้ปัญหาและการพัฒนาในท้องถิ่นที่สส.ได้รับเลือกตั้งครับ :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 19-03-2008, 02:36


ใหม่ปชป.อย่าโกรธ...ขอโทษ "สมองคิดได้เท่ากันเลย" &laquo; 1 2 &raquo;  CanCan  76  786

http://forum.serithai.net/index.php?topic=23387.0


หัวข้อ: บัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ปี 2551
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 22-03-2008, 03:48


บัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ปี 2551

http://www.nccc.go.th/asset/gov080320/gov1.html


หัวข้อ: Re: บัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ปี 2551
เริ่มหัวข้อโดย: เล่าปี๋ ที่ 22-03-2008, 04:59

บัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ปี 2551

http://www.nccc.go.th/asset/gov080320/gov1.html



ขอขอบคุณพี่คิว  จขกท. นี้เป็นอย่างยิ่งครับ

ที่นำเอาข้อมูลที่น่าอยากทราบ  มาลงให้ได้ความรู้ครับ

ขอเชียร์และให้กำลังใจ  เสาะหาและนำมาโพสต์อีกนะครับ..
:slime_v: :slime_v:





หัวข้อ: Re: บัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ปี 2551
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 22-03-2008, 05:07


ขอขอบคุณพี่คิว  จขกท. นี้เป็นอย่างยิ่งครับ

ที่นำเอาข้อมูลที่น่าอยากทราบ  มาลงให้ได้ความรู้ครับ

ขอเชียร์และให้กำลังใจ  เสาะหาและนำมาโพสต์อีกนะครับ..
:slime_v: :slime_v:





ครับ ใครมีหลักฐานการทุจริต ของสส.รายตัวเทียบกับทรัพน์สินที่แจ้งปปช. เอามาโพสต์ได้นะครับ..


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 26-03-2008, 05:49


ตรวจสอบทรัพย์สินของรัฐบาลเงา ก่อนและหลังเข้ารับตำแหน่ง

อาจจะได้เห็นอะไรดีๆ โดยเฉพาะเงินสดหรือการเดินบัญชีใช้จ่ายส่วนตัว

แล้วก็ผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่นต่างๆ..

เรื่องรุกที่สาธารณะ ก็น่าสนใจครับ หลายจังหวัด ผู้ว่าฯคงจะเริ่มดำเนินการได้ :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: ********Q******** ที่ 29-03-2008, 02:45


ฝ่ายค้าน อยากเป็นรัฐบาลเงา แต่รัฐบาลไม่อยากเป็นฝ่ายค้านเงา

สรุปว่าไม่มีใครทำหน้าที่ฝ่ายค้าน มีแต่พวกอยากเป็นรัฐบาล


ผมถึงได้ว่า เมืองไทยไม่ต้องการฝ่ายค้าน เอาเงินตรงนี้ไปหนุนองค์กรอิสระยังดีกว่า :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: 999 ที่ 15-05-2008, 19:23


ล่าสุดกรมที่ดิน ทำงานติดตามที่ดินคืนให้กับประเทศได้ทั่วประเทศพอสมควร

ก็ฝากถึงอบจ.อบต.ทั่วประเทศทำงานแข่งกัน สร้างผลงานให้ท้องถิ่นสว่าง สะอาด สงบ สดชื่นนะครับ

ขอเป็นกำลังใจให้ครับ


หมายเหตุ ความเห็นส่วนตัว ผมว่าสมาชิกปชป.แค่อยู่เฉยๆประเทศก็เจริญแล้วล่ะครับ

ถ้าว่างมากก็ชวน พวกดาวสยามออนไลน์ ไปเข้าวัด ทำวิปัสสนา รักษาศีลห้า ศีลแปด ตามความเชื่อ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีค
เริ่มหัวข้อโดย: 999 ที่ 15-05-2008, 23:48


ไม่ปิดกระทู้แล้วกันนะครับ เผื่อจะมีผลงานเข้าตากรรมการ นำมาโพสต์กันได้..

ผมจะได้เอามาโพสต์ต่อ..  :slime_smile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: นายเกตุ ที่ 16-05-2008, 00:16
แต่มิได้นำพา


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: 999 ที่ 16-05-2008, 14:43

ไม่ปิดกระทู้แล้วกันนะครับ เผื่อจะมีผลงานเข้าตากรรมการ นำมาโพสต์กันได้..

ผมจะได้เอามาโพสต์ต่อ..  :slime_smile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: 999 ที่ 17-05-2008, 23:50

ล่าสุดกรมที่ดิน ทำงานติดตามที่ดินคืนให้กับประเทศได้ทั่วประเทศพอสมควร

ก็ฝากถึงอบจ.อบต.ทั่วประเทศทำงานแข่งกัน สร้างผลงานให้ท้องถิ่นสว่าง สะอาด สงบ สดชื่นนะครับ

ขอเป็นกำลังใจให้ครับ


หมายเหตุ ความเห็นส่วนตัว ผมว่าสมาชิกปชป.แค่อยู่เฉยๆประเทศก็เจริญแล้วล่ะครับ

ถ้าว่างมากก็ชวน พวกดาวสยามออนไลน์ ไปเข้าวัด ทำวิปัสสนา รักษาศีลห้า ศีลแปด ตามความเชื่อ


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: 999 ที่ 19-05-2008, 22:15


เอาใจช่วยให้แมงโก้ ถอดสำเร็จนะจ๊ะ

ถอดใครได้บ้างจะรีบมารายงาน....

กระทู้มันจะตกหน้าอีกแล้ว

ผลงานยังไม่มีเลย ..   :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: 999 ที่ 21-05-2008, 18:24


เอ้าเปลี่ยนเรื่องมา โจมตีการขอประชามติอีกแล้ว

พรรคนี้ มันกลับกลอก ไม้ล่ะพี่น้อง พอจนแต้มก็บอกข้อมูลใหม่


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: 999 ที่ 22-05-2008, 00:52



ก็อยากให้ทีมงานอยู่เป็นฝ่ายเงานานๆ รวมทั้งเด็กๆรุ่นใหม่ในพรรคด้วย

เมืองไทยจะได้เจริญเสียที เพราะขนาดคนท้องถิ่นยังรู้ไส้กันหมดแล้ว

ผมก็ได้แต่รอเอาใจช่วย รอดูผลงานครับ แต่อย่าไปหวังอะไรมากมายเกินความสามารถ

มีแต่เสียใจเปล่าๆ   :slime_smile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: 999 ที่ 22-05-2008, 16:17

เห็นภาพแล้วชอบขอเอาดื้อๆนะจ๊ะคนดี :slime_sentimental:


(http://img20.imageshack.us/img20/9606/94855395dk3.jpg)


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: 999 ที่ 22-05-2008, 16:43
 :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile:

อ้างถึง
(http://img441.imageshack.us/img441/6280/412156523mt3.jpg)


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: 999 ที่ 23-05-2008, 20:09
 :slime_cool:

ปชป. ไม่เห็นผลักดันเรื่องเรียนฟรีเลย รัฐบาลเงาเสนอนายกฯตัวจริงสิครับ..

ระวังประชาชนจะเบื่อปชป.จนกู่ไม่กลับนะครับ คนใต้เกลียดนี่เกลียดแรง


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: 999 ที่ 25-05-2008, 13:56


สนามการเมืองภาคใต้ จะเป็นสนามที่ปิดตำนานพรรคเก่าแก่ในประเทศไทย

แต่จะอย่างไรนั้น เป็นเรื่องของการต่อสู้ทางการเมืองระดับนโยบายแข่งขัน

ไม่ใช่เรื่องที่ชาวบ้านทั่วไปจะต้องกังวล ปล่อยให้การเมืองทำงานของมันไป   :slime_smile:


หัวข้อ: Re: ร้อยหกสิบกว่าเสียงของปชป.ในสภาผู้แทนล่าสุด กับพรรคหกสิบกว่าปี ทำอะไรต่อไปดีครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: 999 ที่ 26-05-2008, 18:00


นักการเมืองพรรคประชาธิปัตย์ จะไปร่วมชุมนุมกีดขวางการสัญจรบนท้องถนนหรือไม่ครับ?

ฝากสื่อไปสอบถามให้ชัดเจนด้วย?  :slime_fighto: