ขบวนการเสรีไทยเว็บบอร์ด (รุ่นแรก)

ทั่วไป => สภากาแฟ => ข้อความที่เริ่มโดย: snowflake ที่ 09-09-2007, 00:48



หัวข้อ: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: snowflake ที่ 09-09-2007, 00:48
รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด?

คอลัมน์ สถานีคิดเลขที่ 12
โดย ประสงค์ วิสุทธิ์ prasong_lert@yahoo.com
...
บทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550  ที่มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า มีการเขียนเปิด
ช่องให้นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีรัฐบาลชุดปัจจุบันสามารถมีผลประโยชน์ทับซ้อน
ได้  เช่น แสวงหาผลประโยชน์สัมปทานของรัฐ รวมถึงช่วยเหลือให้รัฐมนตรีบางคน
พ้นผิดจาก พ.ร.บ.การจัดการหุ้นส่วนและหุ้นของรัฐมนตรี พ.ศ. 2543

บทเฉพาะกาลดังกล่าวอยู่ในมาตรา 298 วรรคสาม ซึ่งกำหนดมิให้นำบทบัญญัติใน
รัฐธรรมนูญบางมาตรามาบังคับใช้ อาทิ บทบัญญัติเรื่องนายกรัฐมนตรีต้องมาจาก
ส.ส. และต้องได้รับความเห็นชอบจากเสียง ส.ส. ในสภาไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ก็เพื่อ
ให้การบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลชุดนี้มีความต่อเนื่องจนกว่าจะมีรัฐบาลใหม่
มาจากการเลือกตั้ง

แต่ปรากฏว่า มีการพ่วงเรื่องมิให้นำบทบัญญัติตามมาตรา 267-269 ซึ่งจะมีผลทำให้
ความเป็นรัฐมนตรีต้องสิ้นสุดลงมาใช้บังคับนายกฯ และรัฐมนตรีในรัฐบาลชุดนี้ด้วย

มาตรา 267  มีสาระสำคัญ 2 ประการคือ

หนึ่ง การห้ามนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ไม่ให้รับหรือแทรกแซง หรือก้าวก่ายการ
เข้ารับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ หรือเข้าเป็น
คู่สัญญากับรัฐ ฯลฯ อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้น
ในบริษัทที่รับสัมปทานหรือเข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว

สอง ไม่รับเงินหรือผลประโยชน์ใดๆ จากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐ-
วิสาหกิจเป็นพิเศษ นอกเหนือไปจากหน่วยงานเหล่านั้นปฏิบัติต่อบุคคลอื่นๆ ในธุรกิจ
ตามปกติ

มาตรา 268  มีสาระสำคัญคือ นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ต้องไม่ใช้สถานะหรือตำแหน่ง
เข้าไปก้าวก่ายหรือแทรกแซงเพื่อประโยชน์ของตนเอง ของผู้อื่น หรือของพรรคการเมือง
ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม (เว้นแต่เป็นการกระทำตามอำนาจหน้าที่ในการบริหาร
ราชการตามนโยบายที่แถลงต่อรัฐสภาหรือตามที่กฎหมายบัญญัติ) ในเรื่องดังต่อไปนี้

หนึ่ง การปฏิบัติราชการหรือดำเนินงานในหน้าที่ประจำของข้าราชการ พนักงาน หรือ
ลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่หรือ
ราชการส่วนท้องถิ่น

สอง การบรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย โอน เลื่อนตำแหน่งและเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการ
ประจำ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการ
ที่รัฐถือหุ้นใหญ่หรือราชการส่วนท้องถิ่น

สาม การให้ข้าราชการประจำ พนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของ
รัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่หรือราชการส่วนท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่ง

มาตรา 269  มีสาระสำคัญคือ ห้ามนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี (รวมถึงภรรยาและบุตร
ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือในบริษัท เกินกว่าที่กฎหมาย
กำหนด ถ้าต้องการถือไว้ ให้โอนให้บริษัทหลักทรัพย์จัดการแทนภายใน 120 วัน นับ
แต่ได้รับการแต่งตั้ง

ทั้งนี้ ตาม พ.ร.บ.การจัดการหุ้นส่วนและหุ้นของรัฐมนตรี พ.ศ.2543 กำหนดให้นายก-
รัฐมนตรีและรัฐมนตรีถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 5 ของทุนจดทะเบียน

กรณีนี้มีข้อเท็จจริงเพิ่มเติมว่า ช่วงที่รัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์เข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 9
ตุลาคม 2549 มีรัฐมนตรีอย่างน้อย 3 ราย ถือหุ้นในบริษัทเกินร้อยละ 5  ได้แก่

ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง,

นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ถือหุ้นบริษัทตรังชัวร์
ร้อยละ 20) และ

นายสิทธิชัย โภไคยอุดม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีและการสื่อสาร (ถือหุ้น
บริษัท วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนานาชาติ 16.6%)

แต่มีเพียง ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เท่านั้น ที่โอนหุ้นให้แก่บริษัทหลักทรัพย์ไปจัดการแทน
ขณะที่นายอารีย์และนายสิทธิชัยมิได้ปฏิบัติตาม พ.ร.บ.การจัดการหุ้นส่วนและหุ้น
ของรัฐมนตรี

อย่างไรก็ตาม รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540  ซึ่งมีบทบัญญัติให้รัฐมนตรีที่ถือหุ้นเกินร้อยละ
5 ต้องสิ้นสุดความเป็นรัฐมนตรีหรือต้องพ้นจากตำแหน่ง (มาตรา 216) ถูกฉีกทิ้งใน
การรัฐประหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 ทำให้การกระทำต้องห้ามของนายอารีย์
และนายสิทธิชัย ไม่มีสภาพบังคับ

แต่การอ้างว่า เมื่อกฎหมายไม่มีสภาพบังคับ มิได้หมายความว่า สามารถฉวยโอกาส
ทำฝ่าฝืนกฎหมายได้เพราะสะท้อนให้เห็นระดับจริยธรรมของรัฐมนตรีรายดังกล่าว และ
ชี้ให้เห็นว่า นโยบายส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของรัฐบาลเป็นเรื่องจอมปลอม

แม้ในรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 มีบทบัญญัติ
จำกัดการถือหุ้นของรัฐมนตรีไว้และเข้มงวดกว่าเดิม (มาตรา 269) แต่การมีบทเฉพาะ-
กาลมิให้บังคับใช้เท่ากับเป็นการช่วยให้รัฐมนตรี 2 รายดังกล่าวพ้นผิดไปด้วย

คำถามคือ การกำหนดบทเฉพาะกาลในลักษณะดังกล่าวเป็นประโยชน์และมีความจำเป็น
ต่อการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลชุดนี้หรือไม่

คำอธิบายของผู้ที่เกี่ยวข้องใน ส.ส.ร. ล้วนแต่อ้ำอึ้งไม่ชัดเจนจนสีข้างถลอกเป็นทิวแถว

เรื่องนี้ถ้าไม่จงใจหมกเม็ดเขียนรัฐธรรมนูญอุ้มคนบางคน ก็คงเป็นเพราะมือไม่ถึง จนเกิด
การมั่วนิ่มขึ้น

มติชน วันที่ 08 กันยายน พ.ศ. 2550 ปีที่ 30 ฉบับที่ 10773

http://www.matichon.co.th/matichon/matichon_detail.php?s_tag=01col03080950&day=2007-09-08&sectionid=0116

โอ้ รธน. ฉบับ “ปิศาจคาบไปป์”
ที่บางคนหลงใหลได้ปลื้มว่าเป็นฉบับ "ดีที่สุด ตั้งแต่เคยมีมา"

ไม่เพียงแต่ยกให้ คณะรัฐประหาร อยู่เหนือกฎหมายตลอดไป
ยังหมกเม็ดนิรโทษให้ ขิงแก่ๆ เน่าๆ อีกด้วยนะ

ยอดเยี่ยมจริงๆ


:slime_agreed:


หัวข้อ: รมว. สิทธิชัย โภไคยอุดม บอก ถือหุ้นบริษัท นอกตลาดฯ ไม่จำเป็นต้องแจ้ง ปปช.
เริ่มหัวข้อโดย: snowflake ที่ 09-09-2007, 12:21
พบอีกบทเฉพาะกาล "รธน. ปี50" เอื้อ รมต. มีผลประโยชน์ทับซ้อน

ตรวจพบอีกบทเฉพาะกาลรัฐธรรมนูญปี 2550 เปิดช่องให้รัฐมนตรี
รัฐบาลสุรยุทธ์มีผลประโยชน์ทับซ้อน เป็นคู่สัญญา-ถือหุ้นในบริษัทที่รับ
สัมปทานจากรัฐได้ แถมใช้อำนาจแทรกแซงก้าวก่ายโยกย้ายข้าราชการ
ประจำ โดยไม่ต้องพ้นจากตำแหน่ง ระบุชัดห้ามนำมาบังคับใช้


... นายสิทธิชัย โภไคยอุดม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร หรือไอซีที กล่าวเมื่อวันที่ 5 กันยายน เหตุไม่แจ้งการถือครองหุ้นในบริษัท
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนานาชาติ จำกัด ร้อยละ 16.6% ต่อประธานคณะกรรม
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) หากต้องการถือหุ้นต่อไป
พร้อมกับโอนหุ้นให้บริษัทหลักทรัพย์จัดการแทน ตาม พ.ร.บ.การจัดการหุ้นส่วนและ
หุ้นของรัฐมนตรี พ.ศ.2543 ที่ห้ามถือครองหุ้นเกินกว่าร้อยละ 5 ระหว่างดำรงตำแหน่ง
ไม่เช่นนั้นต้องพ้นจากตำแหน่ง เป็นเพราะ  ที่ผ่านมาได้ศึกษาข้อมูลแล้วพบว่าการถือหุ้น
ในบริษัทจำกัด ซึ่งไม่ใช่บริษัทมหาชนจำกัดที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง
ประเทศไทย ไม่จำเป็นต้องแจ้งข้อมูลดังกล่าวต่อประธาน ป.ป.ช. และโอนหุ้นให้
บริษัทหลักทรัพย์จัดการแทนเหมือนกับกรณี ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล อดีตรองนายก-
รัฐมนตรีและอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังที่เป็นรัฐมนตรีเพียงรายเดียวในรัฐบาล
นี้ที่ได้ดำเนินการไปแล้ว ดังนั้น จึงไม่ได้ดำเนินการ แต่ตอนนี้ก็ไม่มีปัญหาแล้ว เพราะได้
มีบทเฉพาะกาล (ของรัฐธรรมนูญฉบับปี 2550) ที่ไม่ได้เอาผิด

"ที่ผ่านมาไม่ทราบจริงๆ ว่าการถือหุ้นในบริษัทจำกัดจะต้องยื่นเรื่อง หรือโอนหุ้นให้
บริษัทหลักทรัพย์ดำเนินการแทนก่อน เพราะหากทราบก็จะต้องโอนหุ้นให้ภรรยาหรือ
ลูก ไปก่อนหน้านี้แล้ว"  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงไอซีทีกล่าว

นายสิทธิชัยกล่าวว่า การถือหุ้นบริษัทวิทยาศาสตร์ฯนั้น ยืนยันว่าไม่ได้มีผลประโยชน์
ทับซ้อนกับตำแหน่งหน้าที่รัฐมนตรีกระทรวงไอซีที เพราะบริษัทดังกล่าวเป็นบริษัทที่
ถือใบอนุญาตการเปิดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ซึ่งเป็นการทำธุรกิจเกี่ยวกับ
การศึกษา ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องของการสื่อสาร จึงไม่มีส่วนไหนที่จะทับซ้อนกัน

"หากผมเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ผมเข้าข่ายมีผลประโยชน์ทับซ้อน
แน่นอน แต่นี่ผมเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงไอซีที จึงไม่มีอะไรที่เกี่ยวข้องกัน เพราะ
บริษัทไม่ได้ทำธุรกิจที่เกี่ยวกับเรื่องของการสื่อสารโทรคมนาคม" นายสิทธิชัยกล่าว

มติชน วันที่ 06 กันยายน พ.ศ. 2550 ปีที่ 30 ฉบับที่ 10771

http://www.matichon.co.th/matichon/matichon_detail.php?s_tag=01p0110060950&day=2007-09-06&sectionid=0101

หุ้นนอกตลาด ไม่ต้องแจ้ง
แถมไม่ทับซ้อน เพราะไม่ใช่กระทรวงที่เป็น รมว.

ทั้งฉลาดและจริยธรรมสูงส่ง
จริงๆ เลยเนอะ


 :slime_sentimental:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 09-09-2007, 13:39
มี แถ ระดับรัฐมนตรีด้วย  :slime_bigsmile:

สมัยก่อนมีไอ้กร๊วกตัวหนึ่งหากินกะทหารจนรวย
พอได้ดิบได้ดี ดันลืมตักน้ำใส่กะโหลกชะโงกดูเงา
หัวล้านของตัวเอง เที่ยวไปว่าคนอื่นไม่มีจริยธรรม
ไอ้ที่เมื่อก่อนมันทำก็ไม่ได้ต่างเล้ย ถุย


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 09-09-2007, 13:46
คุณสโนว์เฟลคกับผมคงพอจะจำได้ว่า พวกขิงแก่ เป็นข้าราชการเก่าที่เกษียณไปแล้ว กลับมาเป็นรวมกันเป็นรัฐบาลรักษาการที่แต่งตั้งจากคณะปฏิวัติ เพืีอมาบริหารบ้านเมืองเป็นเวลาชั่วคราว โดยมาจากรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2549
ไม่ทราบว่าพวกนี้มันทำผิดอะไรเหรอ


และตอนนี้พวกขิงแก่ก็กำลังเดินหน้าอย่างเต็มที่ เพื่อจัดการเลือกตั้ง และจะได้ไป ให้พ้นๆ ไม่ดีเหรอ?

เรากลับไปดูสมัยที่บ้านเมืองเรายังมีรัฐธรรมนูญฉบับที่อ้างว่าเป็นของประชาชนมั้ย ?

ในปี 2542 ก่อนที่พ.ต.ท.ทักษิณ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แอมเพิลริชได้เปิดบัญชีหลักทรัพย์ไว้กับ บล.ยูบีเอส โดยมีชื่อ พ.ต.ท.ทักษิณ เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม แต่หลังจากที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ขายหุ้นแอมเพิลริช ให้นายพานทองแท้ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2543 แล้ว ในช่วงปี 2543-2548 ไม่พบว่าได้มีการแจ้งเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิลริช ที่เปิดไว้กับ บล.ยูบีเอส แต่อย่างใด

จนกระทั่งปี 2549 ในช่วงที่มีการขายหุ้นให้กับกองทุนเทมาเส็ก จึงค่อยเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีดังกล่าวเป็นนายพานทองแท้ และ น.ส.พิณทองทา

การที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ยังคงถือไว้ซึ่งหุ้นธุรกิจสัมปทานของชิน คอร์ป ตั้งแต่เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ซึ่งเข้าข่ายการปกปิดบัญชีทรัพย์สินหนี้สิน หรือซุกหุ้นภาค 2

ผิด พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตพ.ศ.2542 มั้ย คุณสโนว์เฟลค


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: RiDKuN ที่ 09-09-2007, 13:55
มี แถ ระดับรัฐมนตรีด้วย  :slime_bigsmile:

สมัยก่อนมีไอ้กร๊วกตัวหนึ่งหากินกะทหารจนรวย
พอได้ดิบได้ดี ดันลืมตักน้ำใส่กะโหลกชะโงกดูเงา
หัวล้านของตัวเอง เที่ยวไปว่าคนอื่นไม่มีจริยธรรม
ไอ้ที่เมื่อก่อนมันทำก็ไม่ได้ต่างเล้ย ถุย

หมายถึงคนนี้เปล่าครับ
(http://forum.serithai.net/index.php?action=dlattach;topic=16796.0;attach=4537;image)


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 09-09-2007, 14:04
^
^
เหอ เหอ ภาพซ้ำซาก ภาพเดียวแปะทุกงาน
ไม่ใช่คนนี้หรอกนะ เพราะคนนี้หัวไม่ล้าน ก๊ากกกก :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 09-09-2007, 14:17
ในปี 2542 ก่อนที่พ.ต.ท.ทักษิณ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แอมเพิลริชได้เปิดบัญชีหลักทรัพย์ไว้กับ บล.ยูบีเอส โดยมีชื่อ พ.ต.ท.ทักษิณ เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม แต่หลังจากที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ขายหุ้นแอมเพิลริช ให้นายพานทองแท้ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2543 แล้ว ในช่วงปี 2543-2548 ไม่พบว่าได้มีการแจ้งเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิลริช ที่เปิดไว้กับ บล.ยูบีเอส แต่อย่างใด

จนกระทั่งปี 2549 ในช่วงที่มีการขายหุ้นให้กับกองทุนเทมาเส็ก จึงค่อยเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีดังกล่าวเป็นนายพานทองแท้ และ น.ส.พิณทองทา

การที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ยังคงถือไว้ซึ่งหุ้นธุรกิจสัมปทานของชิน คอร์ป ตั้งแต่เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ซึ่งเข้าข่ายการปกปิดบัญชีทรัพย์สินหนี้สิน หรือซุกหุ้นภาค 2

ผิด พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตพ.ศ.2542 มั้ย คุณสโนว์เฟลค

บล.ยูบีเอส เป็นหน่วยงานราชการที่ต้องแจ้งด้วยหรือนั่น เพิ่งรู้นะเนี่ย :slime_bigsmile:
กระทู้คุยเรื่องปัจจุบันไอ้พวกบ้าก็พาย้อนอดีตอยู่นั่น รับไม่ได้เหรอว่า
พวกจริยธรรมดัดจริต จริงๆ แล้วสิ่งที่มันทำก็ไม่ได้ต่างจากที่มันไปด่า
ทักษิณเลย ข้อแก้ตัวที่เป็นเหตุผลไม่มีซักคน มีแต่ยกเรื่องในอดีตขึ้น
มาทั้งนั้น ทำเป็นว่าทักษิณทำได้พวกนี้ก็ทำได้ จริยธรรมจอมปลอมนี่
หว่า โถ เป็นเว็บบอร์ดฝักใฝ่เผด็จการแบบไร้เหตุผลติดอันดับทีเดียว :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 09-09-2007, 14:22
คุณสโนว์เฟลคกับผมคงพอจะจำได้ว่า พวกขิงแก่ เป็นข้าราชการเก่าที่เกษียณไปแล้ว กลับมาเป็นรวมกันเป็นรัฐบาลรักษาการที่แต่งตั้งจากคณะปฏิวัติ เพืีอมาบริหารบ้านเมืองเป็นเวลาชั่วคราว โดยมาจากรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2549
ไม่ทราบว่าพวกนี้มันทำผิดอะไรเหรอ


และตอนนี้พวกขิงแก่ก็กำลังเดินหน้าอย่างเต็มที่ เพื่อจัดการเลือกตั้ง และจะได้ไป ให้พ้นๆ ไม่ดีเหรอ?

เรากลับไปดูสมัยที่บ้านเมืองเรายังมีรัฐธรรมนูญฉบับที่อ้างว่าเป็นของประชาชนมั้ย ?

ในปี 2542 ก่อนที่พ.ต.ท.ทักษิณ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แอมเพิลริชได้เปิดบัญชีหลักทรัพย์ไว้กับ บล.ยูบีเอส โดยมีชื่อ พ.ต.ท.ทักษิณ เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม แต่หลังจากที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ขายหุ้นแอมเพิลริช ให้นายพานทองแท้ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2543 แล้ว ในช่วงปี 2543-2548 ไม่พบว่าได้มีการแจ้งเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิลริช ที่เปิดไว้กับ บล.ยูบีเอส แต่อย่างใด

จนกระทั่งปี 2549 ในช่วงที่มีการขายหุ้นให้กับกองทุนเทมาเส็ก จึงค่อยเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีดังกล่าวเป็นนายพานทองแท้ และ น.ส.พิณทองทา

การที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ยังคงถือไว้ซึ่งหุ้นธุรกิจสัมปทานของชิน คอร์ป ตั้งแต่เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ซึ่งเข้าข่ายการปกปิดบัญชีทรัพย์สินหนี้สิน หรือซุกหุ้นภาค 2

ผิด พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตพ.ศ.2542 มั้ย คุณสโนว์เฟลค


ก.ล.ต.เปิดผลสอบ "แอมเพิล ริช" "ชินวัตร" บกพร่องโดยสุจริต

(1) ตรวจสอบเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์ฯ เท่านั้น ก.ล.ต. มิได้ตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายอื่น ๆ ซึ่ง ก.ล.ต ไม่มีอำนาจหรือหน้าที่

(2) ยึดถือความเป็นกลางอย่างเคร่งครัด โดยมีตัวอย่างในอดีตเปรียบเทียบได้ชัดเจน วัตถุประสงค์เพื่อให้มีการปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายหลักทรัพย์ แต่ในขณะเดียวกันก็ให้ความเป็นธรรมแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

ผลการตรวจสอบของ ก.ล.ต.

1. การซื้อขายหุ้น SHIN ของนายพานทองแท้ ชินวัตร จากการพิจารณาข้อเท็จจริงและเอกสารหลักฐานประกอบคำชี้แจงของนายพานทองแท้ และเอกสารจาก Ample Rich Investments LTD. (“Ample Rich”) ซึ่งได้รับการรับรองสำเนาเอกสารโดยผู้มีอำนาจยืนยันข้อมูล (notary public) (ก.ล.ต. ได้ร้องขอให้มีการ legalize เอกสารดังกล่าวจากสถานทูตไทยหรือสถานกงสุลไทยเพื่อให้แน่ใจว่าเอกสารดังกล่าวเชื่อถือได้จริงด้วย)

สรุปได้ว่านายพานทองแท้ มีการกระทำผิดเข้าข่ายฝ่าฝืนมาตรา 246 และ 247 รวม 3 กรณี

กรณีที่ 1 ผิดมาตรา 246 เนื่องจากในการรายงานการได้หุ้น SHIN 24.99% เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2543 ไม่ระบุข้อมูลการถือหุ้น SHIN ของ Ample Rich ซึ่งเป็นบุคคลตามมาตรา 258 ของตน

กรณีที่ 2 ผิดมาตรา 247 เนื่องจากการได้หุ้น SHIN 24.99% เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2543 เมื่อรวมกับการถือหุ้นผ่านบุคคลตามมาตรา 258 (Ample Rich) แล้ว ทำให้ถือหุ้น SHIN ข้าม 25% แต่ไม่ได้ทำคำเสนอซื้อ

กรณีที่ 3 ผิดมาตรา 246 เนื่องจากในรายงานการขายหุ้น SHIN ให้ น.ส. พิณทองทา ชินวัตร เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2545 ไม่ระบุข้อมูลการถือหุ้น SHIN ของ Ample RICH ซึ่งเป็นบุคคลตามมาตรา 258 ของตน

2.การซื้อขายหุ้น SHIN ของ น.ส.พิณทองทา ชินวัตร

จากการพิจารณาข้อเท็จจริงและเอกสารหลักฐานประกอบคำชี้แจงของ น.ส.พิณทองทา และเอกสารจาก Ample Rich ซึ่งได้รับการรับรองสำเนาเอกสาร โดยผู้มีอำนาจยืนยันข้อมูล (notary public) (ก.ล.ต. ได้ร้องขอให้มีการ legalize เอกสารดังกล่าวจากสถานทูตไทยหรือสถานกงสุลไทยเพื่อให้แน่ใจว่าเอกสารดังกล่าวเชื่อถือได้จริงด้วย) สรุปได้ว่า การซื้อขายหุ้น SHIN ของ น.ส.พิณทองทา ไม่พบการกระทำผิดมาตรา 246 และ 247 แต่อย่างใด

3.การถือหุ้น SHIN ของ AMPLE RICH

3.1 จากการพิจารณาข้อเท็จจริงและเอกสารประกอบคำชี้แจงจากบุคคลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ Ample Rich บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด (“TSD”) และ custodian/broker ที่เกี่ยวข้องรวม 4 ราย คือ Vickers Ballas -Singapore (“VKB”) UBS AG-Singapore บล.ดีบีเอส วิคเคอร์ส จำกัด (เดิมคือ บล.นววิคเคอร์ส บัลลาส (ประเทศไทย) จำกัด) และบล.กสิกรไทย จำกัด (มหาชน) (เดิมคือ บล.แอสเซท พลัส จำกัด (มหาชน)) สรุปได้ว่า

(1) Ample Rich ที่ถือหุ้น SHIN จำนวน 32.92 ล้านหุ้น จดทะเบียนจัดตั้งที่ประเทศ British Virgin Islands โดยมีสัญชาติ British Virgin Islands สถานที่ตั้งมีแห่งเดียวคือ Matheson Trust Company (BVI) Limited P.O. Box 3151, Road Town, Tortola, British Virgin Islands

แต่ในช่วงที่มีการโอนหุ้นไปฝาก custodian/broker ซึ่งได้แก่ บล.แอสเซท พลัส VKB และ UBS AG-Singapore นั้น Ample Rich ได้แจ้งสถานที่ติดต่อของบริษัท (correspondence address / mailing address) ไว้ 2 แห่ง คือ 185A Goldhill Centre, 51 Thomson Road, Singapore 307629 และ 57 UBI Avenue 1 #07-03 , Singapore 408936 นอกจากนี้ ยังพบว่าในการยื่นแบบ 246-2 เมื่อปี 2542 และเอกสารที่ Ample Rich ส่งให้ ก.ล.ต. ในปี 2543 ก็ปรากฏสถานที่ติดต่อทั้งสองแห่งนี้ของ Ample Rich เช่นกัน

(2) สำหรับกรณีที่มีการปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของ SHIN ในปี 2544 และปรากฏผู้ถือหุ้น ราย Ample Rich โดยระบุสัญชาติ English นั้น พบว่ามาจากหุ้นในส่วนที่ฝากไว้กับ บล.นววิคเคอร์สฯ ซึ่งเมื่อตรวจสอบเอกสารและหลักฐานการเปิดบัญชีของ Ample Rich กับ บล.นววิคเคอร์สฯ พบว่า Ample Rich ได้แจ้งสัญชาติไว้ว่าเป็น British Virgin Islands ตั้งแต่ต้น ไม่เคยแจ้งสัญชาติ English แต่อย่างใด ผู้ที่ระบุว่า Ample Rich มีสัญชาติ English คือ บล.นววิคเคอร์สฯ ที่แจ้งต่อ TSD

(3) ก.ล.ต. ได้รับหนังสือรับรองลงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2549 ของ The Registrar of Companies for England and Wales ซึ่งยืนยันว่าจากการค้นข้อมูลย้อนหลังไป 20 ปี ไม่พบว่ามีการจดทะเบียนบริษัทในอังกฤษและเวลส์ภายใต้ชื่อ Ample Rich Investments LTD. แต่อย่างใด

(4) ตั้งแต่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ขายหุ้น SHIN จำนวน 32.92 ล้านหุ้นให้ Ample Rich เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2542 หุ้นจำนวนดังกล่าวได้อยู่กับ บล.แอสเซท พลัส โดยหลังจากนั้นได้แบ่งหุ้นจำนวนนี้ออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้

* 22.92 ล้านหุ้นยังคงอยู่กับ บล.แอสเซท พลัส จนถึงวันที่ 28 พฤษภาคม 2547 ได้โอนหุ้นจำนวนนี้ไปฝากไว้ที่ UBS AG-Singapore

* 10 ล้านหุ้นโอนออกจาก บล.แอสเซท พลัส ไปฝากไว้กับ VKB ตั้งแต่วันที่ 13 เมษายน 2543 และต่อมาวันที่ 4 สิงหาคม 2543 ได้โอนไปฝากไว้ที่ บล.นววิคเคอร์สฯ และเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2544 ได้โอนต่อทั้งจำนวนไปฝากไว้ที่ UBS AG-Singapore

ทั้งนี้ custodian/broker ทั้ง 4 ราย คือ บล.แอสเซท พลัส VKB บล.นววิคเคอร์สฯ และ UBS AG-Singapore มีหนังสือยืนยันว่า หุ้น SHIN ที่ Ample Rich ฝากไว้ไม่เคยมีการซื้อขาย แต่จากการเปลี่ยนแปลง custodian/broker ดังกล่าวข้างต้น ประกอบกับวิธีปฏิบัติของ custodian/broker แต่ละรายในการแจ้งรายชื่อผู้ถือหุ้น SHIN ไปยัง TSD พบว่ามีวิธีปฏิบัติที่แตกต่างกัน เช่น บางรายแจ้งเป็นชื่อลูกค้า บางรายแจ้งเป็นชื่อ custodian/broker จึงอาจส่งผลให้รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ปรากฏในทะเบียนผู้ถือหุ้นของ SHIN มีการเปลี่ยนแปลงได้

3.2 โดยสรุป Ample Rich มีเพียงบริษัทเดียวและไม่เคยมีการเปลี่ยนแปลงจำนวนหุ้นที่ถืออยู่ จึงไม่พบว่ามีการกระทำผิดมาตรา 246 และ 247 แต่อย่างใด  



หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ScaRECroW ที่ 09-09-2007, 14:24
คุณสโนว์เฟลคกับผมคงพอจะจำได้ว่า พวกขิงแก่ เป็นข้าราชการเก่าที่เกษียณไปแล้ว กลับมาเป็นรวมกันเป็นรัฐบาลรักษาการที่แต่งตั้งจากคณะปฏิวัติ เพืีอมาบริหารบ้านเมืองเป็นเวลาชั่วคราว โดยมาจากรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2549
ไม่ทราบว่าพวกนี้มันทำผิดอะไรเหรอ


และตอนนี้พวกขิงแก่ก็กำลังเดินหน้าอย่างเต็มที่ เพื่อจัดการเลือกตั้ง และจะได้ไป ให้พ้นๆ ไม่ดีเหรอ?

เรากลับไปดูสมัยที่บ้านเมืองเรายังมีรัฐธรรมนูญฉบับที่อ้างว่าเป็นของประชาชนมั้ย ?

ในปี 2542 ก่อนที่พ.ต.ท.ทักษิณ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แอมเพิลริชได้เปิดบัญชีหลักทรัพย์ไว้กับ บล.ยูบีเอส โดยมีชื่อ พ.ต.ท.ทักษิณ เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม แต่หลังจากที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ขายหุ้นแอมเพิลริช ให้นายพานทองแท้ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2543 แล้ว ในช่วงปี 2543-2548 ไม่พบว่าได้มีการแจ้งเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิลริช ที่เปิดไว้กับ บล.ยูบีเอส แต่อย่างใด

จนกระทั่งปี 2549 ในช่วงที่มีการขายหุ้นให้กับกองทุนเทมาเส็ก จึงค่อยเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีดังกล่าวเป็นนายพานทองแท้ และ น.ส.พิณทองทา

การที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ยังคงถือไว้ซึ่งหุ้นธุรกิจสัมปทานของชิน คอร์ป ตั้งแต่เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ซึ่งเข้าข่ายการปกปิดบัญชีทรัพย์สินหนี้สิน หรือซุกหุ้นภาค 2

ผิด พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตพ.ศ.2542 มั้ย คุณสโนว์เฟลค


ไปถามเขาอย่างนี้ได้งัยอะ เขาทำผิดกฏหมายแต่ไม่ผิดนะ  หุหุ


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: irq5 ที่ 09-09-2007, 14:30
 :slime_sentimental:

ลำบากหละครับ  ก็ถูกกฎหมายไปแล้วนี่ครับ

กฎหมายเค้าไม่เอาโทษทางการเมืองขิงแก่นี่ครับ

คงเรียกร้องอะไรไม่ได้มั๊ง

หรือเอาพวกที่แต่งชุดพลธนูของ นปก มาทำปฏิวัติก็ได้นะครับ  :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: RiDKuN ที่ 09-09-2007, 14:31
^
^
เหอ เหอ ภาพซ้ำซาก ภาพเดียวแปะทุกงาน
ไม่ใช่คนนี้หรอกนะ เพราะคนนี้หัวไม่ล้าน ก๊ากกกก :slime_bigsmile:

ตราบใดที่พวกสาวกด่าทหาร แต่ไม่สนใจภาพนี้ ก็หากินได้เรื่อยๆ ละครับ  :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ล้างโคตรทักษิณ ที่ 09-09-2007, 14:38
ภาพเดียวก็เปลี่ยนความชั่วของโคตรพ่อเอ็งที่หากินกับทหารไม่ได้วะ ไอ้'แถลูกจ๊อกทักสิน


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 09-09-2007, 14:52
ก.ล.ต.เปิดผลสอบ "แอมเพิล ริช" "ชินวัตร" บกพร่องโดยสุจริต

(1) ตรวจสอบเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์ฯ เท่านั้น ก.ล.ต. มิได้ตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายอื่น ๆ ซึ่ง ก.ล.ต ไม่มีอำนาจหรือหน้าที่

(2) ยึดถือความเป็นกลางอย่างเคร่งครัด โดยมีตัวอย่างในอดีตเปรียบเทียบได้ชัดเจน วัตถุประสงค์เพื่อให้มีการปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายหลักทรัพย์ แต่ในขณะเดียวกันก็ให้ความเป็นธรรมแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

ผลการตรวจสอบของ ก.ล.ต.

1. การซื้อขายหุ้น SHIN ของนายพานทองแท้ ชินวัตร จากการพิจารณาข้อเท็จจริงและเอกสารหลักฐานประกอบคำชี้แจงของนายพานทองแท้ และเอกสารจาก Ample Rich Investments LTD. (“Ample Rich”) ซึ่งได้รับการรับรองสำเนาเอกสารโดยผู้มีอำนาจยืนยันข้อมูล (notary public) (ก.ล.ต. ได้ร้องขอให้มีการ legalize เอกสารดังกล่าวจากสถานทูตไทยหรือสถานกงสุลไทยเพื่อให้แน่ใจว่าเอกสารดังกล่าวเชื่อถือได้จริงด้วย)

สรุปได้ว่านายพานทองแท้ มีการกระทำผิดเข้าข่ายฝ่าฝืนมาตรา 246 และ 247 รวม 3 กรณี

กรณีที่ 1 ผิดมาตรา 246 เนื่องจากในการรายงานการได้หุ้น SHIN 24.99% เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2543 ไม่ระบุข้อมูลการถือหุ้น SHIN ของ Ample Rich ซึ่งเป็นบุคคลตามมาตรา 258 ของตน

กรณีที่ 2 ผิดมาตรา 247 เนื่องจากการได้หุ้น SHIN 24.99% เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2543 เมื่อรวมกับการถือหุ้นผ่านบุคคลตามมาตรา 258 (Ample Rich) แล้ว ทำให้ถือหุ้น SHIN ข้าม 25% แต่ไม่ได้ทำคำเสนอซื้อ

กรณีที่ 3 ผิดมาตรา 246 เนื่องจากในรายงานการขายหุ้น SHIN ให้ น.ส. พิณทองทา ชินวัตร เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2545 ไม่ระบุข้อมูลการถือหุ้น SHIN ของ Ample RICH ซึ่งเป็นบุคคลตามมาตรา 258 ของตน

2.การซื้อขายหุ้น SHIN ของ น.ส.พิณทองทา ชินวัตร

จากการพิจารณาข้อเท็จจริงและเอกสารหลักฐานประกอบคำชี้แจงของ น.ส.พิณทองทา และเอกสารจาก Ample Rich ซึ่งได้รับการรับรองสำเนาเอกสาร โดยผู้มีอำนาจยืนยันข้อมูล (notary public) (ก.ล.ต. ได้ร้องขอให้มีการ legalize เอกสารดังกล่าวจากสถานทูตไทยหรือสถานกงสุลไทยเพื่อให้แน่ใจว่าเอกสารดังกล่าวเชื่อถือได้จริงด้วย) สรุปได้ว่า การซื้อขายหุ้น SHIN ของ น.ส.พิณทองทา ไม่พบการกระทำผิดมาตรา 246 และ 247 แต่อย่างใด

3.การถือหุ้น SHIN ของ AMPLE RICH

3.1 จากการพิจารณาข้อเท็จจริงและเอกสารประกอบคำชี้แจงจากบุคคลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ Ample Rich บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด (“TSD”) และ custodian/broker ที่เกี่ยวข้องรวม 4 ราย คือ Vickers Ballas -Singapore (“VKB”) UBS AG-Singapore บล.ดีบีเอส วิคเคอร์ส จำกัด (เดิมคือ บล.นววิคเคอร์ส บัลลาส (ประเทศไทย) จำกัด) และบล.กสิกรไทย จำกัด (มหาชน) (เดิมคือ บล.แอสเซท พลัส จำกัด (มหาชน)) สรุปได้ว่า

(1) Ample Rich ที่ถือหุ้น SHIN จำนวน 32.92 ล้านหุ้น จดทะเบียนจัดตั้งที่ประเทศ British Virgin Islands โดยมีสัญชาติ British Virgin Islands สถานที่ตั้งมีแห่งเดียวคือ Matheson Trust Company (BVI) Limited P.O. Box 3151, Road Town, Tortola, British Virgin Islands

แต่ในช่วงที่มีการโอนหุ้นไปฝาก custodian/broker ซึ่งได้แก่ บล.แอสเซท พลัส VKB และ UBS AG-Singapore นั้น Ample Rich ได้แจ้งสถานที่ติดต่อของบริษัท (correspondence address / mailing address) ไว้ 2 แห่ง คือ 185A Goldhill Centre, 51 Thomson Road, Singapore 307629 และ 57 UBI Avenue 1 #07-03 , Singapore 408936 นอกจากนี้ ยังพบว่าในการยื่นแบบ 246-2 เมื่อปี 2542 และเอกสารที่ Ample Rich ส่งให้ ก.ล.ต. ในปี 2543 ก็ปรากฏสถานที่ติดต่อทั้งสองแห่งนี้ของ Ample Rich เช่นกัน

(2) สำหรับกรณีที่มีการปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของ SHIN ในปี 2544 และปรากฏผู้ถือหุ้น ราย Ample Rich โดยระบุสัญชาติ English นั้น พบว่ามาจากหุ้นในส่วนที่ฝากไว้กับ บล.นววิคเคอร์สฯ ซึ่งเมื่อตรวจสอบเอกสารและหลักฐานการเปิดบัญชีของ Ample Rich กับ บล.นววิคเคอร์สฯ พบว่า Ample Rich ได้แจ้งสัญชาติไว้ว่าเป็น British Virgin Islands ตั้งแต่ต้น ไม่เคยแจ้งสัญชาติ English แต่อย่างใด ผู้ที่ระบุว่า Ample Rich มีสัญชาติ English คือ บล.นววิคเคอร์สฯ ที่แจ้งต่อ TSD

(3) ก.ล.ต. ได้รับหนังสือรับรองลงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2549 ของ The Registrar of Companies for England and Wales ซึ่งยืนยันว่าจากการค้นข้อมูลย้อนหลังไป 20 ปี ไม่พบว่ามีการจดทะเบียนบริษัทในอังกฤษและเวลส์ภายใต้ชื่อ Ample Rich Investments LTD. แต่อย่างใด

(4) ตั้งแต่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ขายหุ้น SHIN จำนวน 32.92 ล้านหุ้นให้ Ample Rich เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2542 หุ้นจำนวนดังกล่าวได้อยู่กับ บล.แอสเซท พลัส โดยหลังจากนั้นได้แบ่งหุ้นจำนวนนี้ออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้

* 22.92 ล้านหุ้นยังคงอยู่กับ บล.แอสเซท พลัส จนถึงวันที่ 28 พฤษภาคม 2547 ได้โอนหุ้นจำนวนนี้ไปฝากไว้ที่ UBS AG-Singapore

* 10 ล้านหุ้นโอนออกจาก บล.แอสเซท พลัส ไปฝากไว้กับ VKB ตั้งแต่วันที่ 13 เมษายน 2543 และต่อมาวันที่ 4 สิงหาคม 2543 ได้โอนไปฝากไว้ที่ บล.นววิคเคอร์สฯ และเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2544 ได้โอนต่อทั้งจำนวนไปฝากไว้ที่ UBS AG-Singapore

ทั้งนี้ custodian/broker ทั้ง 4 ราย คือ บล.แอสเซท พลัส VKB บล.นววิคเคอร์สฯ และ UBS AG-Singapore มีหนังสือยืนยันว่า หุ้น SHIN ที่ Ample Rich ฝากไว้ไม่เคยมีการซื้อขาย แต่จากการเปลี่ยนแปลง custodian/broker ดังกล่าวข้างต้น ประกอบกับวิธีปฏิบัติของ custodian/broker แต่ละรายในการแจ้งรายชื่อผู้ถือหุ้น SHIN ไปยัง TSD พบว่ามีวิธีปฏิบัติที่แตกต่างกัน เช่น บางรายแจ้งเป็นชื่อลูกค้า บางรายแจ้งเป็นชื่อ custodian/broker จึงอาจส่งผลให้รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ปรากฏในทะเบียนผู้ถือหุ้นของ SHIN มีการเปลี่ยนแปลงได้

3.2 โดยสรุป Ample Rich มีเพียงบริษัทเดียวและไม่เคยมีการเปลี่ยนแปลงจำนวนหุ้นที่ถืออยู่ จึงไม่พบว่ามีการกระทำผิดมาตรา 246 และ 247 แต่อย่างใด  



?? ????
?????????????? ??????????????????? thai4thai ?????????

??????????????????????
?????????????????

?????????????????????????????????????????????????????????????????? ??? ??? ?????????????? ???????????????????????????????????????????????????????????? ?????????????

????????????????????? ?????????????????????????? 2543
???????????????????????????????????? 2549

??????????? ???????????????????????? ??????????????????????? ???? 2549 ???????????????? ?????????????????? ?????????????????????????????

????????????????????


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 09-09-2007, 15:12
ก.ล.ต.เปิดผลสอบ "แอมเพิล ริช" "ชินวัตร" บกพร่องโดยสุจริต

(1) ตรวจสอบเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์ฯ เท่านั้น ก.ล.ต. มิได้ตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายอื่น ๆ ซึ่ง ก.ล.ต ไม่มีอำนาจหรือหน้าที่

(2) ยึดถือความเป็นกลางอย่างเคร่งครัด โดยมีตัวอย่างในอดีตเปรียบเทียบได้ชัดเจน วัตถุประสงค์เพื่อให้มีการปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายหลักทรัพย์ แต่ในขณะเดียวกันก็ให้ความเป็นธรรมแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

ผลการตรวจสอบของ ก.ล.ต.

1. การซื้อขายหุ้น SHIN ของนายพานทองแท้ ชินวัตร จากการพิจารณาข้อเท็จจริงและเอกสารหลักฐานประกอบคำชี้แจงของนายพานทองแท้ และเอกสารจาก Ample Rich Investments LTD. (“Ample Rich”) ซึ่งได้รับการรับรองสำเนาเอกสารโดยผู้มีอำนาจยืนยันข้อมูล (notary public) (ก.ล.ต. ได้ร้องขอให้มีการ legalize เอกสารดังกล่าวจากสถานทูตไทยหรือสถานกงสุลไทยเพื่อให้แน่ใจว่าเอกสารดังกล่าวเชื่อถือได้จริงด้วย)

สรุปได้ว่านายพานทองแท้ มีการกระทำผิดเข้าข่ายฝ่าฝืนมาตรา 246 และ 247 รวม 3 กรณี

กรณีที่ 1 ผิดมาตรา 246 เนื่องจากในการรายงานการได้หุ้น SHIN 24.99% เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2543 ไม่ระบุข้อมูลการถือหุ้น SHIN ของ Ample Rich ซึ่งเป็นบุคคลตามมาตรา 258 ของตน

กรณีที่ 2 ผิดมาตรา 247 เนื่องจากการได้หุ้น SHIN 24.99% เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2543 เมื่อรวมกับการถือหุ้นผ่านบุคคลตามมาตรา 258 (Ample Rich) แล้ว ทำให้ถือหุ้น SHIN ข้าม 25% แต่ไม่ได้ทำคำเสนอซื้อ

กรณีที่ 3 ผิดมาตรา 246 เนื่องจากในรายงานการขายหุ้น SHIN ให้ น.ส. พิณทองทา ชินวัตร เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2545 ไม่ระบุข้อมูลการถือหุ้น SHIN ของ Ample RICH ซึ่งเป็นบุคคลตามมาตรา 258 ของตน

2.การซื้อขายหุ้น SHIN ของ น.ส.พิณทองทา ชินวัตร

จากการพิจารณาข้อเท็จจริงและเอกสารหลักฐานประกอบคำชี้แจงของ น.ส.พิณทองทา และเอกสารจาก Ample Rich ซึ่งได้รับการรับรองสำเนาเอกสาร โดยผู้มีอำนาจยืนยันข้อมูล (notary public) (ก.ล.ต. ได้ร้องขอให้มีการ legalize เอกสารดังกล่าวจากสถานทูตไทยหรือสถานกงสุลไทยเพื่อให้แน่ใจว่าเอกสารดังกล่าวเชื่อถือได้จริงด้วย) สรุปได้ว่า การซื้อขายหุ้น SHIN ของ น.ส.พิณทองทา ไม่พบการกระทำผิดมาตรา 246 และ 247 แต่อย่างใด

3.การถือหุ้น SHIN ของ AMPLE RICH

3.1 จากการพิจารณาข้อเท็จจริงและเอกสารประกอบคำชี้แจงจากบุคคลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ Ample Rich บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด (“TSD”) และ custodian/broker ที่เกี่ยวข้องรวม 4 ราย คือ Vickers Ballas -Singapore (“VKB”) UBS AG-Singapore บล.ดีบีเอส วิคเคอร์ส จำกัด (เดิมคือ บล.นววิคเคอร์ส บัลลาส (ประเทศไทย) จำกัด) และบล.กสิกรไทย จำกัด (มหาชน) (เดิมคือ บล.แอสเซท พลัส จำกัด (มหาชน)) สรุปได้ว่า

(1) Ample Rich ที่ถือหุ้น SHIN จำนวน 32.92 ล้านหุ้น จดทะเบียนจัดตั้งที่ประเทศ British Virgin Islands โดยมีสัญชาติ British Virgin Islands สถานที่ตั้งมีแห่งเดียวคือ Matheson Trust Company (BVI) Limited P.O. Box 3151, Road Town, Tortola, British Virgin Islands

แต่ในช่วงที่มีการโอนหุ้นไปฝาก custodian/broker ซึ่งได้แก่ บล.แอสเซท พลัส VKB และ UBS AG-Singapore นั้น Ample Rich ได้แจ้งสถานที่ติดต่อของบริษัท (correspondence address / mailing address) ไว้ 2 แห่ง คือ 185A Goldhill Centre, 51 Thomson Road, Singapore 307629 และ 57 UBI Avenue 1 #07-03 , Singapore 408936 นอกจากนี้ ยังพบว่าในการยื่นแบบ 246-2 เมื่อปี 2542 และเอกสารที่ Ample Rich ส่งให้ ก.ล.ต. ในปี 2543 ก็ปรากฏสถานที่ติดต่อทั้งสองแห่งนี้ของ Ample Rich เช่นกัน

(2) สำหรับกรณีที่มีการปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของ SHIN ในปี 2544 และปรากฏผู้ถือหุ้น ราย Ample Rich โดยระบุสัญชาติ English นั้น พบว่ามาจากหุ้นในส่วนที่ฝากไว้กับ บล.นววิคเคอร์สฯ ซึ่งเมื่อตรวจสอบเอกสารและหลักฐานการเปิดบัญชีของ Ample Rich กับ บล.นววิคเคอร์สฯ พบว่า Ample Rich ได้แจ้งสัญชาติไว้ว่าเป็น British Virgin Islands ตั้งแต่ต้น ไม่เคยแจ้งสัญชาติ English แต่อย่างใด ผู้ที่ระบุว่า Ample Rich มีสัญชาติ English คือ บล.นววิคเคอร์สฯ ที่แจ้งต่อ TSD

(3) ก.ล.ต. ได้รับหนังสือรับรองลงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2549 ของ The Registrar of Companies for England and Wales ซึ่งยืนยันว่าจากการค้นข้อมูลย้อนหลังไป 20 ปี ไม่พบว่ามีการจดทะเบียนบริษัทในอังกฤษและเวลส์ภายใต้ชื่อ Ample Rich Investments LTD. แต่อย่างใด

(4) ตั้งแต่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ขายหุ้น SHIN จำนวน 32.92 ล้านหุ้นให้ Ample Rich เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2542 หุ้นจำนวนดังกล่าวได้อยู่กับ บล.แอสเซท พลัส โดยหลังจากนั้นได้แบ่งหุ้นจำนวนนี้ออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้

* 22.92 ล้านหุ้นยังคงอยู่กับ บล.แอสเซท พลัส จนถึงวันที่ 28 พฤษภาคม 2547 ได้โอนหุ้นจำนวนนี้ไปฝากไว้ที่ UBS AG-Singapore

* 10 ล้านหุ้นโอนออกจาก บล.แอสเซท พลัส ไปฝากไว้กับ VKB ตั้งแต่วันที่ 13 เมษายน 2543 และต่อมาวันที่ 4 สิงหาคม 2543 ได้โอนไปฝากไว้ที่ บล.นววิคเคอร์สฯ และเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2544 ได้โอนต่อทั้งจำนวนไปฝากไว้ที่ UBS AG-Singapore

ทั้งนี้ custodian/broker ทั้ง 4 ราย คือ บล.แอสเซท พลัส VKB บล.นววิคเคอร์สฯ และ UBS AG-Singapore มีหนังสือยืนยันว่า หุ้น SHIN ที่ Ample Rich ฝากไว้ไม่เคยมีการซื้อขาย แต่จากการเปลี่ยนแปลง custodian/broker ดังกล่าวข้างต้น ประกอบกับวิธีปฏิบัติของ custodian/broker แต่ละรายในการแจ้งรายชื่อผู้ถือหุ้น SHIN ไปยัง TSD พบว่ามีวิธีปฏิบัติที่แตกต่างกัน เช่น บางรายแจ้งเป็นชื่อลูกค้า บางรายแจ้งเป็นชื่อ custodian/broker จึงอาจส่งผลให้รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ปรากฏในทะเบียนผู้ถือหุ้นของ SHIN มีการเปลี่ยนแปลงได้

3.2 โดยสรุป Ample Rich มีเพียงบริษัทเดียวและไม่เคยมีการเปลี่ยนแปลงจำนวนหุ้นที่ถืออยู่ จึงไม่พบว่ามีการกระทำผิดมาตรา 246 และ 247 แต่อย่างใด  


โถ แก๊ส เอาข้อมูลจากเว็บ thai4thai วอร์รูมทักษิณมาอ้างอยู่เรื่อย หมาตัวไหนจะเขียนก็ได้ ไม่ปรากฏชื่อคนเขียนซักนิด ไม่น่าเชื่อถือเลยว่ะ

ดูนี่ใหม่นะช่างแถ

ในปี 2542 ก่อนที่พ.ต.ท.ทักษิณ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แอมเพิลริชได้เปิดบัญชีหลักทรัพย์ไว้กับ บล.ยูบีเอส โดยมีชื่อ พ.ต.ท.ทักษิณ เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม แต่หลังจากที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ขายหุ้นแอมเพิลริช ให้นายพานทองแท้ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2543 แล้ว ในช่วงปี 2543-2548 ไม่พบว่าได้มีการแจ้งเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิลริช ที่เปิดไว้กับ บล.ยูบีเอส แต่อย่างใด

จนกระทั่งปี 2549 ในช่วงที่มีการขายหุ้นให้กับกองทุนเทมาเส็ก จึงค่อยเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีดังกล่าวเป็นนายพานทองแท้ และ น.ส.พิณทองทา

ในการที่ทักษิณเข้าดำรงตำแหน่งทางการเมือง แล้วยังถือสิทธิ์ขาดในแอมเพิ้ล ริชไว้โดย เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม แถมมีความสัมพันธ์กันแบบพ่อลูกอีก

ธุรกรรมในการขายชิน มันจะสำเร็จไม่ได้นะโว้ย  ถ้าพ่อทักษิณ ไม่ลงนามในการโอนแอมเพิล ริช

ไหนบอกไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกะชินคอร์ปวะ แม่งลวงโลกนี่
ผลประโยชน์ทับซ้อนเชี่ยๆ
ปกปิด ซิกแซ๊ก แหกตาคน

ไม่ต้องเอาอะไรมาอ้างมาก แถตอบผมคำเดียวพอ ว่ามันผิดไหม



หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 09-09-2007, 15:39
อ้างถึง
โถ แก๊ส เอาข้อมูลจากเว็บ thai4thai วอร์รูมทักษิณมาอ้างอยู่เรื่อย หมาตัวไหนจะเขียนก็ได้ ไม่ปรากฏชื่อคนเขียนซักนิด ไม่น่าเชื่อถือเลยว่ะ

ไม่อยากทำให้กระทู้เพี้ยน แต่ก็ช่วยไม่ได้นะ พวกดักดานมันโง่ไม่เลิก
http://www.bangkokbiznews.com/2006/special/shincorp/news.php?news=news67.html

อ้างถึง
ดูนี่ใหม่นะช่างแถ

ในปี 2542 ก่อนที่พ.ต.ท.ทักษิณ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แอมเพิลริชได้เปิดบัญชีหลักทรัพย์ไว้กับ บล.ยูบีเอส โดยมีชื่อ พ.ต.ท.ทักษิณ เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม แต่หลังจากที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ขายหุ้นแอมเพิลริช ให้นายพานทองแท้ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2543 แล้ว ในช่วงปี 2543-2548 ไม่พบว่าได้มีการแจ้งเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิลริช ที่เปิดไว้กับ บล.ยูบีเอส แต่อย่างใด

จนกระทั่งปี 2549 ในช่วงที่มีการขายหุ้นให้กับกองทุนเทมาเส็ก จึงค่อยเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีดังกล่าวเป็นนายพานทองแท้ และ น.ส.พิณทองทา

ในการที่ทักษิณเข้าดำรงตำแหน่งทางการเมือง แล้วยังถือสิทธิ์ขาดในแอมเพิ้ล ริชไว้โดย เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม แถมมีความสัมพันธ์กันแบบพ่อลูกอีก

ธุรกรรมในการขายชิน มันจะสำเร็จไม่ได้นะโว้ย  ถ้าพ่อทักษิณ ไม่ลงนามในการโอนแอมเพิล ริช

เข้าใจคำว่า กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม กับ ผู้ถือหุ้น หรือไม่ ถ้าไม่เข้าใจก็ไม่ต้องมาให้ความเห็น
ไปอ่านมาก่อน ไม่งั้นจะเป็นการโชว์โง่ กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม ไม่จำเป็นต้องถือหุ้นก็ได้


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: หาเพื่อนหยิงคุยแก้เหงาครับ ที่ 09-09-2007, 15:51
 :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 09-09-2007, 15:52
Secrecy

Confidentiality is one of the key features of the BVI Business Company as details of the company beneficial owners, directors and shareholders are NOT part of public record. Register of Members, Register of Directors and all Minutes and Resolutions by the Company are kept only at the offices of the Registered Agent in complete confidentiality. Certainly, though, these files are available for inspection to Company shareholders.

The only documents held on public record are the Memorandum and Articles of Association, but these normally do not contain any indication as to the actual shareholders, directors or the beneficial owners of the company.

At the same time, if the owners of the company so wish, the Register of Directors and/or the Register of Members may be filed with the Registrar of Companies. Such step may be desirable if a complete certainly must be achieved and showed publicly as to the actual identities of the Company managers or members - but, again, this is purely optional.

Structural flexibility

A BVI Business Company requires a minimum of only one owner, one shareholder, and one director. All of them can be one and the same person. Apart from the director, the company need not appoint any operating officers. The management structure of the BVI Business Company may be designed in accordance with the widest variety of requirements.

The shareholders, directors and officers of a BVI Business Company may be individuals or corporations and of any nationality. The shareholder's or director's meetings need not be held in the British Virgin Islands and there is no requirement for an Annual General Meeting.

Meetings can be held by telephone or other electronic means; alternatively, directors as well as shareholders may vote by proxy.

Where a Business Company has only one member who is an individual and that member is also the sole director, such sole member / director may specifically appoint a reserve director to act in his place in the event of his death.

Provisions against confiscation

If a foreign Government or authority seizes Company shares, or any other interest in the Company in connection with nationalization, expropriation, confiscatory tax, other governmental charge or with a similar cause the Company or a shareholder may apply to the BVI court for an order that the Company disregard the seizure and continue to treat the person from whom the shares were seized as continuing to hold the shares.

No reporting

BVI Business Companies does not have an obligation to prepare of file financial accounts. However, records must be kept that are sufficient to show and explain the Company's transactions; and will, at any time, enable the financial position of the Company to be determined with reasonable accuracy. Such records do not have to be kept in the British Virgin Islands and the location for keeping such records can be freely determined by the owners of the Company, and there is no requirement whatsoever to file or otherwise make public any commercial or financial records of the Company.

Bearer shares

Shares of a BVI Business Company may be issued in bearer form. However the bearer shares may not be issued to their actual owner but may only be kept in custody of a licensed custodian in the BVI, or with such custodian outside BVI, together with a written indication as to the actual identity and address of the owner of such shares. The schedule of Government fees for BVI Business Companies contains a clear negative incentive against utilising bearer shares in the structuring of the Business Companies, as the Government fees for such companies will be considerably higher.

Various types of incorporations

A BVI Business Company may be incorporated as a company limited by shares, a company limited by guarantee (with or without authorisation to issue shares), an unlimited company (with or without authorisation to issue shares), a segregated portfolio company and a restricted purpose company.

No requirement to state operational objects

Since 2005, there is no requirement to specify the operational objects of the BVI Business Company in the foundation documents of the Company (Memorandum and Articles of Association). However, the company may choose to do so and, indeed, a specific type of a "restricted purpose company" is envisaged by the Business Companies Act.
http://www.offshorebvi.com/bvi-offshore-companies.php

เอากฎหมายมาให้ดูหน่อย เดี๋ยวจะหาว่ามั่ว ว่าแต่อ่านออกหรือป่าวจ๊ะ :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 09-09-2007, 16:26
ไม่อยากทำให้กระทู้เพี้ยน แต่ก็ช่วยไม่ได้นะ พวกดักดานมันโง่ไม่เลิก
http://www.bangkokbiznews.com/2006/special/shincorp/news.php?news=news67.html

เข้าใจคำว่า กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม กับ ผู้ถือหุ้น หรือไม่ ถ้าไม่เข้าใจก็ไม่ต้องมาให้ความเห็น
ไปอ่านมาก่อน ไม่งั้นจะเป็นการโชว์โง่ กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม ไม่จำเป็นต้องถือหุ้นก็ได้

แก๊สอย่ามาข้างๆคูๆดีกว่า

แม้กรรมการผู้มีอำนาจลงนามไม่ถือหุ้น ก็มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งทางตรง และทางอ้อม หรือจะเถียง ทำไมต้องใช้กรรมการผู้มีอำนาจลงนามที่มีความสัมพันธ์เป็นพ่อ ? ตอบมา อย่าแถ

เขาเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง แต่ยังมีผลประโยชน์ทับซ้อนเรื่องนี้อย่างจัง เพราะ ตำแหน่งกรรมการผู้มีอำนาจลงนามคนนี้ ไม่ได้ทำให้ผู้นำคนนี้ตัดขาดจากธุรกิจในเชิงกฏหมาย และถ้าคนๆคนนี้ไม่ลงนามให้ลูกตอนปี 2549 ธุรกรรมก็จะไม่สำเร็จ
และยังมีความสัมพันธ์กันแบบพ่อลูกที่พร้อมที่จะเอื้อประโยชน์ให้กัน

ตอบมา


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 09-09-2007, 16:36
ถ้าคนๆคนนี้ไม่ลงนามให้ลูกตอนปี 2549 ธุรกรรมก็จะไม่สำเร็จ  มันคือกฎหมายข้อไหน :slime_doubt:

กรรมการผู้มีอำนาจลงนามถูกแต่งตั้งโดยบอร์ดหรือเจ้าของ จะปลดอะไรยังไงก็ได้
ไม่จำเป็นต้องให้กรรมการผู้มีอำนาจลงนามลงลายมือชื่ออะไรทั้งนั้น โดยเฉพาะ
กฎหมายของ BVI ไม่ได้กำหนดอะไรไว้เลยจะทำอะไรก็ได้ เลิกจินตนาการเอาเอง
ซะทีเหอะ มั่วจนกระทู้เค้าเปรอะหมดแล้ว บริษัทนี้แค่เป็นการฝากหุ้นไว้ที่ต่างประเทศ
เท่านั้นเพราะไม่มีธุรกรรมใดๆ และไม่ได้อยู่ในลักษณะบริษัทของกฎหมายไทยเลย
ซักนิด มีแต่พวกอยากจะเอาผิดเพราะอิจฉาพยายามโยงนั่นนี่ให้ผิดให้ได้ เลิกไร้สาระ
กับกรณีนี้ซะทีเหอะ ถ้าอยากตะแบงเถียงให้ได้ก็ให้ศึกษากฎหมายของ BVI ให้ดีก่อน


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: หาเพื่อนหยิงคุยแก้เหงาครับ ที่ 09-09-2007, 16:46
แก๊สอย่ามาข้างๆคูๆดีกว่า

แม้กรรมการผู้มีอำนาจลงนามไม่ถือหุ้น ก็มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งทางตรง และทางอ้อม หรือจะเถียง ทำไมต้องใช้กรรมการผู้มีอำนาจลงนามที่มีความสัมพันธ์เป็นพ่อ ? ตอบมา อย่าแถ

เขาเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง แต่ยังมีผลประโยชน์ทับซ้อนเรื่องนี้อย่างจัง เพราะ ตำแหน่งกรรมการผู้มีอำนาจลงนามคนนี้ ไม่ได้ทำให้ผู้นำคนนี้ตัดขาดจากธุรกิจในเชิงกฏหมาย และถ้าคนๆคนนี้ไม่ลงนามให้ลูกตอนปี 2549 ธุรกรรมก็จะไม่สำเร็จ
และยังมีความสัมพันธ์กันแบบพ่อลูกที่พร้อมที่จะเอื้อประโยชน์ให้กัน

ตอบมา


ปล่อยให้มันดักดานไปเหอะคนมันไม่เอายังไงก้ไม่เอาเพราะมันเอาแต่เหลี่ยมความชั่วเห็นอยู่แต่ก็ยอมรับ ปัญหาโลกแตก
มะเช้าไปนั่งเถียงกับเกรียนที่เว็บกระปุกเล่นจนแถไม่ออกมันบอกว่าไรรู้มะ ถึงทักษิณจะชั่วจะเลวมันก็จะรักเพราะเป็นนายกของมัน
ผมไปไม่ถูกเลยหละ :slime_shy:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 09-09-2007, 16:52

ปล่อยให้มันดักดานไปเหอะคนมันไม่เอายังไงก้ไม่เอาเพราะมันเอาแต่เหลี่ยมความชั่วเห็นอยู่แต่ก็ยอมรับ ปัญหาโลกแตก
มะเช้าไปนั่งเถียงกับเกรียนที่เว็บกระปุกเล่นจนแถไม่ออกมันบอกว่าไรรู้มะ ถึงทักษิณจะชั่วจะเลวมันก็จะรักเพราะเป็นนายกของมัน
ผมไปไม่ถูกเลยหละ :slime_shy:
เข้าใจคำว่า บริษัท ตามกฎหมายไทย, บริษัท ตามกฎหมาย BVI, ผู้ถือหุ้น, กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม บ้างหรือเปล่า
ถ้าไม่เข้าใจอะไรเลย คนที่แถไม่ออกในเว็บกระปุกก็น่าจะเป็นเอ็งนั่นแหละ  :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 09-09-2007, 17:05
ถ้าคนๆคนนี้ไม่ลงนามให้ลูกตอนปี 2549 ธุรกรรมก็จะไม่สำเร็จ  มันคือกฎหมายข้อไหน :slime_doubt:

กรรมการผู้มีอำนาจลงนามถูกแต่งตั้งโดยบอร์ดหรือเจ้าของ จะปลดอะไรยังไงก็ได้
ไม่จำเป็นต้องให้กรรมการผู้มีอำนาจลงนามลงลายมือชื่ออะไรทั้งนั้น โดยเฉพาะ
กฎหมายของ BVI ไม่ได้กำหนดอะไรไว้เลยจะทำอะไรก็ได้ เลิกจินตนาการเอาเอง
ซะทีเหอะ มั่วจนกระทู้เค้าเปรอะหมดแล้ว บริษัทนี้แค่เป็นการฝากหุ้นไว้ที่ต่างประเทศ
เท่านั้นเพราะไม่มีธุรกรรมใดๆ และไม่ได้อยู่ในลักษณะบริษัทของกฎหมายไทยเลย
ซักนิด มีแต่พวกอยากจะเอาผิดเพราะอิจฉาพยายามโยงนั่นนี่ให้ผิดให้ได้ เลิกไร้สาระ
กับกรณีนี้ซะทีเหอะ ถ้าอยากตะแบงเถียงให้ได้ก็ให้ศึกษากฎหมายของ BVI ให้ดีก่อน

โถ่ แถ... อย่าพูดเป็นเล่นหน่อยเลย

กรรมการผู้มีอำนาจลงนามถูกแต่งตั้งโดยบอร์ดหรือเจ้าของ จะปลดอะไรยังไงก็ได้
อันนี้ใช่ แต่อยากบอกนะว่ามันไม่มีอำนาจทางกฏหมาย และ สามารถให้คุณให้โทษกับบริษัท

ไม่จำเป็นต้องให้กรรมการผู้มีอำนาจลงนามลงลายมือชื่ออะไรทั้งนั้น
อย่าบ้าหน่อยเลย... ถ้ามันไม่ลง ลูกๆของมันจะได้เหรอวะ

กฎหมายของ BVI ไม่ได้กำหนดอะไรไว้เลยจะทำอะไรก็ได้
อย่างนี้ใครๆไปซุกอะไรไว้ที่ต่างประเทศแล้วไม่ได้แจ้ง ปปช ก็ไม่ผิดสิ ?
ถ้าไม่ผิดแล้วเจือกทำท่าลวงโลกโอนแอมเพิ้ล ริช ให้ผู้อื่นก่อนเข้าเป็นนายกทำไมวะ ? (ทำท่าโอนให้ผู้อื่นก่อน แต่ยังถือไพ่ความเป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม)

ถ้าอยากตะแบงเถียงให้ได้ก็ให้ศึกษากฎหมายของ BVI ให้ดีก่อน
ไปศึกษากฏหมายไทยไปแถ ถ้าเอ็งยังอาศัยอยู่ในแผ่นดินนี้

แล้วอย่ามาพูดบ้าๆ ว่ากรรมการผู้มีอำนาจลงนามไม่มีอำนาจใดๆ 


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: หาเพื่อนหยิงคุยแก้เหงาครับ ที่ 09-09-2007, 17:14
เหลี่ยมไม่ผิดเหลี่ยมไม่หนีหรอก
ลุกเหลี่ยมไม่ผิดลูกเหลี่ยมไม่เลื่อนยื่นหลักฐานหรอก :slime_fighto:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: หาเพื่อนหยิงคุยแก้เหงาครับ ที่ 09-09-2007, 17:20
bviมันย่อมาจากอะไรน้า.... :slime_bigsmile:ไปทำอะไรกันน้า


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: Tuba ✿゚✎..✿.。.:。ღ ที่ 09-09-2007, 17:41
เสาร์ - อาทิตย์ อัปรีย์ ไป แต่จั*** มา

เดี๋ยวพอวันธรรมดา จั*** ไป อัปรีย์ ก็จะมา

บางวันมาพร้อมกัน ทั้ง อัปรีย์ ทั้ง จั***

สนใจอะไรกับขี้ข้าทรราช  ที่ไม่ยอมให้ใครมาด่าไอ้เหลี่ยม

แต่กลับแสดงความดีใจจนออกนอกหน้าที่มีคนมาด่าประเทศไทย



หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 09-09-2007, 18:23
บริษัทจำกัด  (Corporation)
                บริษัทจำกัด  มีสภาพเป็นนิติบุคคล  จึงเป็นผลให้บริษัทเป็นหน่วยงานที่ต้องบริหารตนเองให้ดำรงอยู่ได้โดยลำพัง อย่างอิสระ  และการดำเนินงานทั้งหลายจะกระทำในนามของบริษัทจำกัดไม่ว่าจะเป็นการฟ้องร้องหรือถูกฟ้องร้อง  รวมถึงเป็นเจ้าของ ทรัพย์สินและมีข้อผูกพันอื่น ๆ ตามกฎหมาย  โดยมีบุคคลตั้งแต่  7  คนขึ้นไป  ตกลงร่วมลงทุนในการก่อตั้งกิจการร่วมกัน  โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อหากำไรแบ่งสรรกำไรกัน 
                ลักษณะของบริษัทจำกัด
1.       มีผู้ร่วมลงทุนหรือผู้เริ่มก่อการจัดตั้งบริษัทอย่างน้อย  7  คน  แต่ไม่เกิน  100  คน
2.       แบ่งทุนเป็นจำนวนเท่า ๆ กัน เรียกว่าหุ้น  และมีมูลค่าหุ้นไม่ต่ำกว่าหุ้นละ  5  บาท
3.       เจ้าของหรือผู้ถือหุ้น  มีความรับผิดชอบเท่ากับจำนวนหุ้นที่ถือ หรือจำนวนมูลค่า ที่ยังส่งใช้ไม่ครบ
4.       มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร  และมีการแบ่งกำไรตามจำนวนหุ้นที่ถือ
5.       คุณสมบัติของผู้ถือหุ้น  ไม่เป็นสาระสำคัญ  ฉะนั้นใครเป็นเจ้าของก็ได้และเปลี่ยนผู้ถือหุ้นได้โดยการโอนหุ้นเท่านั้น
6.       ต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล  และจดทะเบียนพาณิชย์
7.       มีการบริหารงานโดยคณะกรรมการบริหาร   

การดำเนินการจัดตั้งบริษัทจำกัด   
1.  ผู้ก่อการ  จะต้องทำหนังสือบริคณฑ์สนธิ  ซึ่งแสดงให้ทราบรายละเอียดของวัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง บริษัทจำกัด  ดังนี้
1.1    ชื่อบริษัทจำกัด
1.2    สถานที่ตั้งบริษัทจำกัด
1.3    วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งบริษัทจำกัด
1.4    ข้อความที่แสดงให้ทราบถึงความรับผิดชอบของผู้ถือหุ้น
1.5    จำนวนทุนจดทะเบียน  และมูลค่าหุ้นละเท่าใด
1.6    ชื่อและลายเซ็นของผู้เริ่มก่อการ
2.       มีการเข้าชื่อซื้อหุ้น  หรือทำหนังสือชี้ชวนให้ซื้อหุ้น  หากยังขายหุ้นได้ไม่ครบ
3.       มีการประชุมจัดตั้งบริษัท  และตกลงรายละเอียดเกี่ยวกับระเบียบข้อบังคับของบริษัท สัญญาต่าง ๆ และเลือกตั้ง กรรมการ ของบริษัท
4.       แต่งตั้งคณะกรรมการ
5.       คณะกรรมการดำเนินการเรียกหุ้น
6.       นำหนังสือบริคณฑ์สนธิ  และระเบียบข้อบังคับไปจดทะเบียน   

ประเภทและสิทธิของผู้ถือหุ้น
                หุ้นทุนของบริษัทจำกัด  มีอยู่  2  ประเภท  คือ  หุ้นสามัญ (Common Stock) และหุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stock)  ซึ่งมีลักษณะต่อไปนี้
1.  หุ้นสามัญ  เป็นหุ้นที่มีลักษณะและสิทธิดังนี้
1.1    เป็นประเภทของหุ้นที่บริษัททุกแห่งต้องมี  และหากบริษัทใดมีหุ้นประเภทเดียวหุ้นนั้นคือหุ้นสามัญ
1.2   มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุม  1  หุ้นต่อ  1  เสียง
1.3   ได้รับผลตอบแทนเป็นเงินปันผลหลังผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิ  และจะได้รับเป็นจำนวนมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ ผลการดำเนินงานและนโยบายของบริษัท
1.4   หากบริษัทขาดทุน  จะได้รับคืนทุนอันดับหลังสุด
1.5   สามารถซื้อขายหุ้นได้โดยการโอนเปลี่ยนผู้ถือหุ้นเท่านั้น   
2.  หุ้นบุริมสิทธิ    เป็นหุ้นที่มีการกำหนดอัตราเงินปันผลไว้แน่นอนและมีสิทธิเหนือหุ้นสามัญในด้านการรับเงินปันผล  คือสิทธิรับเงินปันผลตามอัตราที่กำหนดไว้จนครบก่อนหุ้นสามัญ  แต่ไม่มีสิทธิในการออกเสียงในที่ประชุมการบริหาร


ทำไมเข้าใจยากอะไรแบบนี้วะ ทั่นปรมาจารย์เจดีย์ อย่าเอากฎหมายไทยไปปนกับ
กฎหมาย BVI เจ้าของบริษัท จะเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามอะไรก็ได้

อย่างนี้ใครๆไปซุกอะไรไว้ที่ต่างประเทศแล้วไม่ได้แจ้ง ปปช ก็ไม่ผิดสิ ?
มันเกี่ยวอะไรกับกรณีนี้ เค้าก็แจ้งครบอยู่แล้ว แล้วบริษัทนี้มันเข้าข่ายจะเป็นเจ้าของคนเดียว
ด้วยซ้ำเมื่อเทียบกับกฎหมายเมืองไทย ก็แค่เอาหุ้นไปฝากไว้ที่เกาะนั่น พอลูกโตก็ให้ลูกเอา
กลับมา นิติกรรมอื่นก็ไม่มี จะเอาอะไรนักหนา อิจฉาเหรอ :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: สมชายสายชม ที่ 09-09-2007, 18:43
อ้าว .. "หนูเฟ๊ค" ไม่ชอบเหรอ .. "ที่ให้ถือหุ้นได้"

พอเลือกตั้งครั้งนี้ "พวกนอมินีเหลี่ยม เครือญาติ และพรรคพวก" ได้เป็นรัฐบาล

ก็จะได้ถือหุ้นได้ ไม่ต้องไปฝากไว้ที่ "คนใช้ คนสวน หรือคนขับรถ" .. ไง   :slime_v:

...


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 09-09-2007, 18:43
โถ่ แถ... อย่าพูดเป็นเล่นหน่อยเลย

กรรมการผู้มีอำนาจลงนามถูกแต่งตั้งโดยบอร์ดหรือเจ้าของ จะปลดอะไรยังไงก็ได้
อันนี้ใช่ แต่อยากบอกนะว่ามันไม่มีอำนาจทางกฏหมาย และ สามารถให้คุณให้โทษกับบริษัท

ไม่จำเป็นต้องให้กรรมการผู้มีอำนาจลงนามลงลายมือชื่ออะไรทั้งนั้น
อย่าบ้าหน่อยเลย... ถ้ามันไม่ลง ลูกๆของมันจะได้เหรอวะ

กฎหมายของ BVI ไม่ได้กำหนดอะไรไว้เลยจะทำอะไรก็ได้
อย่างนี้ใครๆไปซุกอะไรไว้ที่ต่างประเทศแล้วไม่ได้แจ้ง ปปช ก็ไม่ผิดสิ ?
ถ้าไม่ผิดแล้วเจือกทำท่าลวงโลกโอนแอมเพิ้ล ริช ให้ผู้อื่นก่อนเข้าเป็นนายกทำไมวะ ? (ทำท่าโอนให้ผู้อื่นก่อน แต่ยังถือไพ่ความเป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม)

ถ้าอยากตะแบงเถียงให้ได้ก็ให้ศึกษากฎหมายของ BVI ให้ดีก่อน
ไปศึกษากฏหมายไทยไปแถ ถ้าเอ็งยังอาศัยอยู่ในแผ่นดินนี้

แล้วอย่ามาพูดบ้าๆ ว่ากรรมการผู้มีอำนาจลงนามไม่มีอำนาจใดๆ 

แถอย่าหลีกเลี่ยงตอบคำถามผม


ทำไมเข้าใจยากอะไรแบบนี้วะ ทั่นปรมาจารย์เจดีย์ อย่าเอากฎหมายไทยไปปนกับ
กฎหมาย BVI เจ้าของบริษัท จะเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามอะไรก็ได้

อย่างนี้ใครๆไปซุกอะไรไว้ที่ต่างประเทศแล้วไม่ได้แจ้ง ปปช ก็ไม่ผิดสิ ?
มันเกี่ยวอะไรกับกรณีนี้ เค้าก็แจ้งครบอยู่แล้ว แล้วบริษัทนี้มันเข้าข่ายจะเป็นเจ้าของคนเดียว
ด้วยซ้ำเมื่อเทียบกับกฎหมายเมืองไทย ก็แค่เอาหุ้นไปฝากไว้ที่เกาะนั่น พอลูกโตก็ให้ลูกเอา
กลับมา นิติกรรมอื่นก็ไม่มี จะเอาอะไรนักหนา อิจฉาเหรอ :slime_bigsmile:

เลิกอ้าง กฎหมาย BVI เจ้าของบริษัท จะเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามอะไรก็ได้ ซะที ตอบมาคำเดียว ถ้าไม่มีกรรมการผู้มีอำนาจลงนามนี้แล้ว ลูกมันจะได้หุ้นมั้ย ถ้าไม่สำคัญ ทำไมถึงเสรือกไม่ตั้งหมาตัวอื่นมาเป็น ตอบมา

ที่อ้างว่ากรรมการผู้มีอำนาจลงนามถูกแต่งตั้งโดยบอร์ดหรือเจ้าของ จะปลดอะไรยังไงก็ได้
บอกมาว่ามันไม่มีอำนาจทางกฏหมาย และ สามารถให้คุณให้โทษกับบริษัท ใช่มั้ย ตอบมา

มันแจ้ง ปปช ตอนไหนว่ามันมีสัมพันธ์สวาทอะไรกับแอมเพิล ริช... ทำไมมันไม่เคยพูดถึงเล๊ย ตอบมา

ลูกมันจะโตเท่าควายหรือเล็กเท่าหนู ผมก็ไม่สน
มันเอาหุ้นไปฝากไว้ที่เกาะไม่รักชาตินั่น แล้วเก็บอำนาจผู้ลงนามไว้เพิ่งคายออกตอนปี 49 ให้ลูกเนี่ย มันผิดหรือเปล่า ตอบมา

กฏหมาย BVI มันจะว่าไง ผมก็ไม่สนใจ
ผมสนใจแค่มันเข้าข่ายผิดกฏหมายของ ปปช โดย ปกปิดทรัพย์สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือไม่ และมีผลประโยชน์ทับซ้อนของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือไม่ ตอบมา

ตอบมาเป็นข้อๆ


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 09-09-2007, 20:01
ถามบังคับตอบเลยวุ้ย ตอบตั้งหลายรอบซ้ำซากแล้ว อ่านไม่เข้าหัวเองนี่หว่า ไหนว่าเป็นปรมาจารย์

เลิกอ้าง กฎหมาย BVI เจ้าของบริษัท จะเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามอะไรก็ได้ ซะที ตอบมาคำเดียว ถ้าไม่มีกรรมการผู้มีอำนาจลงนามนี้แล้ว ลูกมันจะได้หุ้นมั้ย ถ้าไม่สำคัญ ทำไมถึงเสรือกไม่ตั้งหมาตัวอื่นมาเป็น ตอบมา
นายพานทองแท้ฯ ได้ซื้อหุ้นทั้งหมดของ Ample Rich ไปตั้งแต่วันที่ 1 ธ.ค. 2543 และ
นายพานทองแท้ฯ แจ้งว่า Ample Rich เป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องของตน ประกอบกับนายพานทองแท้ฯ
เป็นบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว ก.ล.ต. จึงไม่มีเหตุใดที่จะสันนิษฐานว่า Ample Rich ถือหุ้นใน 
SHIN แทนบุคคลอื่น ซึ่งกรณีอื่น ๆ ก็จะพิจารณาเช่นเดียวกันนี้

นายพานทองแท้ได้หุ้นไปตั้งแต่ 1 ธ.ค. 43 แล้วยังสงสัยอะไรอีก เจ้าของเก่าโอนให้เจ้าของใหม่ก็จบ
กรรมการผู้มีอำนาจลงนามไม่เกี่ยวกับการโอนหุ้นซะหน่อย ที่ไม่ตั้งหมาเพราะหมามันไม่รู้หนังสือไงถามได้
ตอบชัดขนาดนี้แล้วยังจะถามซ้ำซากอีกหรือเปล่าหว่า ปรมาจารย์ลิงอะไรวะเนี่ย บื้อฉิบ

ที่อ้างว่ากรรมการผู้มีอำนาจลงนามถูกแต่งตั้งโดยบอร์ดหรือเจ้าของ จะปลดอะไรยังไงก็ได้
บอกมาว่ามันไม่มีอำนาจทางกฏหมาย และ สามารถให้คุณให้โทษกับบริษัท ใช่มั้ย ตอบมา

ก็บริษัทไม่มีธุรกรรมอะไรในช่วงที่ทักษิณเป็นนายก แล้วจะเอาคุณเอาโทษอะไรล่ะ อยากรู้ขอบเขตอำนาจ
ของกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม ต้องไปดูกฎระเบียบของบริษัทนั้นถึงรู้ จินตนาการเอาไม่ได้หรอก ไม่ใช่ว่า
กรรมการจะมีอำนาจทุกอย่างในบริษัท ทำอะไรก็ได้ สงสัยไม่เคยเปิดบริษัทมั้งนั่น

มันแจ้ง ปปช ตอนไหนว่ามันมีสัมพันธ์สวาทอะไรกับแอมเพิล ริช... ทำไมมันไม่เคยพูดถึงเล๊ย ตอบมา
ลูกมันจะโตเท่าควายหรือเล็กเท่าหนู ผมก็ไม่สน
มันเอาหุ้นไปฝากไว้ที่เกาะไม่รักชาตินั่น แล้วเก็บอำนาจผู้ลงนามไว้เพิ่งคายออกตอนปี 49 ให้ลูกเนี่ย มันผิดหรือเปล่า ตอบมา

ป.ป.ช. ให้แสดงบัญชีทรัพย์สินไม่ใช่เหรอ ต้องแจ้งด้วยเหรอว่ามีสัมพันธ์สวาท 
ไม่ผิด

กฏหมาย BVI มันจะว่าไง ผมก็ไม่สนใจ
ผมสนใจแค่มันเข้าข่ายผิดกฏหมายของ ปปช โดย ปกปิดทรัพย์สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือไม่ และมีผลประโยชน์ทับซ้อนของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือไม่ ตอบมา

จะผิดได้ยังไงในเมื่อนายพานทองแท้เป็นชายที่บรรลุนิติภาวะแล้ว เป็นผู้ถือหุ้นไม่ใช่ทักษิณซะหน่อย

ชัดเจนแล้วนะ อย่ามาถามซ้ำซากอีก ขี้เกียจพูดซ้ำๆ ว่ะ :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 09-09-2007, 20:15
Shareholder Agreement  การวางโครงสร้างองค์กรอย่างรู้ทันกฎหมายธุรกิจ                     
                        ถ้าจะอธิบายอย่างง่ายๆ เป็นภาษาที่เข้าใจง่ายก็ต้องบอกว่า บริษัทประกอบด้วยผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นเป็นคนแต่งตั้งกรรมการบริหารบริษัท (Director) ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นจิตวิญญาณของบริษัท กระทำการในนามของบริษัทและรับผิดในผลของการกระทำของบริษัท ขณะที่ผู้ถือหุ้นไม่ต้องรับผิดในการกระทำของบริษัท แต่ผู้ถือหุ้นจะเป็นคนกำหนดตั้งแต่แรกตั้งบริษัทว่าบริษัทจะเป็นอย่างไร บริหารไปอย่างไร ซึ่งสัญญาที่จะมากำหนดกันระหว่างผู้ถือหุ้นว่าจะให้บริษัทบริหารจัดการโดยใครไปในทิศทางใดนั้น จะกำหนดกันในสัญญาผู้ถือหุ้น (Shareholder Agreement)

                        บริษัทอาจตั้งขึ้นตามตัวบทกฎหมายที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานก็ได้ เช่น จะเปลี่ยนผู้ถือหุ้น จะขายหุ้นอย่างไร จะบังคับขายหุ้นได้ไหม ถ้าไม่เห็นด้วยในการเข้ามาซื้อกิจการของผู้อื่นจะทำอย่างไรได้บ้าง เป็นต้น หากไม่กำหนดไว้ให้แตกต่างก็ต้องไปดูกฎหมายเรื่องนั้นๆ ว่าจะทำอย่างไร

                        หากเป็นบริษัทที่ถือหุ้นทั้งหมดโดยคนๆ เดียวหรือกลุ่มเดียวก็คงไม่จำเป็นต้องมีสัญญา แต่อย่างไรก็ตาม ไม่ช้าก็เร็วความเปลี่ยนแปลงย่อมเกิดขึ้นได้เหนือความคาดหมาย การมีสัญญามาล็อกไว้ก่อนจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในการจัดตั้งบริษัทในปัจจุบัน ส่วนว่าจะกำหนดไว้ในสัญญาอย่างไรบ้างก็คงขึ้นอยู่กับว่าบริษัทต้องการจะระวังในเรื่องอะไร เช่น หากเป็นกรณีมีผู้ถือหุ้น 3 กลุ่ม หรือ 3 คน กรณีเช่นนี้สัญญาระหว่างผู้ถือหุ้นมีความสำคัญและสามารถทำให้บรรลุผลตามสัญญาได้ (Practical) แต่ถ้ามีผู้ถือหุ้นเป็นร้อยๆ คนหรือบริษัทกลายเป็นบริษัทมหาชน สัญญาก็ไม่มีความหมาย และในกรณีกลายเป็นบริษัทมหาชนสัญญาก็หายไปเลย เพราะวิธีการเดินธุรกิจและจัดการจะต้องเป็นไปตามกฎหมายและกฎระเบียบของกฎหมายบริษัทมหาชนและตลาดหลักทรัพย์

                        ข้อควรระวังก่อนที่ท่านจะตัดสินใจทำสัญญา Shareholder Agreement คือ จะต้องตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้ก่อน เช่น ใครถือหุ้น จำนวนเท่าไร ชำระค่าหุ้นไปแล้วเท่าไร มีเรื่องสิทธิประเภททรัพย์สินทางปัญญาหรือไม่ หุ้นเป็นหุ้นประเภทไหน มีบุริมสิทธิหรือไม่ เป็นบุริมสิทธิอย่างไร และที่สำคัญท่านจะต้องให้ผู้เชี่ยวชาญทางภาษีมาตรวจดูเพื่อวางแผนภาษีเสียก่อน ซึ่งมีหลายบริษัทหรือผู้ทำธุรกิจจำนวนมากละเลยไม่เห็นความสำคัญมองเห็นแต่ว่าคุณลงเงินไปเท่าไร ไม่มองเห็นภาระภาษีอันใหญ่ที่จะตามมา ทางออกทางหนึ่งที่นักวางแผนมักจะเสนอให้คุณผู้ลงทุนในหุ้นใช้ คือการกระจายชื่อผู้ถือหุ้นไปเป็นชื่อของบุตรของภรรยาหรือของคนขับรถ คนสวนก็ตาม หากเขาไว้ใจได้ หรือจะใช้เทคนิคอื่นก็ขึ้นอยู่กับการวางแผนไว้ล่วงหน้า

                        ต่อไปนี้คือรายการ Checklist ที่ต้องมีใน Shareholder Agreement

        -  โครงสร้างของบริษัทเป็นอย่างไร และจะแบ่งหุ้นของบริษัทออกเป็นอย่างไร
        -   สัญญาควรจะให้ผู้ถือหุ้นทุกคนลงนามหรือจะทำขึ้นระหว่างกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรือใครคือคู่สัญญา
        -   ผู้ถือหุ้นจะสามารถจำนำหุ้นแก่บุคคลอื่นได้หรือไม่
        -  จะแต่งตั้งใครเป็นกรรมการบริษัท และในตำแหน่งที่สำคัญอื่นๆ
        -  การประชุมผู้ถือหุ้นจะจัดอย่างไร ที่ไหน เมื่อไร มีเงื่อนไขอย่างไร ฯลฯ
        -  หากจะต้องมีการออกหุ้นใหม่เพื่อเพิ่มทุนจะออกหุ้นอย่างไร เสนอขายให้ใครก่อน จะสามารถลดมูลค่าหุ้นลงได้ไหม (Pre-emptive right and tag-along provision)
        -  ถ้าเกิดการเข้ามาครอบงำบริษัทไม่ว่าโดยการควบรวมหรือซื้อกิจการจะจัดการอย่างไร เช่น จะบังคับขายหรือขายโดยสมัครใจ
        -  เวลาจะขายหุ้นในคู่สัญญาจะต้องเสนอขายให้คู่สัญญาอีกฝ่ายก่อนไหม
        -  กำหนดว่าอะไรคือหน้าที่ของผู้ถือหุ้น เช่น ห้ามกระทำการค้าแข่งไหม หรือต้องถือหุ้นที่นี่ที่เดียวไหม (Conflict of Interest)
        -   ผู้ถือหุ้นมีสิทธิอย่างไรบ้าง เช่น สิทธิได้รับข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือแสดงงบดุลของบริษัท หรือผู้ถือหุ้นสามารถเข้าถือข้อมูลของบริษัทได้อย่างไรบ้าง เป็นต้น
        -  จะทำอย่างไรหากคู่สัญญาฝ่ายใดตายหรือล้มละลาย
        -  จะต้องมีประกันภัยในหุ้นหรือประกันชีวิตผู้ถือหุ้นไหม
        -  แผนการด้านการเงินของบริษัทจะเป็นอย่างไร
        -  การตัดสินใจเรื่องใดบ้างจะต้องขออนุมัติจากกรรมการ เรื่องใดจากผู้ถือหุ้น และจะต้องเป็นมติเอกฉันท์หรือไม่
        -  หากคู่สัญญาฝ่ายใดปฏิบัติตามสัญญาไม่ได้จะกำหนดเรื่องค่าเสียหาย ค่าชดเชยกันอย่างไร หรือจะกำหนดเรื่องค่าตอบแทนกรรมการและเงินปันผลเท่าไร
        -   ต้องมีสัญญาอื่นแนบท้ายอีกหรือไม่ เช่น สัญญาการจัดการ สัญญาเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา หรือสัญญาว่าด้วยความลับทางการค้า เป็นต้น
        -  จะตั้งใครเป็นที่ปรึกษาเรื่องต่างๆ เช่น การเงินและกฎหมาย
        -  ผู้ถือหุ้นจะต้องวางหลักทรัพย์ค้ำประกันระหว่างการเป็นผู้ถือหุ้นหรือไม่ เช่น แบงค์การันตี หรือหุ้นกู้ เป็นต้น
        -  หากจะเลิกบริษัท จะต้องทำอย่างไร
                        เหล่านี้เป็นรายการเบื้องต้นที่ต้องนำไปคิด ยังมีเรื่องที่ต้องคิดหากจะต้องเข้าทำสัญญา นั่นคือเงื่อนไขประวัติส่วนตัวของคู่สัญญา ที่จะต้องนำมาพิจารณาเพราะเป็นสัญญาที่ต้องการความซื่อสัตย์และสุจริตระหว่างกันสูง ไม่ต่างกับการเข้าเป็นห้างหุ้นส่วน บุคคลจึงเป็นองค์ประกอบสำคัญของสัญญาและอาจจะถือเป็นองค์ประกอบที่สำคัญเป็นอันดับหนึ่งก็ว่าได้ เพราะสัญญาหุ้นส่วนเป็นบุคคลสิทธิที่ไม่ผูกพันบุคคลภายนอก จะบังคับได้ก็แต่ระหว่างกันเท่านั้น

                        โดยสรุป Shareholder Agreement คือ สัญญาที่ทำขึ้นเมื่อคนที่จะถือหุ้นในบริษัทแอบมาจับมือกันเพื่อที่จะออกเสียงโหวตในการประชุมผู้ถือหุ้นสนับสนุนกันเพื่อผลักดันให้บริษัทไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งตามที่ต้องการ เช่น อาจจะมาตกลงกันในเรื่องที่กล่าวมาข้างต้น หรือจะแบ่งเป็นหมวดใหญ่ๆ ดังต่อไปนี้

                        1.  กำหนดตัวกรรมการ
                        2.  กำหนดวิธีการเรียกประชุมกรรมการ
                        3.  กำหนดการโอนขายหุ้นในกลุ่มว่าจะต้องขายให้ใครก่อน เป็นต้น

                        ประเด็นว่า ผู้ถือหุ้นจะทำ Shareholder Agreement ให้แตกต่างจากข้อบังคับของบริษัท หรือผู้ถือหุ้นจะสามารถบังคับให้คนที่ได้ลงนามในข้อตกลง Shareholder Agreement เข้ามาแก้ไขข้อบังคับของบริษัทได้มากน้อยแค่ไหน

                        ก็ต้องกล่าวย้อนไปในเรื่องเอกสารสำคัญของบริษัท ประกอบด้วยอะไรบ้างสักนิด เอกสารสำคัญของบริษัทประกอบด้วย บริคณฑ์สนธิ ข้อบังคับของบริษัท รายการที่ต้องจดทะเบียนและสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น เมื่อเป็นเอกสารสำคัญเวลาจะแก้ไขจะต้องใช้มติพิเศษในการแก้ไข คือ ถ้าท่านเป็นผู้ถือหุ้นบริษัท A ทั้งหมด 78% อีกฝ่ายถือหุ้น 22% เวลาที่มีการประชุมผู้ถือหุ้นเพื่ออกเสียงขอแก้ไขสาระในข้อบังคับฯ คุณซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นเสียงข้างมาก ก็สามารถควบคุมเสียงได้เนื่องจากท่านเองมีคะแนนเสียงเกิน 3 ใน 4 หรือ 75% แล้ว และในการประชุมครั้งที่สองเพื่อยืนยันตามมติครั้งแรกนั้น มติในครั้งที่ 2 กรณีจะต้องมีคะแนนเสียง 2 ใน 3 หรือประมาณ 66% เพราะฉะนั้นแล้วเวลาที่ผู้ถือหุ้นจะมาตกลงกันใน Shareholder Agreement เพื่อให้สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือการคุมอำนาจเบ็ดเสร็จในบริษัทนั้น จะต้องสามารถมีเสียงหรืออัตราการถือหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่า 75% นั่นเอง

                        ตัวบริคณฑ์สนธินั้นเป็นเอกสารที่กำหนดกรอบวัตถุประสงค์ของบริษัท ซึ่งแยกออกเป็นวัตถุประสงค์ทั่วไปและวัตถุประสงค์เฉพาะ ซึ่งตัววัตถุประสงค์จะส่งผลถึงการกำหนดสิทธิและหน้าที่ของนิติบุคคลว่าจะต้องอยู่ภายใต้กรอบวัตถุประสงค์ตาม ป.พ.พ. มาตรา 66 และมาตรา 76 ส่วนข้อบังคับของบริษัทนั้นเปรียบได้กับธรรมนูญในการบริหารงาน ซึ่งจะกำหนดถึงเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างตัวบริษัทและกรรมการ และบริษัทกับผู้ถือหุ้น เช่น กำหนดไว้ว่าบริษัทจะต้องมีกรรมการกี่คน การเรียกประชุมจะต้องแจ้งล่วงหน้าเป็นเวลากี่วันในการเรียกประชุมกรรมการ ประชุมกันที่ไหน อย่างไร ส่งจดหมายเชิญประชุมได้ไหม หรือว่าต้องลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์ ถ้าหากเรียกประชุมแล้วจะเรียกประชุมอีกได้หรือไม่ จะประชุมทางสื่ออิเลคทรอนิคส์หรือจะประชุมโดยซึ่งหน้า งวดบัญชีของบริษัทจะกำหนดให้เริ่มตั้งแต่วันไหนถึงวันไหน เป็นต้น

                        ดังนั้น หากผู้ถือหุ้นของบริษัทจับมือกับผู้ถือหุ้นอีกกลุ่มเพื่อให้มีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 75% แล้ว ท่านก็สามารถจับมือกันกำหนดในสัญญา Shareholder Agreement ในเรื่องข้างต้นนี้ได้

                        ตามที่กล่าวมาแล้วใน หกเหลี่ยมกฎหมายธุรกิจ เรื่องการสร้าง Golden Share อภิสิทธิ์ของผู้ถือหุ้นเสียงข้างน้อย ว่า ป.พ.พ. มาตรา 1108 มีความสำคัญ เพราะในการประชุมตั้งบริษัทครั้งแรกจะต้องมีการกำหนดข้อบังคับของบริษัท ซึ่งตามปกติมักจะใช้ตามแบบฟอร์มของกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งความจริงเราอาจจัดองค์กรให้แตกต่างไปจากที่กระทรวงพาณิชย์กำหนดไว้ได้ อะไรที่ควรจะกำหนดเพิ่มเติม เช่น กำหนดเรื่องหุ้นบุริมสิทธิ เป็นต้น ข้อบังคับของบริษัทจึงเป็นสิ่งสำคัญ เวลาที่จะมีการแก้ไขจึงต้องการมติพิเศษ

                        นอกจากนั้น รายการอื่นๆ ที่ต้องนำไปจดทะเบียนไว้กับกระทรวงพาณิชย์ คือ ใครเป็นกรรมการ ข้อจำกัดอำนาจของกรรมการ เช่น บริษัท AB มีกรรมการ 8 คน เป็นของกลุ่มผู้ถือหุ้น A 4 คน และอีก 4 คน เป็นของฝ่ายผู้ถือหุ้น B การจะจำกัดอำนาจหรือคามอำนาจกันระหว่างสองกลุ่มก็โดยกำหนดว่าเวลาที่จะมีการลงนามในสัญญาใดๆ เพื่อผูกพันบริษัท ก็ให้ลงนามผูกพันโดยกรรมการคนใดคนหนึ่งจากกลุ่ม A ร่วมกับกรรมการคนใดคนหนึ่งจากกลุ่ม B เป็นต้น การจะกำหนดเช่นนี้ได้ต้องเกิดจากการประชุมผู้ถือหุ้นแล้วให้นำมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นนั้นไปจดทะเบียนไว้กับกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งรายการที่ว่าก็จะอยู่ในหนังสือรับรองของบริษัท (Affidavit) เวลาท่านไปคัดหนังสือรับรองบริษัทที่กรมทะเบียนฯ ก็จะเห็นรายการข้อจำกัดอำนาจของกรรมการอยู่ในข้อ 4 ของหนังสือรับรอง นั่นคือรายการอื่นๆ ที่อาจนำไปจดทะเบียน แต่การเป็นรายการอื่นๆ เท่ากับว่ามันไม่สำคัญมาก ดังนั้น เมื่อต้องการเปลี่ยนแปลงแก้ไขก็ทำได้โดยต้องการมติธรรมดาจากการประชุมผู้ถือหุ้นเท่านั้น ซึ่งมติธรรมดาก็เกิดจากว่าใครถือหุ้นฝ่ายข้างมากแล้วออกเสียงได้เสียงเกินกว่าครึ่งหนึ่งเวลาที่มีการประชุมผู้ถือหุ้นนับจากผู้ถือหุ้นที่เข้ามาประชุมออกเสียง ฝ่ายใดที่เสียงมากกว่าฝ่ายนั้นก็ชนะ

                        นอกจากนั้น รายการอื่นๆ ที่อาจนำไปจดทะเบียนได้อีกก็เช่น รายชื่อกรรมการ ความสำคัญของรายการนี้คือ หากท่านต้องการปลดหรือตั้งกรรมการเพิ่ม การแก้ไขก็ทำได้โดยมติธรรมดาในที่ประชุมผู้ถือหุ้นเช่นกัน

                        สำหรับสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น เป็นเอกสารสำคัญที่กฎหมายกำหนดไว้ว่า กรรมการต้องจัดทำสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น เพื่อเป็นหลักฐานว่า ใคร ณ เวลานั้นเป็นผู้ถือหุ้นบริษัทและผู้ถือหุ้นนั้นอยู่ที่ไหน ถือหุ้นเป็นจำนวนเท่าไร เพราะจะมีผลเวลาจ่ายเงินปันผล เขาก็จะจ่ายตามรายชื่อในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น

                        เมื่อเห็นแล้วว่าอะไรคือเอกสารสำคัญของบริษัท (บริคณฑ์สนธิ ข้อบังคับ รายการอื่นๆ ที่ต้องจดทะเบียนและสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น) จะทำให้เวลาเราทำสัญญา Shareholder Agreement จะได้วางแผนได้อย่างถูกต้องว่าผู้ถือหุ้นที่ต้องการมาจับมือกันนั้นจะกำหนดรายละเอียดในสัญญาอย่างไร นอกจากรายการใน Checklist ก็ต้องเข้าใจหลักกฎหมายธุรกิจที่อยู่เบื้องหลัง จะทำให้สัญญามีผลเป็นการควบคุมและบริหารบริษัทร่วมกันได้อย่างเป็นจริง ไม่ใช่เป็นเพียงตัวหนังสือเพราะปฏิบัติไม่ได้

ที่มา : วารสารกฎหมายใหม่ ปีที่ 4 ฉบับที่ 73 กรกฎาคม 2549
         (คอลัมน์หกเหลี่ยมกฎหมายธุรกิจ โดย ธีมา วรากุล)


เอานี่ไปอ่านแก้โง่ จะได้ไม่บ้าแต่สตาร์วอร์แล้วทะลึ่งมาจินตนาการเลอะเทอะตาม
บอร์ดการเมือง นี่โชคดีมาอยู่ที่นี่มีแต่คนบ้า ไม่งั้นความเห็นเฟอะฟะแบบนี้จะโดน
เค้าเชิญปรมาจารย์ออกด้วยตรีนไปแล้ว อันที่ให้ดูนี่มันของเมืองไทยนะ ถ้าของ BVI
ไม่ต้องกำหนดอะไรเลย ใครเป็นเจ้าของสามารถเปลี่ยนกฎระเบียบได้สามเวลาหลัง
อาหารหรือมากกว่านั้นก็ได้ เอกสารอะไรก็ไม่ต้อง แล้วจะไปเอาอะไรกับเค้า คิดดูสิ
ว่ามันเหมือนรูปแบบบริษัทซะที่ไหน บอกแล้วว่าเค้าแค่ฝากหุ้นไว้ให้ลูก อย่าอิจฉาดิ :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: jerasak ที่ 09-09-2007, 20:36
รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด?

คอลัมน์ สถานีคิดเลขที่ 12
โดย ประสงค์ วิสุทธิ์ prasong_lert@yahoo.com
...
บทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550  ที่มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า มีการเขียนเปิด
ช่องให้นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีรัฐบาลชุดปัจจุบันสามารถมีผลประโยชน์ทับซ้อน
ได้  เช่น แสวงหาผลประโยชน์สัมปทานของรัฐ รวมถึงช่วยเหลือให้รัฐมนตรีบางคน
พ้นผิดจาก พ.ร.บ.การจัดการหุ้นส่วนและหุ้นของรัฐมนตรี พ.ศ. 2543

บทเฉพาะกาลดังกล่าวอยู่ในมาตรา 298 วรรคสาม ซึ่งกำหนดมิให้นำบทบัญญัติใน
รัฐธรรมนูญบางมาตรามาบังคับใช้ อาทิ บทบัญญัติเรื่องนายกรัฐมนตรีต้องมาจาก
ส.ส. และต้องได้รับความเห็นชอบจากเสียง ส.ส. ในสภาไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ก็เพื่อ
ให้การบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลชุดนี้มีความต่อเนื่องจนกว่าจะมีรัฐบาลใหม่
มาจากการเลือกตั้ง

แต่ปรากฏว่า มีการพ่วงเรื่องมิให้นำบทบัญญัติตามมาตรา 267-269 ซึ่งจะมีผลทำให้
ความเป็นรัฐมนตรีต้องสิ้นสุดลงมาใช้บังคับนายกฯ และรัฐมนตรีในรัฐบาลชุดนี้ด้วย

...


อ่านดูก็เห็นได้ว่าเขาเขียนบทเฉพาะกาลเอาไว้อย่างรอบคอบดีแล้วนี่ครับ

การที่บทเฉพาะกาล มิให้นำบทบัญญัติมาตรา 267-269 มาบังคับใช้กับรัฐบาลปัจจุบัน
ก็เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลชุดนี้มีความต่อเนื่องจนกว่าจะมีรัฐบาลใหม่
มาจากการเลือกตั้ง เหมือนกับที่ระบุไม่ให้นำ บทบัญญัติเรื่องนายกรัฐมนตรีต้องมาจาก
ส.ส. และต้องได้รับความเห็นชอบจากเสียง ส.ส. ในสภาไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง มาบังคับใช้
กับรัฐบาลปัจจุบัน

เพราะนายกฯ และรัฐมนตรีในรัฐบาลนี้ เข้าดำรงตำแหน่งขณะใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราว 2549
ซึ่งไม่มีการระบุข้อห้ามเหล่านั้นเอาไว้มาตั้งแต่ต้น ซึ่งถ้าจะว่าหมกเม็ดก็ต้องไปนับกันตั้งแต่
รัฐธรรมนูญชั่วคราว 2549 แต่เขาก็มีเหตุผลอีกอยู่ดีว่ามีความจำเป็นต้องตั้งรัฐบาลเร่งด่วน
และบรรดานายกฯ และรัฐมนตรีทั้งหลายก็เข้าดำรงตำแหน่งกันแบบไม่ได้เตรียมตัวมาก่อน

ผมว่ากลายเป็นการหาเรื่องติ มากกว่าที่รัฐธรรมนูญจะจงใจหมกเม็ดจริงๆ นะครับ


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: jerasak ที่ 09-09-2007, 20:48
สำหรับคุณอยากประหยัดฯ

คุณไม่ต้องเหนื่อยหาข้ออ้างอะไรมาสร้างความชอบธรรมให้ทักษิณหรอกครับ
ความจริงก็รู้กันอยู่ว่าทักษิณซุกหุ้นไว้กับลูก ไม่เคยคิดยกให้จริงโดยพฤตินัย
แต่ยังคงอำนาจในการควบคุมจัดการไว้กับตัวเองตลอดมา

นั่นเท่ากับว่าตลอดเวลาที่ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในอีกด้านหนึ่ง
ก็ยังคงมีสถานะเป็นเจ้าของกิจการที่ได้ประโยชน์จากสัมปทานรัฐ  แต่อาศัย
ช่องโหว่ของกฎหมายดำรงตำแหน่งทางการเมืองโดยมีผลประโยชน์ทับซ้อน

ยิ่งการไปตั้งบริษัทในเกาะที่มุ่งทำมาหากินกับค่าจดทะเบียนบริษัท จนไม่มี
กฎระเบียบควบคุมอะไรสักอย่าง แล้วตัวทักษิณจะอ้างวันเวลาการทำธุรกรรม
ยังไงก็ได้ ในทางกลับกันจะเชื่อถือวันเวลาทำธุรกรรมที่อ้างเองนั้นได้อย่างไร

พอความจริงปรากฏว่าเรื่องที่อ้างไม่ตรงกับหลักฐานในประเทศไทยก็ใช้วิธีขอ
แก้ข้อมูลย้อนไปย้อนมาไม่รู้กี่รอบจนมั่วไปหมด ทำตัวเป็นผู้ร้ายปากแข็งตลอด

..ทุกเรื่องท้าว่าให้ดำเนินคดีในชั้นศาล พอเรื่องถึงศาลจริงๆ ก็ไม่ยอมมาสู้คดี..

ถึงขนาดนี้แล้วจะยกข้อกฎหมายมาให้ดูทำไมว่ามีช่องโหว่ตรงไหนบ้าง
มันไม่ช่วยให้ทักษิณสะอาดบริสุทธิ์ในสายตาคนที่นี่ขึ้นมาหรอกนะครับ
  :slime_smile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: snowflake ที่ 09-09-2007, 22:23
อ่านดูก็เห็นได้ว่าเขาเขียนบทเฉพาะกาลเอาไว้อย่างรอบคอบดีแล้วนี่ครับ

การที่บทเฉพาะกาล มิให้นำบทบัญญัติมาตรา 267-269 มาบังคับใช้กับรัฐบาลปัจจุบัน
ก็เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลชุดนี้มีความต่อเนื่องจนกว่าจะมีรัฐบาลใหม่
มาจากการเลือกตั้ง เหมือนกับที่ระบุไม่ให้นำ บทบัญญัติเรื่องนายกรัฐมนตรีต้องมาจาก
ส.ส. และต้องได้รับความเห็นชอบจากเสียง ส.ส. ในสภาไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง มาบังคับใช้
กับรัฐบาลปัจจุบัน

เพราะนายกฯ และรัฐมนตรีในรัฐบาลนี้ เข้าดำรงตำแหน่งขณะใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราว 2549
ซึ่งไม่มีการระบุข้อห้ามเหล่านั้นเอาไว้มาตั้งแต่ต้น ซึ่งถ้าจะว่าหมกเม็ดก็ต้องไปนับกันตั้งแต่
รัฐธรรมนูญชั่วคราว 2549 แต่เขาก็มีเหตุผลอีกอยู่ดีว่ามีความจำเป็นต้องตั้งรัฐบาลเร่งด่วน
และบรรดานายกฯ และรัฐมนตรีทั้งหลายก็เข้าดำรงตำแหน่งกันแบบไม่ได้เตรียมตัวมาก่อน

ผมว่ากลายเป็นการหาเรื่องติ มากกว่าที่รัฐธรรมนูญจะจงใจหมกเม็ดจริงๆ นะครับ

กฏหมายให้เวลาจัดการภายใน 120 วันหลังรับตำแหน่ง
คุณชายอุ๋ย ยังทำทัน
ไม่ทราบว่า นายขิงแก่ขิงเน่าสองคนนี่ มีอะไรพิการถึงไม่สามารถปฏิบัติได้

นอกจากไม่เคารพกฎหมายแล้ว จริยธรรมที่ว่ามีกันมากมายก็คงหามีไม่

คนที่มาเถียงแทนให้ ไม่ทราบว่ามีกี่มาตรฐาน
จึงนิยมชมชอบพวกมีคุณธรรมจอมปลอม ปากว่าตาขยิบ
นอกเหนือจากเป็นพวกเผด็จการ บ้าอำนาจ
ที่ชาวบ้านมิได้เต็มใจมอบให้ ยึดเอาไปด้วยกำลัง


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: snowflake ที่ 09-09-2007, 22:30
อ้าว .. "หนูเฟ๊ค" ไม่ชอบเหรอ .. "ที่ให้ถือหุ้นได้"

พอเลือกตั้งครั้งนี้ "พวกนอมินีเหลี่ยม เครือญาติ และพรรคพวก" ได้เป็นรัฐบาล

ก็จะได้ถือหุ้นได้ ไม่ต้องไปฝากไว้ที่ "คนใช้ คนสวน หรือคนขับรถ" .. ไง   :slime_v:

...


รธน. ใหม่ ไม่ได้อนุญาตค่ะ
แค่มีบทเฉพาะกาล ยกเว้นให้ พวก “ขิงเน่า” เท่านั้น


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 09-09-2007, 22:32
สำหรับคุณอยากประหยัดฯ

คุณไม่ต้องเหนื่อยหาข้ออ้างอะไรมาสร้างความชอบธรรมให้ทักษิณหรอกครับ
ความจริงก็รู้กันอยู่ว่าทักษิณซุกหุ้นไว้กับลูก ไม่เคยคิดยกให้จริงโดยพฤตินัย
แต่ยังคงอำนาจในการควบคุมจัดการไว้กับตัวเองตลอดมา

นั่นเท่ากับว่าตลอดเวลาที่ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในอีกด้านหนึ่ง
ก็ยังคงมีสถานะเป็นเจ้าของกิจการที่ได้ประโยชน์จากสัมปทานรัฐ  แต่อาศัย
ช่องโหว่ของกฎหมายดำรงตำแหน่งทางการเมืองโดยมีผลประโยชน์ทับซ้อน

ยิ่งการไปตั้งบริษัทในเกาะที่มุ่งทำมาหากินกับค่าจดทะเบียนบริษัท จนไม่มี
กฎระเบียบควบคุมอะไรสักอย่าง แล้วตัวทักษิณจะอ้างวันเวลาการทำธุรกรรม
ยังไงก็ได้ ในทางกลับกันจะเชื่อถือวันเวลาทำธุรกรรมที่อ้างเองนั้นได้อย่างไร

พอความจริงปรากฏว่าเรื่องที่อ้างไม่ตรงกับหลักฐานในประเทศไทยก็ใช้วิธีขอ
แก้ข้อมูลย้อนไปย้อนมาไม่รู้กี่รอบจนมั่วไปหมด ทำตัวเป็นผู้ร้ายปากแข็งตลอด

..ทุกเรื่องท้าว่าให้ดำเนินคดีในชั้นศาล พอเรื่องถึงศาลจริงๆ ก็ไม่ยอมมาสู้คดี..

ถึงขนาดนี้แล้วจะยกข้อกฎหมายมาให้ดูทำไมว่ามีช่องโหว่ตรงไหนบ้าง
มันไม่ช่วยให้ทักษิณสะอาดบริสุทธิ์ในสายตาคนที่นี่ขึ้นมาหรอกนะครับ
  :slime_smile:
จับแพะแกะมาผสมพันธุ์มั่วอีกแล้วนะตัวเอง ที่ว่าทักษิณไม่มาสู้คดี จำได้ใช่มั้ย
สมัยเป็นนายกยังโดนวางระเบิดคาร์บอมพ์ที่เรียกคาร์บ๊องส์กัน สุดท้ายคดีอยู่ที่
ศาลทหารพวกที่ไปบอกคาร์บ๊องส์เงียบหมด ตัวการใหญ่เป็นทหารก็จับไม่ได้
ซ้ำยังทำคดีแบบเงียบกริบ แล้วจะหาความยุติธรรมในยุคเผด็จการทหารจากไหน
กลับมาสู้คดีตอนนี้ ไอ้ตัวการใหญ่มันบ้าเลือดลอบสังหารขึ้นมาใครจะรับผิดชอบ
ไม่ใช่แค่พูดเอามันส์ปากสุนัขไปเรื่อยๆ ว่าไม่ยอมมาสู้คดีจริงๆ อาจมีคนบางกลุ่ม
กะลอบสังหารจริงๆ ก็ได้ เพราะกลัวว่าตอนนี้ถึงตัวอยู่ต่างประเทศแต่ความนิยมยัง
มีอยู่มาก การกำจัดด้วยการฆ่าคงเป็นการตัดความหวังของกลุ่มรากหญ้าได้ดีที่สุด
จะเอาใครมารับประกันความปลอดภัยได้ จริงๆ มันก็รับประกันส่งเดชไปงั้นแหละ

สำหรับเรื่องทรัพย์สินของทักษิณที่อยู่ต่างประเทศ เนื่องจากมันไม่ได้เป็นบริษัท
ที่ทำมาหารายได้อะไร เพียงแค่ฝากหุ้นไว้ให้ลูก กรรมการจะเซ็นต์หรือไม่เซ็นต์
จากเหตุการณ์ที่ผ่านมาก็ไม่มีผล เพราะบริษัทไม่ได้ทำธุรกรรมอะไรเลย นอกจาก
ขายหุ้นชินคอร์ปให้พานทองแท้ เรื่องขายหุ้นนี้ไม่จำเป็นต้องกรรมการเซ็นต์ก็ได้
เจ้าหน้าที่ซักคนหรือตัวแทนก็เซ็นต์ได้แล้ว ถ้าได้รับมอบอำนาจจากเจ้าของ อย่า
ลืมว่ามันไม่ใช่บริษัทที่ตั้งขึ้นด้วยกฎหมายประเทศไทย เคยซื้อของแล้วต้องให้
กรรมการผู้มีอำนาจลงนามเซ็นต์ขายหรือเปล่า


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: snowflake ที่ 09-09-2007, 22:44
ลองมาดูว่า คนร่างฯ เขาว่ายังไงกันบ้าง

--------------------------------------------------------------------------------------------------

กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญรายหนึ่งยอมรับว่า การที่บทเฉพาะกาลเขียนในลักษณะ
ดังกล่าวเท่ากับเป็นการเปิดช่องให้รัฐมนตรีในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ สามารถกระทำ
ในลักษณะที่มีผลประโยชน์ขัดกันหรือผลประโยชน์ทับซ้อนได้  แต่คิดว่าผู้ที่ร่างฯ มิได้
มีความมุ่งหมายเช่นนั้น

นายอัชพร จารุจินดา รองเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาและกรรมาธิการยกร่าง
รัฐธรรมนูญ กล่าวว่า การที่บทเฉพาะกาลบัญญัติเรื่องดังกล่าวไว้เพราะเห็นว่าเป็น
เรื่องใหม่ รัฐมนตรีอยู่ในตำแหน่งอีกไม่กี่เดือน จึงไม่ควรมีการตรวจสอบให้ยุ่งยาก
และคิดว่า คงไม่มีรัฐมนตรีคนใดกระทำการในลักษณะดังกล่าว


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 09-09-2007, 23:30
ถามบังคับตอบเลยวุ้ย ตอบตั้งหลายรอบซ้ำซากแล้ว อ่านไม่เข้าหัวเองนี่หว่า ไหนว่าเป็นปรมาจารย์

เลิกอ้าง กฎหมาย BVI เจ้าของบริษัท จะเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามอะไรก็ได้ ซะที ตอบมาคำเดียว ถ้าไม่มีกรรมการผู้มีอำนาจลงนามนี้แล้ว ลูกมันจะได้หุ้นมั้ย ถ้าไม่สำคัญ ทำไมถึงเสรือกไม่ตั้งหมาตัวอื่นมาเป็น ตอบมา
นายพานทองแท้ฯ ได้ซื้อหุ้นทั้งหมดของ Ample Rich ไปตั้งแต่วันที่ 1 ธ.ค. 2543 และ
นายพานทองแท้ฯ แจ้งว่า Ample Rich เป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องของตน ประกอบกับนายพานทองแท้ฯ
เป็นบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว ก.ล.ต. จึงไม่มีเหตุใดที่จะสันนิษฐานว่า Ample Rich ถือหุ้นใน 
SHIN แทนบุคคลอื่น ซึ่งกรณีอื่น ๆ ก็จะพิจารณาเช่นเดียวกันนี้

นายพานทองแท้ได้หุ้นไปตั้งแต่ 1 ธ.ค. 43 แล้วยังสงสัยอะไรอีก เจ้าของเก่าโอนให้เจ้าของใหม่ก็จบ
กรรมการผู้มีอำนาจลงนามไม่เกี่ยวกับการโอนหุ้นซะหน่อย ที่ไม่ตั้งหมาเพราะหมามันไม่รู้หนังสือไงถามได้
ตอบชัดขนาดนี้แล้วยังจะถามซ้ำซากอีกหรือเปล่าหว่า ปรมาจารย์ลิงอะไรวะเนี่ย บื้อฉิบ

ก่อนที่พ.ต.ท.ทักษิณ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แอมเพิลริชได้เปิดบัญชีหลักทรัพย์ไว้กับ บล.ยูบีเอส โดยมีชื่อ พ.ต.ท.ทักษิณ เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม แต่หลังจากที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ขายหุ้นแอมเพิลริช ให้นายพานทองแท้ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2543 แล้ว ในช่วงปี 2543-2548 ไม่พบว่าได้มีการแจ้งเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิลริช ที่เปิดไว้กับ บล.ยูบีเอส แต่อย่างใด

จนกระทั่งปี 2549 ในช่วงที่มีการขายหุ้นให้กับกองทุนเทมาเส็ก จึงค่อยเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีดังกล่าวเป็นนายพานทองแท้ และ น.ส.พิณทองทา จะให้ฉายซ้ำอีกกี่รอบเหรอวะแก๊ส

ที่อ้างว่ากรรมการผู้มีอำนาจลงนามถูกแต่งตั้งโดยบอร์ดหรือเจ้าของ จะปลดอะไรยังไงก็ได้
บอกมาว่ามันไม่มีอำนาจทางกฏหมาย และ สามารถให้คุณให้โทษกับบริษัท ใช่มั้ย ตอบมา

ก็บริษัทไม่มีธุรกรรมอะไรในช่วงที่ทักษิณเป็นนายก แล้วจะเอาคุณเอาโทษอะไรล่ะ อยากรู้ขอบเขตอำนาจ
ของกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม ต้องไปดูกฎระเบียบของบริษัทนั้นถึงรู้ จินตนาการเอาไม่ได้หรอก ไม่ใช่ว่า
กรรมการจะมีอำนาจทุกอย่างในบริษัท ทำอะไรก็ได้ สงสัยไม่เคยเปิดบริษัทมั้งนั่น

 โถ ตอบไม่ตรงอีกตามเคย
จะบอกว่าไม่มีธุรกรรมอะไรในช่วงที่มันเป็นนายก ... มันก็ไม่มีเลยไม่ผิดสิท่า ไอ้บ้า

นี่มันเป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีนะ หน้าอย่างไอ้เหลี่ยมเหรอจะไปให้คนอื่นมาทำให้
นี้ถ้ามันไม่สำคัญอย่างที่เอ็งว่า ไอ้ทักษิณ มันจะเก็บงำไว้ทำไม ตั้งแต่มันเข้ารับตำแหน่งนายก จนวันที่มันจะขายหุ้นให้เทมาเส็ก มันค่อยมาเปลี่ยนกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีเป็นลูกๆมัน
ทำไมต้องรอมันมาเปลี่ยนให้ล่ะ ทำไมไม่ขายๆไปซะ


มันแจ้ง ปปช ตอนไหนว่ามันมีสัมพันธ์สวาทอะไรกับแอมเพิล ริช... ทำไมมันไม่เคยพูดถึงเล๊ย ตอบมา
ลูกมันจะโตเท่าควายหรือเล็กเท่าหนู ผมก็ไม่สน
มันเอาหุ้นไปฝากไว้ที่เกาะไม่รักชาตินั่น แล้วเก็บอำนาจผู้ลงนามไว้เพิ่งคายออกตอนปี 49 ให้ลูกเนี่ย มันผิดหรือเปล่า ตอบมา
ป.ป.ช. ให้แสดงบัญชีทรัพย์สินไม่ใช่เหรอ ต้องแจ้งด้วยเหรอว่ามีสัมพันธ์สวาท
ไม่ผิด  

ต้องแจ้ง ปปช สิวะ นาฬิกา แหวน เพชร สร้อยคอ รถยนต์ยังต้องแจ้งเลย หนี้สิน ที่ดิน ฯลฯ ถ้าไม่รู้ก็บอก

กฏหมาย BVI มันจะว่าไง ผมก็ไม่สนใจ
ผมสนใจแค่มันเข้าข่ายผิดกฏหมายของ ปปช โดย ปกปิดทรัพย์สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือไม่ และมีผลประโยชน์ทับซ้อนของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือไม่ ตอบมา

จะผิดได้ยังไงในเมื่อนายพานทองแท้เป็นชายที่บรรลุนิติภาวะแล้ว เป็นผู้ถือหุ้นไม่ใช่ทักษิณซะหน่อย

กลับไปย้อนอ่านคำตอบผม ผมไม่ได้ด่าไอ้เชี่ยโอ๊ค

ชัดเจนแล้วนะ อย่ามาถามซ้ำซากอีก ขี้เกียจพูดซ้ำๆ ว่ะ :slime_bigsmile:

ถ้าจะแถอีก อย่าตอบเลย ขี้เกียจพูดอะไรซ้ำๆเช่นกัน แถอยู่ได้
เอ็งก็เลิกแถเหอะ ตอบอะไรไม่เคยตรง


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 10-09-2007, 00:51
ถ้ามีอำนาจลงนามในกิจการของบริษัทฯ ก็เท่ากับทำธุรกิจนั่นแหละ อย่าไปแถออกไปใกลเลยครับ


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ริวเซย์ ที่ 10-09-2007, 04:49
ความคิดที่ผิดเพี้ยน เห็นแก่ตัว ความคิดที่จะช่วยให้คนอื่นพ้นผิด

มันย่อมขัดต่อความรู้สึกของประชาชนที่รักชาติบ้านเมืองอยู่แล้วล่ะแถ


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 10-09-2007, 06:34
ถ้ามีอำนาจลงนามในกิจการของบริษัทฯ ก็เท่ากับทำธุรกิจนั่นแหละ อย่าไปแถออกไปใกลเลยครับ

แก่ขนาดนี้สงสัยไม่เคยจดทะเบียนเปิดบริษัท กรรมการผู้มีอำนาจลงนามไม่ได้หมายถึง
จะลงได้ทุกอย่าง จะเซ็นต์เช็คจ่ายเงินยังต้องดูเงื่อนไขเลย ไปอ่านเพิ่มมาหน่อยนะ

อยากจะเอาผิดให้ได้ก็พยายามเอากฎหมายไทยไปผูกกับบริษัทจดทะเบียนต่างประเทศ
อำนาจหน้าที่กรรมการผู้มีอำนาจลงนามแม้จะเป็นกฎหมายไทยก็เหอะถูกจำกัดด้วยกฎ
ระเบียบบริษัทที่กำหนดตั้งแต่ตอนตั้งบริษัท ผู้มีอำนาจที่แท้จริงในบริษัทยังไงก็ต้องเป็น
เจ้าของ โดยเฉพาะบริษัทเจ้าของคนเดียวแบบนี้ จะพยายามโยงให้เห็นว่าขายหุ้น ชินคอร์ป
ต้องให้กรรมการผู้มีอำนาจลงนามเซ็นต์ อย่าว่าแต่กฎหมาย BVI เลย กฎหมายไทยก็เหอะ
เคยซื้อรถมือสองแล้วเจ้าของเต๊นท์ต้องมาเซ็นต์ด้วยเหรอ ยอมรับซะเถอะว่าบริษัทนั่นมัน
ไม่ใช่บริษัททำมาหากินแบบที่ต้องการให้เป็น แค่พ่อจะให้หุ้นลูกคงไม่ทำให้ชาติพังหรอก
อย่าอิจฉามากนักเลย เงินของเค้าหุ้นของเค้าทำมาหากินสุจริตดันไปอิจฉาอีก คนเรา


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 10-09-2007, 08:02
เออ..เอาเข้าไป...แถให้ตลอด อิ อิ

อ้อ...คนเขียนบทความรู้จักคำว่า "บทเฉพาะกาล" กันบ้างมั๊ย
บทเฉพาะกาลก็คือบทเฉพาะการ เป็นข้อยกเว้นนั่นแหละ ไม่นึกว่าจะเถรตรงกันขนาดนี้
รัฐธรรมนูญที่ออกมาหลังการปฏิวัติ ก็ต้องปกป้องคนที่ทำงานให้ประเทศชาติอยู่แล้ว
เหมือนมาตราอื่น ๆ ในบทเฉพาะกาล ที่นักวิชาการหัวเหลี่ยมบอกว่า 309 เป็นบทนิรโทษกรรมนั่นแหละ


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: เบื่อเหลี่ยม ที่ 10-09-2007, 08:18
ยังไงก็ ยัง คงเป็น
SCUMPASTE   :slime_sentimental:
ไม่เปลี่ยนแปลงเลย  :slime_v:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-09-2007, 08:24
แก่ขนาดนี้สงสัยไม่เคยจดทะเบียนเปิดบริษัท กรรมการผู้มีอำนาจลงนามไม่ได้หมายถึง
จะลงได้ทุกอย่าง จะเซ็นต์เช็คจ่ายเงินยังต้องดูเงื่อนไขเลย ไปอ่านเพิ่มมาหน่อยนะ

อยากจะเอาผิดให้ได้ก็พยายามเอากฎหมายไทยไปผูกกับบริษัทจดทะเบียนต่างประเทศ
อำนาจหน้าที่กรรมการผู้มีอำนาจลงนามแม้จะเป็นกฎหมายไทยก็เหอะถูกจำกัดด้วยกฎ
ระเบียบบริษัทที่กำหนดตั้งแต่ตอนตั้งบริษัท ผู้มีอำนาจที่แท้จริงในบริษัทยังไงก็ต้องเป็น
เจ้าของ โดยเฉพาะบริษัทเจ้าของคนเดียวแบบนี้ จะพยายามโยงให้เห็นว่าขายหุ้น ชินคอร์ป
ต้องให้กรรมการผู้มีอำนาจลงนามเซ็นต์ อย่าว่าแต่กฎหมาย BVI เลย กฎหมายไทยก็เหอะ
เคยซื้อรถมือสองแล้วเจ้าของเต๊นท์ต้องมาเซ็นต์ด้วยเหรอ ยอมรับซะเถอะว่าบริษัทนั่นมัน
ไม่ใช่บริษัททำมาหากินแบบที่ต้องการให้เป็น แค่พ่อจะให้หุ้นลูกคงไม่ทำให้ชาติพังหรอก
อย่าอิจฉามากนักเลย เงินของเค้าหุ้นของเค้าทำมาหากินสุจริตดันไปอิจฉาอีก คนเรา

แถ ไม่เข้าท่าอีกละ

ไปอ่านกฏหมาย ปปช ไป กฏหมาย BVI เกี่ยวห่าอะไร อ้างอยู่นั่นแหละ มันจะมีกฏหมาย ABC ของต่างชาติ ปปชก็ไม่สนโว้ย
เคสซื้อรถมือสองเกี่ยวอะไรด้วย เทียบก็เทียบให้มันเข้าท่าหน่อย
แค่พ่อโอนหุ้นให้ลูกไม่ทำให้ชาติพังหรอก พูดมาได้ ไอ้ดีลชินคอร์ปเนี้ย ทำไอ้ศิโรตม์ กับข้าราชการหลายคน ต้องออกราชการไปเลย 55 แย่นะ ข้อหาทำให้รัฐสูญเสียรายได้จากการชักดาบภาษีชองชินคอร์ป สงสารครอบครัวเขาไหมแถ

หากินสุจริตตายห่า แก้สัมปทานจนสัญญาสัมปทานพรุนหมด พูดมาได้


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: สุนัขเอกพันธุ์ขี้เรื้อนเหลี่ยมไม่รับเลี้ยง ที่ 10-09-2007, 08:30
ทำไมต้องว่าเพื่อนเอกด้วย เอกไม่ยอม เอกไม่ยอม :slime_smile2:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 10-09-2007, 08:33
แถ ไม่เข้าท่าอีกละ

ไปอ่านกฏหมาย ปปช ไป มันกฏหมาย BVI เกี่ยวห่าอะไร อ้างอยู่นั่นแหละ มันจะมีกฏหมาย ABC ของต่างชาติ ปปชก็ไม่สนโว้ย
เคสซื้อรถมือสองเกี่ยวอะไรด้วย เทียบก็เทียบให้มันเข้าท่าหน่อย
แค่พ่อโอนหุ้นให้ลูกไม่ทำให้ชาติพังหรอก พูดมาได้ ไอ้ดีลชินคอร์ปเนี้ย ทำไอ้ศิโรตม์ กับข้าราชการหลายคน ต้องออกราชการไปเลย 55 แย่นะ ข้อหาทำให้รัฐสูญเสียรายได้จากการชักดาบภาษีชองชินคอร์ป สงสารครอบครัวเขาไหมแถ

หากินสุจริตตายห่า แก้สัมปทานจนสัญญาสัมปทานพรุนหมด พูดมาได้

พูดไม่รู้เรื่องโว้ยไอ้นี่ เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม ถือเป็นทรัพย์สินที่ต้องแจ้งด้วยหรือไง
ส่วนเรื่องโอนลอยซี้อขายไม่เข้าใจ ก็ไม่มีปัญญาอธิบายแล้วหละ จินตนาการเอาแล้วกัน
อยากให้เป็นอะไรก็เอาเหอะ เรื่องดีลชินคอร์ปแปะเป็นล้านกว่ารอบแล้วไอ้ผู้เกี่ยวข้องเนี่ย
ไม่โง่ก็น่าจะมองออกใครเป็นใคร เรื่องผู้ใหญ่เค้าแย่งของกันทำคนอื่นเดือดร้อนไปด้วย
จะไปโทษทักษิณได้ไง เห็นข้อมูลส่วนนั้นแล้วอย่าทำไม่รู้ไม่ชี้แกล้งโง่สิ หรือว่าโง่จริงหว่า :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-09-2007, 08:33
ยังไงก็ ยัง คงเป็น
SCUMPASTE   :slime_sentimental:
ไม่เปลี่ยนแปลงเลย  :slime_v:


ถ้าด่าไอ้แก๊ส ไม่เป็นไร  :slime_bigsmile:

แต่ห้ามด่า snowflake นะ  :slime_sentimental:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: สุนัขเอกพันธุ์ขี้เรื้อนเหลี่ยมไม่รับเลี้ยง ที่ 10-09-2007, 08:36
ท่านทักษิณของเอกม่ายด้ายโกงน๊ะ อย่ามาว่าอีกแน๊ะ เด๋วเอกกัดเลยน๊ะ :slime_p:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-09-2007, 08:40
พูดไม่รู้เรื่องโว้ยไอ้นี่ เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม ถือเป็นทรัพย์สินที่ต้องแจ้งด้วยหรือไง
ส่วนเรื่องโอนลอยซี้อขายไม่เข้าใจ ก็ไม่มีปัญญาอธิบายแล้วหละ จินตนาการเอาแล้วกัน
อยากให้เป็นอะไรก็เอาเหอะ เรื่องดีลชินคอร์ปแปะเป็นล้านกว่ารอบแล้วไอ้ผู้เกี่ยวข้องเนี่ย
ไม่โง่ก็น่าจะมองออกใครเป็นใคร เรื่องผู้ใหญ่เค้าแย่งของกันทำคนอื่นเดือดร้อนไปด้วย
จะไปโทษทักษิณได้ไง เห็นข้อมูลส่วนนั้นแล้วอย่าทำไม่รู้ไม่ชี้แกล้งโง่สิ หรือว่าโง่จริงหว่า :slime_bigsmile:

อ่านดีๆ ไอ้แถ
ในกรณีนี้มันเป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนามบัญชีซึ่งสำคัญกับเงินๆทองๆทั้งนั้น มันเท่ากับลูกพี่ของเอ็งยังทำธุรกิจอยู่โดยไม่ได้แจ้ง ปปช
และกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม มีอำนาจในการจัดการหุ้นนั้นได้ หรือเอ็งจะเถียงว่ามันทำไม่ได้

ปปช รู้ช้าไปนิด (เพราะโดนครอบงำด้วย) เพราะดีลชินคอร์ปเพิ่งมาเกิดขึ้นเมื่อปี 2549 และเพิ่งได้รู้กันว่าไอ้หน้าเหลี่ยมมันยังคงอำนาจของหุ้นพวกนั้นไว้โดยการที่เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนามบัญชี

ไม่เป็นไร อยากแถต่อก็เชิญ ผมก็จนปัญญาจะเถียงกะอีช่างแถเหมือนกันว่ะ แถไม่เข้าท่า


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 10-09-2007, 08:44
‘มีชัย’ชี้หุ้น 2 รมต.ขิงแก่ไม่ขัด รธน.
 ที่โรงแรมรอยัลคลิฟบีช พัทยา นาย มีชัย ฤชุพันธุ์ ประธาน สนช. กล่าวถึงกรณีรัฐ มนตรี 2 รายมีหุ้นในบริษัททำให้อาจขัดคุณสมบัติตามรัฐธรรมนูญ 50 ว่า รัฐธรรมนูญฉบับใหม่มีบทเฉพาะกาลยกเว้นในเรื่องนี้คือไม่ให้นำคุณสมบัติต้องห้ามเหล่านี้มาบังคับใช้กับรัฐมนตรีในรัฐบาลชุดนี้ เมื่อยกเว้นแล้วก็ไม่ต้องแจ้ง ส่วนที่การ อ้างถึง พ.ร.บ.การจัดการหุ้นของรัฐมนตรี ปี 43 ได้ห้ามถือหุ้นเกิน 5% ไว้ เรื่องนี้รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดได้ยกเว้นเอาไว้ก็ไม่รู้ว่าจะทำอะไรได้ “เรื่องนี้รัฐมนตรีต้องคิดให้ได้เองอาจเป็นการบังเอิญหลงลืมว่าไปถือหุ้นที่บริษัทใดบ้าง แล้วยิ่งไม่ได้เป็นบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ก็อาจหลงลืมได้” นายมีชัย กล่าว.
http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=139301&NewsType=1&Template=1

ดูไอ้แก่หน้าสุนัขมันแถ ไม่กี่วันนี้หมาตัวไหนคุยว่า รัฐธรรมนูญจะช่วยลดการ ผูกขาดอำนาจและทำให้การเมืองดำเนินไปอย่างโปร่งใส มีคุณธรรมและจริยธรรม วะไอ้ถุย

นายมีชัยกล่าวว่า ในช่วงที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าเราจะมีความคิดที่แตกต่างกันบ้าง แต่เราต้องไม่แตกแยกกัน และขอให้ทุกคนช่วยกันสร้างความสมานฉันท์ให้เกิดขึ้นในบ้านเมืองให้จงได้ รวมทั้งขอให้การเลือกตั้งที่จะเกิดขึ้นในเร็ววันนี้เป็นไปโดยบริสุทธ์ยุติธรรม ซึ่งจะเป็นไปได้นั้น ต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะพี่น้องประชาชนต้องช่วยกันสอดส่องดูแลไม่ให้การกระทำทุจริตเกิดขึ้น ท้ายนี้ ต้องขอขอบคุณสภาร่างรัฐธรรมนูญ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี ศาลฎีกา ศาลปกครองสูงสุด คณะกรรมการการเลือกตั้ง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทุกภาคส่วน ตลอดจนประชาชนไทย ที่ร่วมแรงร่วมใจในการดำเนินการจัดทำและเสนอแนะความคิดเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญ และขอบคุณสื่อมวลชนที่ช่วยนำข่าว สารเกี่ยวกับการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญไปสู่ประชาชนมาโดยตลอด ทำให้ประชาชนเกิดการตื่นตัวอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รัฐธรรมนูญจะช่วยลดการ ผูกขาดอำนาจและทำให้การเมืองดำเนินไปอย่างโปร่งใส มีคุณธรรมและจริยธรรม ยังประโยชน์สูงสุดให้เกิดแก่ประชาชน


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-09-2007, 08:49
อย่าหยุดแถต่อสิ เอาต่อๆ กำลังสนุก

http://www.bangkokbiznews.com/2007/06/18/news_23944535.php?news_id=23944535

คตส.แกะรอย"ทักษิณ" พบ4 ปมซุกหุ้นภาคสอง

จากกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.) มีมติให้ออกคำสั่งอายัดทรัพย์สินบัญชีเงินฝากของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และคุณหญิงพจมาน ชินวัตร ทุกบัญชี ทุกธนาคาร รวมทั้งอายัดทรัพย์สินบัญชีเงินฝากที่ได้จากการขายหุ้นบริษัทชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ ชิน คอร์ป ให้แก่กลุ่มเทมาเส็ก จำนวน 21 บัญชี เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ที่ผ่านมา
ประเด็นหลักที่ คตส.นำมาตั้งข้อกล่าวหาเพื่ออายัดทรัพย์ของ พ.ต.ท.ทักษิณ คือ ซุกหุ้นภาค 2 โดยเอกสารสรุปผลการตรวจสอบของ คตส.ระบุโดยสรุปว่า “มีพยานหลักฐานที่เชื่อได้ว่า พ.ต.ท.ทักษิณ และภรรยา ยังคงถือไว้ซึ่งหุ้นธุรกิจสัมปทานของบริษัทชิน คอร์ป ตั้งแต่เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รวมทั้งยังใช้อำนาจหน้าที่เอื้อประโยชน์ต่อกิจการชินคอร์ปหลายประการ

“ก่อนที่ คตส.ชุดใหญ่จะลงมติให้มีการอายัดทรัพย์ ได้มีการเสนอหลักฐานที่เป็นเอกสาร "ลับ" ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทแอมเพิล ริช อินเวสต์เมนท์ จำกัด พิจารณา ซึ่งกรรมการส่วนใหญ่พิจารณาแล้วเห็นว่าหลักฐานชินดังกล่าวมีน้ำหนักเพียงพอที่จะเป็นเหตุผลเพื่ออายัดทรัพย์ของ พ.ต.ท.ทักษิณ กับพวก เพราะหลักฐานชิ้นดังกล่าว ไม่อาจเชื่อเป็นอื่นได้นอกจากซุกหุ้น”แหล่งข่าวระบุ

หากย้อนกลับไปดูการตรวจสอบการซื้อขายหุ้นชินคอร์ปในช่วง 9 เดือน ที่ผ่านมา จะพบว่า "แอมเพิล ริชฯ" ที่จัดตั้งขึ้นที่หมู่เกาะบริติช เวอร์จิน ไอส์แลนด์ เมื่อ 12 มีนาคม 2542 ด้วยทุนจริงเพียง 1 ดอลลาร์สหรัฐ โดย พ.ต.ท.ทักษิณ คือเป้าหมายใหญ่ในการตรวจสอบ และเป็นประเด็นหลักที่นำมาใช้ในการอายัดทรัพย์ของ พ.ต.ท.ทักษิณ กับพวก โดยประเด็นที่ คตส.ตรวจสอบที่น่าสนใจมี 4 ประเด็นดังนี้ คือ

1. กรณีการซื้อขายหุ้นชินคอร์ประหว่าง พ.ต.ท.ทักษิณ กับ แอมเพิล ริชฯ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2542 พบว่าคุณหญิงพจมานได้ออกเช็คสั่งจ่ายให้กับบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ (บล.) แอสเซท พลัส จำกัด (มหาชน) เพื่อชำระค่าหุ้นจำนวน 329.2 ล้านบาท ให้กับ แอมเพิล ริชฯ จากนั้น บล.แอสเซท พลัส ได้ออกเช็คจ่ายค่าหุ้นคืนให้กับ พ.ต.ท.ทักษิณ แต่เช็คฉบับดังกล่าวกลับถูกนำไปเข้าบัญชีคุณหญิงพจมานที่ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขารัชโยธิน แทนที่จะวิ่งไปเข้าบัญชีของ พ.ต.ท.ทักษิณ ที่ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)

2. กรณีที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อ้างว่าขายบริษัทนี้ให้แก่นายพานทองแท้ ชินวัตร บุตรชายที่บรรลุนิติภาวะแล้ว เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2543 ในราคา 1 ดอลลาร์สหรัฐ ทำให้หุ้นชินคอร์ปจำนวน 32.92 ล้านหุ้น ที่ แอมเพิล ริชฯ ถืออยู่ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของนายพานทองแท้ทั้งจำนวน แต่จากการตรวจสอบของ คตส.พบว่า ในปี 2542 ก่อนที่ พ.ต.ท.ทักษิณ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แอมเพิล ริชฯ ได้เปิดบัญชีหลักทรัพย์ไว้กับ บล.ยูบีเอส เอจี ประเทศสิงคโปร์ โดยมีชื่อของ พ.ต.ท.ทักษิณ เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม และนายเลา วีเตียง นักธุรกิจชาวสิงคโปร์ เป็นผู้รับมอบอำนาจลงนาม

ภายหลังจากที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ขายหุ้นแอมเพิล ริชฯ ให้นายพานทองแท้เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2543 แล้ว ในช่วงปี 2543-2548 ไม่พบว่าได้มีการแจ้งเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิล ริชฯ หรือผู้มีรับมอบอำนาจลงนามในบัญชีที่เปิดไว้กับบริษัทหลักทรัพย์(บล.) ยูบีเอส เอจี กระทั่งปี 2549 หลังมีการขายหุ้นให้กับกองทุนเทมาเส็ก จึงค่อยเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีดังกล่าวเป็นนายพานทองแท้ และ น.ส.พิณทองทา

“ที่ผ่านมาอนุกรรมการพยายามขอเอกสารหลักฐานการเปลี่ยนแปลงรายชื่อกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีที่แอมเพิล ริชฯ ไปเปิดไว้กับ บล.ยูบีเอส เอจี จากนางกาญจนาภา หงส์เหิน เลขานุการส่วนตัวของคุณหญิงพจมานหลายครั้ง แต่นางกาญจนาภาก็บ่ายเบี่ยงที่จะให้เอกสารดังกล่าวมาโดยตลอด ทำให้เชื่อว่าการที่พ.ต.ท.ทักษิณยังคงถือไว้ซึ่งหุ้นธุรกิจสัมปทานของ ชินคอร์ปตั้งแต่เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ซึ่งเข้าข่ายการปกปิดบัญชีทรัพย์สินหนี้สิน หรือซุกหุ้นภาค 2" แหล่งข่าวระบุ

3. ภายหลังจากชินคอร์ปแตกพาร์หุ้น จากหุ้นละ 10 บาท เป็น 1 บาท เมื่อปี 2544 ทำให้หุ้นชินคอร์ปที่แอมเพิล ริชฯ ถืออยู่ เพิ่มจาก 32.92 ล้านหุ้น เป็น 329.2 ล้านหุ้น โดยแอมเพิล ริชฯ ได้โอนหุ้นไปฝากไว้กับ บล.ยูบีเอส เอจี จำนวน 100 ล้านหุ้น จากการตรวจสอบข้อมูลจากธนาคารซิตี้แบงก์ ซึ่งเป็น ซัฟคลัสโตร์เดียน (ผู้รับฝากหุ้น) ของ บล.ยูบีเอส เอจี พบว่าช่วงปี 2545-2547 หุ้นชินคอร์ปที่แอมเพิล ริชฯ ฝากไว้กับ บล.ยูบีเอส เอจี มีการเคลื่อนไหวตลอด โดยมีชื่อของนายเลา วีเตียง นักธุรกิจชาวสิงคโปร์ เป็นผู้รับมอบอำนาจลงนามในเอกสาร

ประเด็นนี้ทางคณะอนุกรรมการได้สอบถามนายพานทองแท้ และ นางกาญจนาภา หงส์เหิน เลขานุการส่วนตัวของคุณหญิงพจมาน เกี่ยวกับหุ้นชินคอร์ปที่อยู่ในบัญชีของ บล.ยูบีเอส เอจี ว่ามีการเคลื่อนไหวอย่างไร แต่บุคคลทั้งสองปฏิเสธว่าไม่ทราบ โดยนายพานทองแท้ชี้แจงว่านางกาญจนาภาเป็นผู้ดำเนินการ ขณะที่นางกาญจนาภาชี้แจงว่านายเลา วีเตียง เป็นผู้รับผิดชอบ

4. กรณีที่ พ.ต.ท.ทักษิณ และคุณหญิงพจมาน โอนหุ้นชินคอร์ปที่ถือให้กับนายพานทองแท้ในราคาพาร์ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2543 โดยนายพานทองแท้ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินไม่มีกำหนดระยะเวลาชำระหนี้และดอกเบี้ย ให้กับ พ.ต.ท.ทักษิณ และคุณหญิงพจมาน  

จากการตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของ พ.ต.ท.ทักษิณ ที่ยื่นไว้ต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ตั้งแต่เข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2544 พบว่านายพานทองแท้ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับ พ.ต.ท.ทักษิณ และคุณหญิง พจมาน ทั้งสิ้น 5,465.548 ล้านบาท โดยนายพานทองแท้ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับ พ.ต.ท.ทักษิณ 2 ฉบับ รวมเป็นเงิน 409.2 ล้านบาท และออกให้กับคุณหญิงพจมาน อีก 4 ฉบับ รวมเป็นเงิน 5,056.348 ล้านบาท

"คตส.สอบถามนายพานทองแท้และนางกาญจนาภาในประเด็นดังกล่าว ได้รับคำตอบว่านายพานทองแท้ได้นำเงินปันผลหุ้นชินคอร์ปที่ได้รับในปี 2545-2548 จำนวนประมาณ 1.8 ล้านบาท มาชำระคืนเงินค่าหุ้นให้กับคุณหญิงพจมาน"

ส่วนที่เหลือได้ชำระคืนหลังจากที่ขายหุ้นชินคอร์ปให้กับกลุ่มเทมาเส็กของประเทศสิงคโปร์แล้ว เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2548 พ.ต.ท.ทักษิณ ได้ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินต่อ ป.ป.ช. ในช่วงเข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีครั้งที่ 2 ว่า ที่นายพานทองแท้กู้ยืมจากคุณหญิงพจมานลดลง ที่ให้นายพานทองแท้กู้ยืมจำนวน 409.2 ล้านบาท

ขณะที่คุณหญิงพจมานแจ้งว่ามีเงินที่ให้นายพานทองแท้กู้ยืมจำนวน 2,595 ล้านบาท โดยเงินที่นายพานทองแท้กู้ยืมจากคุณหญิงพจมานลดลง จาก 5,056.348 ล้านบาท ในปี 2544 เหลือ 2,595 ล้านบาท หรือลดลง 2,461.348 ล้านบาท ส่วนเงินกู้ที่พ.ต.ท.ทักษิณให้นายพานทองแท้กู้จำนวน 409.2 ล้านบาท ยังไม่ได้มีการชำระ

จากนั้นในวันที่ 11 กันยายน 2549 พ.ต.ท.ทักษิณ แจ้งบัญชีทรัพย์สินต่อ ป.ป.ช.อีกครั้งหลังพ้นจากตำแหน่งนายกฯ ว่า นายพานทองแท้ได้ชำระเงินกู้ให้แก่ พ.ต.ท.ทักษิณ และคุณหญิงพจมานหมดแล้ว โดย พ.ต.ท.ทักษิณ มีบัญชีเงินฝาก 1 เพิ่มขึ้น 1 บัญชี คือ บัญชีเงินฝากประจำ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขารัชโยธิน เลขที่ 111-1-12632-1 จำนวน 450 ล้านบาท จึงมีความเป็นไปได้ว่าบัญชีเงินฝากของ พ.ต.ท. ทักษิณ ที่เพิ่มขึ้น 1 บัญชี จำนวน 450 ล้านบาท เป็นเงินที่นายพานทองจ่ายคืนหนี้จำนวน 409 ล้านบาท ให้กับ พ.ต.ท.ทักษิณ เช่นเดียวกับเงินฝากของคุณหญิงพจมาน ในปี 2549 เมื่อเทียบกับปี 2548 ที่เพิ่มขึ้นจำนวน 1,080.263 ล้านบาท ซึ่งส่วนหนึ่งน่าจะมาจากเงินที่นายพานทองแท้นำมาจ่ายคืนหนี้ให้กับคุณหญิงพจมาน


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 10-09-2007, 08:53
อ่านดีๆ ไอ้แถ
ในกรณีนี้มันเป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนามบัญชีซึ่งสำคัญกับเงินๆทองๆทั้งนั้น มันเท่ากับลูกพี่ของเอ็งยังทำธุรกิจอยู่โดยไม่ได้แจ้ง ปปช
และกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม มีอำนาจในการจัดการหุ้นนั้นได้ หรือเอ็งจะเถียงว่ามันทำไม่ได้

ปปช รู้ช้าไปนิด (เพราะโดนครอบงำด้วย) เพราะดีลชินคอร์ปเพิ่งมาเกิดขึ้นเมื่อปี 2549 และเพิ่งได้รู้กันว่าไอ้หน้าเหลี่ยมมันยังคงอำนาจของหุ้นพวกนั้นไว้โดยการที่เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนามบัญชี

ไม่เป็นไร อยากแถต่อก็เชิญ ผมก็จนปัญญาจะเถียงกะอีช่างแถเหมือนกันว่ะ แถไม่เข้าท่า

อยากจินตนาการอะไรเองก็ตามใจ กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม ถ้าไม่ใช่ผู้ถือหุ้น ผลประโยชน์ของบริษัทก็เข้าผู้ถือหุ้นอยู่ดี
อยากเขียนนิยามบ้าบอคอแตกอะไรก็เอาเหอะ ในเมื่อความเป็นจริง หุ้นชินคอร์ปนั่น กลต. บอกว่าเป็นของพานทองแท้
ตั้งแต่วันโอนหุ้นแอมเพิลริชแล้ว ถึงจะมีปรับอะไรสองสามข้อนั่น ส่วนในข้อเท็จจริงแล้วแม้กฎหมายไทยก็เหอะ กรรมการ
ผู้มีอำนาจลงนามจะมีอำนาจจัดการหุ้นได้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับ กฎระเบียบของบริษัท เป็นเรื่องเฉพาะของแต่ละบริษัท ถ้าไม่
มีความรู้เรื่องนี้มาก ให้อ่านไอ้ที่อุตส่าห์หามาแปะบำรุงสมองไว้อีกรอบจะได้เข้าใจเลิกจินตนาการไร้สาระเสียที นะไอ้บ้า :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-09-2007, 09:03
อยากจินตนาการอะไรเองก็ตามใจ กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม ถ้าไม่ใช่ผู้ถือหุ้น ผลประโยชน์ของบริษัทก็เข้าผู้ถือหุ้นอยู่ดี
อยากเขียนนิยามบ้าบอคอแตกอะไรก็เอาเหอะ ในเมื่อความเป็นจริง หุ้นชินคอร์ปนั่น กลต. บอกว่าเป็นของพานทองแท้
ตั้งแต่วันโอนหุ้นแอมเพิลริชแล้ว ถึงจะมีปรับอะไรสองสามข้อนั่น ส่วนในข้อเท็จจริงแล้วแม้กฎหมายไทยก็เหอะ กรรมการ
ผู้มีอำนาจลงนามจะมีอำนาจจัดการหุ้นได้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับ กฎระเบียบของบริษัท เป็นเรื่องเฉพาะของแต่ละบริษัท ถ้าไม่
มีความรู้เรื่องนี้มาก ให้อ่านไอ้ที่อุตส่าห์หามาแปะบำรุงสมองไว้อีกรอบจะได้เข้าใจเลิกจินตนาการไร้สาระเสียที นะไอ้บ้า :slime_bigsmile:

ไม่ต้องจินตนาการหรอกไอ้แถ
กรรมการผู้มีอำนาจลงนามสามารถจดทะเบียนเพิ่มทุนได้ จดทะเบียนลดทุนได้
กรรมการผู้มีอำนาจลงนามจดทะเบียนสามารถเพิ่มกรรมการได้ จดทะเบียนลดจำนวนวัตถุประสงค์ได้
กรรมการผู้มีอำนาจลงนามสามารถนำทรัพย์สินทรัพย์สินของทางบริษัทไปเป็นหลักทรัพย์ยังได้

กับที่เอ็งบอกว่า ผู้มีอำนาจลงนามจะมีอำนาจจัดการหุ้นได้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับ กฎระเบียบของบริษัท เป็นเรื่องเฉพาะของแต่ละบริษัท
ในกรณีชินคอร์ปนี้ ก็ได้เห็นชัดๆแล้ว  แต่เอ็งแกล้งตาบอดเฉย มันมีอำนาจจัดการหุ้นแน่นอน เพราะลูกมันยังต้องรอมันลงนามให้

เอ็งก็เลิกแถซะที ไอ้บ้า

โคตรวัวเลย


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 10-09-2007, 09:04
ภายหลังจากที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ขายหุ้นแอมเพิล ริชฯ ให้นายพานทองแท้เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2543 แล้ว ในช่วงปี 2543-2548 ไม่พบว่าได้มีการแจ้งเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิล ริชฯ หรือผู้มีรับมอบอำนาจลงนามในบัญชีที่เปิดไว้กับบริษัทหลักทรัพย์(บล.) ยูบีเอส เอจี กระทั่งปี 2549 หลังมีการขายหุ้นให้กับกองทุนเทมาเส็ก จึงค่อยเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีดังกล่าวเป็นนายพานทองแท้ และ น.ส.พิณทองทา

“ที่ผ่านมาอนุกรรมการพยายามขอเอกสารหลักฐานการเปลี่ยนแปลงรายชื่อกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีที่แอมเพิล ริชฯ ไปเปิดไว้กับ บล.ยูบีเอส เอจี จากนางกาญจนาภา หงส์เหิน เลขานุการส่วนตัวของคุณหญิงพจมานหลายครั้ง แต่นางกาญจนาภาก็บ่ายเบี่ยงที่จะให้เอกสารดังกล่าวมาโดยตลอด ทำให้เชื่อว่าการที่พ.ต.ท.ทักษิณยังคงถือไว้ซึ่งหุ้นธุรกิจสัมปทานของ ชินคอร์ปตั้งแต่เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ซึ่งเข้าข่ายการปกปิดบัญชีทรัพย์สินหนี้สิน หรือซุกหุ้นภาค 2" แหล่งข่าวระบุ

3. ภายหลังจากชินคอร์ปแตกพาร์หุ้น จากหุ้นละ 10 บาท เป็น 1 บาท เมื่อปี 2544 ทำให้หุ้นชินคอร์ปที่แอมเพิล ริชฯ ถืออยู่ เพิ่มจาก 32.92 ล้านหุ้น เป็น 329.2 ล้านหุ้น โดยแอมเพิล ริชฯ ได้โอนหุ้นไปฝากไว้กับ บล.ยูบีเอส เอจี จำนวน 100 ล้านหุ้น จากการตรวจสอบข้อมูลจากธนาคารซิตี้แบงก์ ซึ่งเป็น ซัฟคลัสโตร์เดียน (ผู้รับฝากหุ้น) ของ บล.ยูบีเอส เอจี พบว่าช่วงปี 2545-2547 หุ้นชินคอร์ปที่แอมเพิล ริชฯ ฝากไว้กับ บล.ยูบีเอส เอจี มีการเคลื่อนไหวตลอด โดยมีชื่อของนายเลา วีเตียง นักธุรกิจชาวสิงคโปร์ เป็นผู้รับมอบอำนาจลงนามในเอกสาร  

ประเด็นนี้ทางคณะอนุกรรมการได้สอบถามนายพานทองแท้ และ นางกาญจนาภา หงส์เหิน เลขานุการส่วนตัวของคุณหญิงพจมาน เกี่ยวกับหุ้นชินคอร์ปที่อยู่ในบัญชีของ บล.ยูบีเอส เอจี ว่ามีการเคลื่อนไหวอย่างไร แต่บุคคลทั้งสองปฏิเสธว่าไม่ทราบ โดยนายพานทองแท้ชี้แจงว่านางกาญจนาภาเป็นผู้ดำเนินการ ขณะที่นางกาญจนาภาชี้แจงว่านายเลา วีเตียง เป็นผู้รับผิดชอบ

อยากรู้รายละเอียดเรียกนาย เลา วีเตียง มาถามสิ ตรงไหนบอกว่าเป็นลายเซ็นต์ทักษิณโอนหุ้นให้พานทองแท้เหรอ :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 10-09-2007, 09:09
ไม่ต้องจินตนาการหรอกไอ้แถ
กรรมการผู้มีอำนาจลงนามสามารถจดทะเบียนเพิ่มทุนได้ จดทะเบียนลดทุนได้
กรรมการผู้มีอำนาจลงนามจดทะเบียนสามารถเพิ่มกรรมการได้ จดทะเบียนลดจำนวนวัตถุประสงค์ได้
กรรมการผู้มีอำนาจลงนามสามารถนำทรัพย์สินทรัพย์สินของทางบริษัทไปเป็นหลักทรัพย์ยังได้

กับที่เอ็งบอกว่า ผู้มีอำนาจลงนามจะมีอำนาจจัดการหุ้นได้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับ กฎระเบียบของบริษัท เป็นเรื่องเฉพาะของแต่ละบริษัท
ในกรณีชินคอร์ปนี้ ก็ได้เห็นชัดๆแล้ว  แต่เอ็งแกล้งตาบอดเฉย มันมีอำนาจจัดการหุ้นแน่นอน เพราะลูกมันยังต้องรอมันลงนามให้

เอ็งก็เลิกแถซะที ไอ้บ้า

โคตรวัวเลย

เอ้า อ่านกฎหมายของไทยซะหน่อย

การจะกำหนดเช่นนี้ได้ต้องเกิดจากการประชุมผู้ถือหุ้นแล้วให้นำมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นนั้นไปจดทะเบียนไว้กับกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งรายการที่ว่าก็จะอยู่ในหนังสือรับรองของบริษัท (Affidavit) เวลาท่านไปคัดหนังสือรับรองบริษัทที่กรมทะเบียนฯ ก็จะเห็นรายการข้อจำกัดอำนาจของกรรมการอยู่ในข้อ 4 ของหนังสือรับรอง นั่นคือรายการอื่นๆ ที่อาจนำไปจดทะเบียน แต่การเป็นรายการอื่นๆ เท่ากับว่ามันไม่สำคัญมาก ดังนั้น เมื่อต้องการเปลี่ยนแปลงแก้ไขก็ทำได้โดยต้องการมติธรรมดาจากการประชุมผู้ถือหุ้นเท่านั้น ซึ่งมติธรรมดาก็เกิดจากว่าใครถือหุ้นฝ่ายข้างมากแล้วออกเสียงได้เสียงเกินกว่าครึ่งหนึ่งเวลาที่มีการประชุมผู้ถือหุ้นนับจากผู้ถือหุ้นที่เข้ามาประชุมออกเสียง ฝ่ายใดที่เสียงมากกว่าฝ่ายนั้นก็ชนะ

มีปัญญาหาหนังสือรับรองหรือกฎระเบียบของบริษัท แอมเพิลริชมาให้ดูหน่อยมั้ยล่ะ  :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-09-2007, 09:11
อยากรู้รายละเอียดเรียกนาย เลา วีเตียง มาถามสิ ตรงไหนบอกว่าเป็นลายเซ็นต์ทักษิณโอนหุ้นให้พานทองแท้เหรอ :slime_bigsmile:

ไม่ว่ะ สนใจแค่นี้
ภายหลังจากที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ขายหุ้นแอมเพิล ริชฯ ให้นายพานทองแท้เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2543 แล้ว ในช่วงปี 2543-2548 ไม่พบว่าได้มีการแจ้งเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิล ริชฯ หรือผู้มีรับมอบอำนาจลงนามในบัญชีที่เปิดไว้กับบริษัทหลักทรัพย์(บล.) ยูบีเอส เอจี กระทั่งปี 2549 หลังมีการขายหุ้นให้กับกองทุนเทมาเส็ก จึงค่อยเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีดังกล่าวเป็นนายพานทองแท้ และ น.ส.พิณทองทา

สืบจากศพทักษิณก็พอ


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: สมปอง ที่ 10-09-2007, 09:14
คุณเจไดพูดภาษาหมาได้ด้วยเหรอ :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-09-2007, 09:16
เอ้า อ่านกฎหมายของไทยซะหน่อย

การจะกำหนดเช่นนี้ได้ต้องเกิดจากการประชุมผู้ถือหุ้นแล้วให้นำมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นนั้นไปจดทะเบียนไว้กับกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งรายการที่ว่าก็จะอยู่ในหนังสือรับรองของบริษัท (Affidavit) เวลาท่านไปคัดหนังสือรับรองบริษัทที่กรมทะเบียนฯ ก็จะเห็นรายการข้อจำกัดอำนาจของกรรมการอยู่ในข้อ 4 ของหนังสือรับรอง นั่นคือรายการอื่นๆ ที่อาจนำไปจดทะเบียน แต่การเป็นรายการอื่นๆ เท่ากับว่ามันไม่สำคัญมาก ดังนั้น เมื่อต้องการเปลี่ยนแปลงแก้ไขก็ทำได้โดยต้องการมติธรรมดาจากการประชุมผู้ถือหุ้นเท่านั้น ซึ่งมติธรรมดาก็เกิดจากว่าใครถือหุ้นฝ่ายข้างมากแล้วออกเสียงได้เสียงเกินกว่าครึ่งหนึ่งเวลาที่มีการประชุมผู้ถือหุ้นนับจากผู้ถือหุ้นที่เข้ามาประชุมออกเสียง ฝ่ายใดที่เสียงมากกว่าฝ่ายนั้นก็ชนะ

มีปัญญาหาหนังสือรับรองหรือกฎระเบียบของบริษัท แอมเพิลริชมาให้ดูหน่อยมั้ยล่ะ  :slime_bigsmile:

แถไปเรื่อง ตอบไม่เคยตรงคำถาม บทจะเจอตอก็ทำตาบอดซะงั้น แถเอ๊ย  

กับที่เอ็งบอกว่า ผู้มีอำนาจลงนามจะมีอำนาจจัดการหุ้นได้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับ กฎระเบียบของบริษัท เป็นเรื่องเฉพาะของแต่ละบริษัท
ในกรณีชินคอร์ปนี้ ก็ได้เห็นชัดๆแล้ว  แต่เอ็งแกล้งตาบอดเฉย มันมีอำนาจจัดการหุ้นแน่นอน เพราะลูกมันยังต้องรอมันลงนามให้

เพราะไอ้เหลี่ยมคือ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชี ไม่ใช่กรรมการผู้มีอำนาจลงนามต๊อกต๋อยด้านอื่นๆ

แถเข้าไป ไร้ราคาลงทุกวัน


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 10-09-2007, 09:22
ในกรณีชินคอร์ปนี้ ก็ได้เห็นชัดๆแล้ว  แต่เอ็งแกล้งตาบอดเฉย มันมีอำนาจจัดการหุ้นแน่นอน เพราะลูกมันยังต้องรอมันลงนามให้

เพราะไอ้เหลี่ยมคือ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชี ไม่ใช่กรรมการผู้มีอำนาจลงนามต๊อกต๋อยด้านอื่นๆ

ข่าวอยู่ตรงไหนเหรอจ๊ะ ที่ว่าต้องรอให้ทักษิณมาลงนาม เห็นมีแต่ นาย เลา วีเตียง ลงนาม
มั่วเอาเองนี่หว่า แล้วตำแหน่งอะไรเหรอ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชี เพิ่งเคยได้ยิน
แต่งเองอ่ะป่าว เหอ เหอ  :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-09-2007, 09:38
ข่าวอยู่ตรงไหนเหรอจ๊ะ ที่ว่าต้องรอให้ทักษิณมาลงนาม เห็นมีแต่ นาย เลา วีเตียง ลงนาม
มั่วเอาเองนี่หว่า แล้วตำแหน่งอะไรเหรอ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชี เพิ่งเคยได้ยิน
แต่งเองอ่ะป่าว เหอ เหอ  :slime_bigsmile:

อ้างอิงส่วนหนึ่งจากนี่
http://www.bangkokbiznews.com/2007/06/18/news_23944535.php?news_id=23944535

ภายหลังจากที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ขายหุ้นแอมเพิล ริชฯ ให้นายพานทองแท้เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2543 แล้ว ในช่วงปี 2543-2548 ไม่พบว่าได้มีการแจ้งเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิล ริชฯ หรือผู้มีรับมอบอำนาจลงนามในบัญชีที่เปิดไว้กับบริษัทหลักทรัพย์(บล.) ยูบีเอส เอจี กระทั่งปี 2549 หลังมีการขายหุ้นให้กับกองทุนเทมาเส็ก จึงค่อยเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีดังกล่าวเป็นนายพานทองแท้ และ น.ส.พิณทองทา

กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม มันก็มีหลายหลากความรับผิดชอบไป อาจลงนามเรื่องการลดทุน เพิ่มทุน หรือจัดการด้านอื่นๆที่ไม่เกี่ยวกับด้านธุรกรรมการเงินก็ได้

แต่ในกรณีนี้ กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม มันสำคัญชี้เป้าไปที่ หลักทรัพย์ของแอมเพิล ริชฯ
ไอ้หอกแถ จะให้ตูเอามาฉายกี่รอบ ทำตาบอดโง่ๆอยู่ได้ วัวชิบหาย
ผมหมายถึงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีที่ข้าหมายถึง ก็คือ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิล ริชฯ
ถ้าอยากรู้ความหมายลึกกว่านี้ก็ไปถามโคตรบิดาแม้วของเอ็งสิวะ โง่จัง


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 10-09-2007, 09:45
อ้างอิงส่วนหนึ่งจากนี่
http://www.bangkokbiznews.com/2007/06/18/news_23944535.php?news_id=23944535

ภายหลังจากที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ขายหุ้นแอมเพิล ริชฯ ให้นายพานทองแท้เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2543 แล้ว ในช่วงปี 2543-2548 ไม่พบว่าได้มีการแจ้งเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิล ริชฯ หรือผู้มีรับมอบอำนาจลงนามในบัญชีที่เปิดไว้กับบริษัทหลักทรัพย์(บล.) ยูบีเอส เอจี กระทั่งปี 2549 หลังมีการขายหุ้นให้กับกองทุนเทมาเส็ก จึงค่อยเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีดังกล่าวเป็นนายพานทองแท้ และ น.ส.พิณทองทา

กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม มันก็มีหลายหลากความรับผิดชอบไป อาจลงนามเรื่องการลดทุน เพิ่มทุน ก็ได้

แต่ในกรณีนี้ กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม มันสำคัญชี้เป้าไปที่ หลักทรัพย์ของแอมเพิล ริชฯ
ไอ้หอกแถ จะให้ตูเอามาฉายกี่รอบ ทำตาบอดโง่ๆอยู่ได้ วัวชิบหาย
ผมหมายถึงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีที่ข้าหมายถึง ก็คือ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิล ริชฯ
ถ้าอยากรู้ความหมายลึกกว่านี้ก็ไปถามโคตรบิดาแม้วของเอ็งสิวะ โง่จัง

อ๋อ หมายถึงตัวแทนเจ้าของที่ไปลงชื่อไว้ที่บริษัทหลักทรัพย์นั่นเอง โถ อุตส่าห์ตั้งตำแหน่งให้เองตามหนังสือพิมพ์
ก็บริษัทแอมเพิลริชเจ้าของ 100% คือ โอ๊ค และ เอม สินทรัพย์ทั้งหมดของบริษัทนี้ก็เป็นของ โอ๊ค และ เอม การที่
ตลาดหลักทรัพย์ฯ ตีความไว้แบบนี้มันผิดตรงไหนล่ะ เค้าก็บอกว่าหุ้นของชินคอร์ปที่ถือโดยบริษัทแอมเพิลริชก็ต้อง
เป็นของโอ๊คและเอมตั้งแต่วันที่ได้หุ้นบริษัทแอมเพิลริช ส่วนจะโอนหุ้นจากบริษัทแอมเพิลริชไปให้โอ๊คหรือเอม จะ
ใช้ใครเซ็นต์จัดการให้มันจะไปเกี่ยวอะไรกับความเป็นเจ้าของล่ะ บริษัทเจ้าของคนเดียวหรือสองคนร้อย % นะอย่า
เอาไปปนมั่วๆ กะกฎหมายไทย จะให้คนที่เซ็นต์คือนาย เลา วีเตียง มารับผิดชอบซะงั้น มันก็แค่ paper work :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-09-2007, 09:50
ข่าวอยู่ตรงไหนเหรอจ๊ะ ที่ว่าต้องรอให้ทักษิณมาลงนาม เห็นมีแต่ นาย เลา วีเตียง ลงนาม
มั่วเอาเองนี่หว่า แล้วตำแหน่งอะไรเหรอ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชี เพิ่งเคยได้ยิน
แต่งเองอ่ะป่าว เหอ เหอ  :slime_bigsmile:

กับอีกอย่าง ทักษิณ ไม่ต้องลงนามหรอก
แค่อมสิทธิ์การเป็นกรรมการไว้ จนสุกงอมแน่ใจ แล้วค่อยให้เมียมันเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิล ริชฯ มาเป็นลูกๆของมัน

แต่นั่น ก็ไม่ได้หมายความว่า มันจะไม่ผิดกฏหมายของ ปปช น๊า  :slime_smile2:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 10-09-2007, 09:56
กับอีกอย่าง ทักษิณ ไม่ต้องลงนามหรอก
แค่อมสิทธิ์การเป็นกรรมการไว้ จนสุกงอมแน่ใจ แล้วค่อยให้เมียมันเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามในบัญชีหลักทรัพย์ของแอมเพิล ริชฯ มาเป็นลูกๆของมัน

แต่นั่น ก็ไม่ได้หมายความว่า มันจะไม่ผิดกฏหมายของ ปปช น๊า  :slime_smile2:

ผิดข้อไหนของ ปปช เหรอ เอามาดูหน่อยซิ  :slime_v:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-09-2007, 10:01
ผิดข้อไหนของ ปปช เหรอ เอามาดูหน่อยซิ  :slime_v:

ทักษิณยังคงถือไว้ซึ่งหุ้นธุรกิจสัมปทานของ ชินคอร์ปตั้งแต่เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ซึ่งเข้าข่ายการปกปิดบัญชีทรัพย์สินหนี้สิน ตามพระราชบัญญัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ปี พ.ศ. 2542 จ้า

เรียกกรณีนี้สั่นๆว่า ซุกหุ้นภาค 2 ก็ได้น๊าแถน๊า

 :slime_v:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: อยากประหยัดให้ติดแก๊ส ที่ 10-09-2007, 10:41
ทักษิณยังคงถือไว้ซึ่งหุ้นธุรกิจสัมปทานของ ชินคอร์ปตั้งแต่เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ซึ่งเข้าข่ายการปกปิดบัญชีทรัพย์สินหนี้สิน ตามพระราชบัญญัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ปี พ.ศ. 2542 จ้า

เรียกกรณีนี้สั่นๆว่า ซุกหุ้นภาค 2 ก็ได้น๊าแถน๊า

 :slime_v:

กร๊ากกกก อยากหัวเราะให้ตับอักเสบ ทำกระทู้ป้าโนว์เละซะยาวเหยียด
เพื่อจะตีความว่า เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนามบัญชี คือ เป็นเจ้าของหุ้น
โถ ลองไปตีความแบบนี้ในศาลสิ ดูว่าเค้าจะตัดสินยังไง ปัญญาอ่อนเอ๊ย :slime_bigsmile:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 10-09-2007, 13:20
กร๊ากกกก อยากหัวเราะให้ตับอักเสบ ทำกระทู้ป้าโนว์เละซะยาวเหยียด
เพื่อจะตีความว่า เป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนามบัญชี คือ เป็นเจ้าของหุ้น
โถ ลองไปตีความแบบนี้ในศาลสิ ดูว่าเค้าจะตัดสินยังไง ปัญญาอ่อนเอ๊ย :slime_bigsmile:

ไม่ได้พูดว่าทักษิณเป็นผู้ถือหุ้นนี่ครับ เห็นแต่แถพูดอยู่คนเดียว
เราพูดถึงคนที่มีบารมีในบัญชีแอมเพิ้ล ริช ครับแถ


หัวข้อ: ถือหุ้นเกิน 5% พ่นพิษ รมต.ไอซีที-พาณิชย์ ลาออก! - นายกฯ ขอ 7 วันเคลียร์ปัญหา
เริ่มหัวข้อโดย: snowflake ที่ 21-09-2007, 07:42
ถือหุ้นเกิน 5% พ่นพิษ รมต.ไอซีที-พาณิชย์ ลาออก! -
นายกฯ ขอ 7 วันเคลียร์ปัญหา  


รมว.ไอซีที - รมช.พาณิชย์ ประกาศลาออก หลัง ป.ป.ช. 'มีมติ' อารีย์-
สิทธิชัย-อรนุช' ถือหุ้นบริษัทเกิน 5% ขัดกฎหมาย-มีผลประโยชน์ทับซ้อน
แต่เอาผิดไม่ได้เพราะรัฐธรรมนูญปี 50 มีบทเฉพาะกาลคุ้มครอง นายกฯ
ขอเวลา 7 วันกลับจากต่างประเทศ เคลียร์ปัญหา


ตามที่ 'มติชนออนไลน์' รายงานว่า มีรัฐมนตรีรัฐบาลพล.อ.สุรยุทธ์ อย่างน้อย 2 คน
ถือหุ้นในบริษัทเกินกว่า 5% ของทุนจดทะเบียน ซึ่งเป็นการฝ่าฝืน พ.ร.บ.การจัดการ
หุ้นส่วนและหุ้นของรัฐมนตรี พ.ศ. 2543 แต่รัฐธรรมนูญ 2550 มีบทเฉพาะกาลมิให้
นำบทบัญญัติในเรื่องห้ามการถือหุ้นของรัฐมนตรีเกินที่กฎหมายกำหนดมาใช้บังคับ
กับรัฐมนตรีในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จึงทำให้รัฐมนตรีดังกล่าวพ้นผิด และความเป็น
รัฐมนตรีไม่สิ้นสุดลงนั้น

ในที่สุดคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ได้หยิบ
ยกกรณีดังกล่าวขึ้นมาพิจารณาเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2550 และเห็นว่า ไม่สามารถ
เอาผิดทางกฎหมายกับรัฐมนตรีกลุ่มดังกล่าวได้ แต่การถือหุ้นเกินที่กฎหมายกำหนด
เป็นการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลหรือผลประโยชน์ส่วนรวมซึ่งไม่เหมาะสม
และมีมติให้แจ้งให้นายกรัฐมนตรีพิจารณาดำเนินการ

นายกล้านรงค์ จันทิก กรรมการป.ป.ช. แถลงภายหลังการประชุม ป.ป.ช.ว่า ตามที่
คณะรัฐมนตรี (ครม.) ชุดปัจจุบัน ยื่นแสดงบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินต่อ ป.ป.ช. ซึ่ง
จากการตรวจสอบพบว่า มีรัฐมนตรี 3 คน ถือครองหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทเกินกว่า
ร้อยละ 5 ของทุนจดทะเบียน ซึ่งไม่ได้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การจัดการ
หุ้นส่วนและหุ้นของรัฐมนตรี ได้แก่

1. นายสิทธิชัย โภไคยอุดม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
    สื่อสาร (ไอซีที) ถือหุ้นอยู่ใน
    1. บริษัทวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนานาชาติจำนวนร้อยละ 16.17
    2. บริษัทอุตสาหกรรมอวกาศไทยจำกัด จำนวนร้อยละ 31.33 และ
    3. บริษัทวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี จำกัด จำนวนร้อยละ 31.36

2. นางอรนุช โอสถานนท์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพานิชย์ ถือหุ้นอยู่ใน
   1. ห้างหุ้นส่วนจำกัดบ้านดอกพุด ร้อยละ 66.67
   2. บริษัทบุณยพรหม 2548 จำกัด จำนวนร้อยละ 50 และ
   3. บริษัทอุดมแร่มรวย จำนวนร้อยละ 50

3. นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ถือครองหุ้นในบริษัท
    ตรังชัวร์ จำกัด คิดเป็นร้อยละ 20

นายกล้านรงค์กล่าวว่า คณะกรรมการป.ป.ช. พิจารณาแล้วเห็นว่า รัฐมนตรีทั้ง 3
ไม่ได้แจ้งต่อประธานป.ป.ช.ว่า ประสงค์จะรับประโยชน์จากการเป็นหุ้นส่วน เกินกว่า
กฎหมายกำหนด และไม่ได้โอนหุ้นดังกล่าวให้แก่นิติบุคคลที่มีอำนาจจัดการกองทุน
ส่วนบุคคล หรือนิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สิน ตามที่กฎหมายกำหนด ตามรัฐธรรมมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการกำหนดโทษในการกระทำดังกล่าว โดย
ให้ความเป็นรัฐมนตรีสิ่นสุดลงตามมาตรา 209 ประกอบมาตรา 216(6)

แต่เนื่องจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ถูกประกาศให้สิ้นสุดลง ตามประกาศคณะปฏิรูป
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (คปค.) ฉบับที่
3 วันที่ 19 กันยายน 2549 จึงไม่สามารถนำกฎหมายดังกล่าวมาบังคับใช้ได้ อีกทั้ง
รัฐธรรมนูญฉบับ 2550 ได้บัญญัติบทเฉพาะกาล มาตรา 298 วรรค 3 มิให้นำบท
บัญญัติเรื่องให้การเป็นรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัว ในกรณีที่รัฐมนตรีถือหุ้นเกินกว่าที่
กฎหมายกำหนด ดังนั้นความเป็นรัฐมนตรีของบุคคลทั้ง 3 จึงไม่สิ้นสุดลง

นายกล้านรงค์กล่าวว่า สำหรับความผิดเกี่ยวกับ พ.ร.บ.การจัดการหุ้นส่วนและหุ้นของ
รัฐมนตรีนั้น คณะกรรมการป.ป.ช. เห็นว่า ตามมาตรา 11 แห่งพ.ร.บ. ดังกล่าวที่ว่า
การเข้าไปบริหารครอบงำหรือออกคำสั่งเกี่ยวกับการจัดการหุ้นส่วนหรือหุ้น หรือจัด
หาผลประโยชน์ในหุ้นส่วนหรือหุ้น ต้องเป็นกรณีที่มีการโอนหุ้นให้กับนิติบุคคลตาม
กฎหมายแล้ว รัฐมนตรีเข้าไปบริหารครอบงำหรือออกคำสั่งเกี่ยวกับการจัดการหรือ
หาผลประโยชน์หุ้นส่วนหรือหุ้น ดังนั้นเมื่อบุคคลทั้ง 3 ยังไม่ได้โอนหุ้นให้นิติบุคคล
จัดการแทน จึงไม่อาจกระทำการใดๆ ที่เป็นการครอบงำหรือออกคำสั่ง การกระทำ
ของบุคคลทั้ง 3 จึงไม่ครบองค์ประกอบตามความผิด

อย่างไรก็ตามนายกล้านรงค์กล่าวว่า ก่อนหน้านี้ได้มีรัฐมนตรีบางคน (ม.ร.ว.ปรีดิยาธร
เทวกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง) ในรัฐบาลชุดนี้
ถือครองหุ้นเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด และได้โอนหุ้นไปให้นิติบุคคลจัดการแทน อีก
ทั้งยังได้รายงานให้ประธานป.ป.ช. ได้รับทราบถึงการถือหุ้นดังกล่าว

ดังนั้นป.ป.ช. จึงถือว่า การที่รัฐมนตรีทั้ง 3 คนดังกล่าวถือหุ้นเกินเป็นการกระทำที่
ไม่เหมาะสม และขัดต่อหลักการในเรื่องของการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคล
หรือผลประโยชน์ส่วนรวม ป.ป.ช. จึงมีมติจะรายงานเรื่องดังกล่าวให้รัฐมนตรีได้รับ
ทราบเพื่อพิจารณาและดำเนินการต่อไป

ด้านนายสิทธิชัย โภไคยอุดมกล่าวว่า ธุรกิจที่ถือหุ้นอยู่ไม่เกี่ยวข้องกับที่กระทรวงไอซีที
รับผิดชอบอยู่ จึงไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน และไม่น่าเกี่ยวข้องกัน อย่างไรก็ตาม หาก
ประเด็นนี้ทำให้คณะรัฐมนตรีนี้ต้องมัวหมอง ก็ยินดีที่จะลาออกจากรัฐบาล ซึ่งต้องรอให้
พล.อ.สุรยุทธ์เป็นผู้ตัดสินในวันที่ 29 กันยายนนี้ หลังจากเดินทางกลับจากต่างประเทศ

นายสิทธิชัยกล่าวว่า ในวันที่ 21 กันยายน เวลา 15.00 น.จะแถลงข่าวลาออกเพื่อรับ
ผิดชอบกรณีที่ถือหุ้นเกิน 5% โดยจะยื่นใบลาออกทันทีที่นายกฯกลับจากต่างประเทศ
ในวันที่ 29 กันยายน

ขณะที่นางอรนุช โอสถานนท์ กล่าวว่า ยอมรับว่ามีหุ้นจริง เป็นธุรกิจของครอบครัว คือ
โรงแรมเวียงใต้ (บริเวณบางลำภู) ซึ่งเป็นของคุณแม่ และไม่ได้อยู่ในตลาดหลักทรัพย์
เมื่อตนเป็นลูกคนเดียว ก็ต้องรับโอนธุรกิจจากคุณแม่ ตอนนั้นก็ไม่รู้ว่าจะต้องโอนให้ใคร
แต่ตอนนี้ไม่ได้เป็นผู้บริหาร มอบให้ลูกหลานบริหารแล้ว

'ถ้ามีปัญหา ดิฉันก็พร้อมจะรับผิดชอบและพร้อมลาออกหากทำให้เสื่อมเสียชื่อเสียง
รัฐบาล โดยก่อนหน้านี้ ดิฉันไม่ได้เตรียมตัวที่จะเข้ามาเล่นการเมือง จึงไม่รู้ว่าจะทำ
อย่างไร ที่มีหุ้นเกิน อาจจะเป็นเรื่องที่ดินที่ตั้งโรงแรม อาจเป็นชื่อดิฉัน' นางอรนุช
กล่าว

ขณะที่พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี กล่าวว่า เป็นเรื่องที่จะต้องตรวจสอบ
ในแง่กฎหมาย ถ้าเผื่อแต่ละคนมีความรู้สึกที่ไม่สบายใจ ก็ขอให้แจ้งให้ตนทราบหลัง
จากที่กลับจากต่างประเทศแล้ว

เมื่อถามว่า ป.ป.ช. ระบุแล้วว่าไม่ผิดกฎหมาย แต่ไม่เหมาะสม นายกฯ กล่าวว่า ก็
อย่างที่ว่าเปิดให้รัฐมนตรี 3 คน ได้ปรึกษากันแล้วค่อยแจ้งให้ตนทราบเมื่อกลับจาก
ต่างประเทศแล้ว เพราะถ้าทำอะไรในช่วงนี้จะมีช่องว่างในด้านการบริหาร ขอเวลา 1
สัปดาห์ จากนั้นจะได้มาพูดคุยกัน

เมื่อถามว่า จะถึงกับต้องมีการปรับ ครม.หรือไม่
'ผมขอฟังการตัดสินใจของทั้ง 3 ท่านก่อน'

เมื่อถามอีกว่า หากทั้ง 3 คนไม่สบายใจแสดงว่าอาจมีการเปลี่ยนแปลงใช่หรือไม่
นายกฯ กล่าวว่า ก็เป็นเรื่องสิทธิให้ตัดสินใจกันแต่ละคนก็เป็นผู้ใหญ่แล้ว แต่ได้บอก
นายสิทธิชัยไปว่า ขอให้หารือกันทั้ง 3 คนก่อน ได้ข้อยุติอย่างไร รอให้ตนกลับมา
แล้วค่อยบอกให้ทราบอีกครั้ง

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า การที่พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีโอนหุ้นบริษัท
ชินคอปอรฺเรชั่น จำกัดและหุ้นบริษัทอื่นๆ ที่ถืออยู่ทั้งหมดให้แก่บุตรและเครือญาติ
เมื่อปลายปี 2543 ก่อนขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในต้นปี 2544 นั้น ทำให้เกิด
เสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่า เป็นการหลีกเลี่ยงการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญมาตรา 209 ซึ่ง
จำกัดการถือครองหุ้นและ พ.ร.บ. การจัดการหุ้นส่วนและหุ้นของรัฐมนตรี ที่จะต้อง
โอนหุ้นให้แก่กองทุนส่วนบุคคล หรือนิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สิน

มติชน วันที่ 20 กันยายน 2550 - เวลา 21:14:15 น.

http://www.matichon.co.th/news_detail.php?id=5101&catid=1

ขอบคุณมติชน ที่ทำให้ชาวบ้านได้เห็นจริยธรรมมากมาย
เอ ปู่อารีย์ ยัง no comment อยู่อีกหรือนี่
เดี๋ยวตกขบวนคนดีมีจริยธรรมเมื่อจำเป็นนา


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: เบื่อเหลี่ยม ที่ 21-09-2007, 08:00
"ขอบคุณมติชน ที่ทำให้ชาวบ้านได้เห็นจริยธรรมมากมาย
เอ ปู่อารีย์ ยัง no comment อยู่อีกหรือนี่
เดี๋ยวตกขบวนคนดีมีจริยธรรมเมื่อจำเป็นนา "  :slime_dizzy:

แล้วตอน Iเหลี่ยม ทำไม ป้า scrumpaste ไม่เห็นออกมาพูดเรื่องคนดีมีจริยธรม
บ้างเลย
 :slime_evil:


หัวข้อ: Re: รัฐธรรมนูญฉบับหมกเม็ด - อุ้มขิงเน่า
เริ่มหัวข้อโดย: ปรมาจารย์เจได ที่ 21-09-2007, 08:45
วันไหนจะเลิกตัดแปะน๊า