หัวข้อ: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: gabiNo ที่ 13-09-2008, 16:18 อยากทราบว่าทำไมคุณจรัญปล่อยให้ไอ้สุนัขรับใช้ 3 ตัวนั่นเห่าหอนสาดสี silver nano (ระดับนี้เรียกว่าป้ายสีไม่ได้แล้วอ่ะ) ผ่านหน้าจอ National Bullshit Television มาได้ติดต่อกันกว่า 3 คืนแล้ว โดยไม่ออกมาอธิบายอ่ะคะ ใครพอรู้บ้าง หรือวิเคราะห์ให้ฟังหน่อยจิ แต๊งกิววว... :slime_smile:
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: ผา หล่มสัก ที่ 13-09-2008, 16:29 ผมว่าคนระดับนี้แล้ว เขาไม่ออกมาโต้เหมือนกับพวกนักการเมืองทั่วๆ ไป หรอกครับ
เหมือนกับผู้ใหญ่ ไปทะเลาะกับเด็ก ถ้าออกมาตอบโต้ ก็มีแต่เสียกับเสีย นิ่งๆ ไว้ดีกว่า ถ้าฝ่ายไอ้ 3 ตัวนั่น มันมั่นใจว่าผิดจริง ก็ให้ยื่นถอดถอนไปเลย แล้วจะได้รู้ความจริงซะที หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: eAT ที่ 13-09-2008, 16:33 ใช่แล้ว อยู่เฉยๆ ดีกว่า ถ้าคิดว่าถูก ก็ให้พวกมันไปยื่นถอดถอน
แถมถ้ามันบ้าน้ำลายมากๆ อาจจะได้ฟ้องหมิ่นประมาทเสียเลย หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: oho ที่ 13-09-2008, 16:34 หึ หึ หึ....อย่าใจร้อนครับ :slime_bigsmile:
ถ้าเป็นผม ผมก็ยังไม่ออกมาโต้ไอ้พวกเกรียน 3 ตัวนี้ดอก ... :slime_bigsmile: ต้องอย่าลืมว่า ส่วนใหญ่นิสัยของผู้พิพากษา+ตุลาการ ต้องใช้เวลาในการเก็บหลักฐานพวกโจร :slime_bigsmile: ซึ่งอาจนานไม่ทันใจพวกเรา...แต่พอถึงเวลาลงดาบ ฟันครั้งเดียวจบครับ(ไม่ต้องฟันหลายที) :slime_bigsmile: ถ้าเป็นผม ผมก็จะนั่งหัวร่อไอ้พวกเกรียน 3 ตัว รอให้มันพล่ามออกมาให้หมด :slime_bigsmile: ยิ่งมันพล่ามเยอะ ๆๆๆๆๆ ค่อย ๆ เก็บหลักฐานให้แน่นปึ๊ก...ไว้รอเชือดจัดการครั้งเดียวจบ :slime_bigsmile: กับข้อหา "หมิ่นประมาท+ใส่ร้ายป้ายสีจัดทำเอกสารปลอม" :slime_v: เหมือนกับที่ไอ้หมักตะกวดแลน ที่มันทำเอกสารปลอมเอกสารเท็จ ไปหลอกศาลรัฐธรรมนูญ ในคดี "แดกไป-เห่าไป" :slime_bigsmile: สันดานแก๊งทักษิณ ของถนัดขึ้นชื่อลือชาไปทั่วประเทศ คือ สันดานทำเอกสารเท็จ-หมิ่นประมาทใส่ร้ายคนอื่น :slime_bigsmile: ของช๊อบชอบ ของพวกมัน :slime_bigsmile: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: อธิฏฐาน ที่ 13-09-2008, 16:57 ขณะเดียวกันบริษัทเฟซ มีเดียกับมหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชนก็มีสถานะและวัตถุประสงค์แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงโดยบริษัท เฟซ มีเดียเป็นองค์การธุรกิจที่แสวงหากำไร ขณะที่มหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชนมิใช่องค์การธุรกิจที่แสวงกำไรตามกฎหมาย
นอกจากนั้นงานพิธีกรรายการทีวีเป็นธุรกิจเต็มรูปแบบ ขณะที่งานสอนหนังสือเป็นการบริการสาธารณะอย่างหนึ่ง http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1221138135&grpid=04&catid=01 หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: อธิฏฐาน ที่ 13-09-2008, 17:10 วันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2551 เวลา 15:40:30 น. มติชนออนไลน์ อ่านล่าสุด 329 คน
อดีตส.ส.ร.แย้ง "จรัญ" ไม่ขัดรธน.ใช้เสรีภาพทางวิชาการ นายเสรี สุวรรณภานนท์ อดีตรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ 50 กล่าวถึงกรณีที่มีผู้ตั้งข้อสงสัยว่า นายจรัญ ภักดีธนากุล ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อาจมีคุณสมบัติขัดต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 207 และ 209 เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นอาจารย์สอนในมหาวิทยาลัยรัฐและเอกชน และเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั้งในมหาวิทยาลัยรัฐและเอกชน ซึ่งมีลักษณะต้องห้ามคล้ายกับนายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรี ที่ถูกวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่ง จากการทำรายการชิมไปบ่นไป ว่า แม้ทั้ง 2 กรณีจะมีลักษณะคล้ายกัน แต่ในข้อเท็จจริงแล้วแตกต่างกัน เพราะเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญเห็นว่า การสอนหนังสือ ถือเป็นเสรีภาพทางวิชาการ ซึ่งรัฐธรรมนูญมาตรา 50 ให้การรับรองไว้ว่า บุคคลย่อมมีเสรีภาพทางวิชาการ การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพร่งานวิจัยตามหลักวิชาการ ซึ่งการสอนหนังสือดังกล่าวเป็นลักษณะอาจารย์พิเศษ ไม่ใช่ลูกจ้าง เมื่อถามว่ารัฐธรรมนูญจะครอบคลุมไปถึงการเป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเอกชน ที่มีจุดมุ่งหมายทางธุรกิจด้วยหรือ นายเสรี กล่าวว่า ถึงจะเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแต่ก็เป็นสิทธิเสรีภาพทางวิชาการ การทำหน้าที่สอนหนังสือไม่มีเป้าหมายจะทำเป็นธุรกิจมุ่งหาผลกำไร http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1221295283&grpid=03&catid=01 หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: พรรณชมพู ที่ 13-09-2008, 20:55 หมาเห่า ไม่ต้องไปเห่าตอบค่ะ :slime_whistle:
เมตตามัน มันคันปาก แต่ถ้าเห่าไม่เลิก หินซักก้อน ขว้างตรงหัวหมา มันก็ร้องเอ๋งๆหางจุกทวารหนีไปเอง :slime_smile2: ไอ้สามเกรียนนั่น ใกล้หมดเวลาแล้วค่ะ สนทนาประสาหมูปาก***ก็หลุดแล้ว คิวต่อไปก็มันทั้งสามแหละค่ะ :slime_v: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: ปุถุชน ที่ 13-09-2008, 21:05 อยากทราบว่าทำไมคุณจรัญปล่อยให้ไอ้สุนัขรับใช้ 3 ตัวนั่นเห่าหอนสาดสี silver nano (ระดับนี้เรียกว่าป้ายสีไม่ได้แล้วอ่ะ) ผ่านหน้าจอ National Bullshit Television มาได้ติดต่อกันกว่า 3 คืนแล้ว โดยไม่ออกมาอธิบายอ่ะคะ ใครพอรู้บ้าง หรือวิเคราะห์ให้ฟังหน่อยจิ แต๊งกิววว... :slime_smile: ผมเชื่อว่าคุณจรัญได้รับทราบความคิดเห็นของประชาชน นักวิชาการ ผู้นำทางความคิด ที่มีคุณธรรม และ จริยธรรมแล้ว เห็นว่าการไปตอบโต้กับนรกป่วนกรุง 3 ตนนั้น คนไม่มี'ต้นทุนทางสังคม' จะเสียหายเหมือน 'เล่นกับหะมา หะมาเลียปาก'......!!! ถ้าคุณจรัญต้องชี้แจงทุกเรื่อง จะเข้าทางรายการ'เอาความเท็จมาพูด'ของนรกป่วนกรุงพวกนี้ และ ไม่มีเวลาทำหน้าที่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญลงโทษคนชั่วช้าสาระเลว และอาจารย์พิเศษให้ความรู้ทางกฏหมายเป็นวิทยาทานแกนักศึกษา......ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: Can ไทเมือง ที่ 13-09-2008, 21:09 สามเกลอหัวกลม ไม่มีราคาในสังคมไงครับ
คนที่พอจะรู้เรื่องอยู่บ้างเค้ารู้ว่านั่นเป็นความจริงครึ่งเดียว ส่วนคนที่เค้าโดนก็คงไม่ถือสาประมาณนั้นมั๊ง ปล่อยให้เป็นเหยื่อของเต้าปลาไปเถอะ หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: ปุถุชน ที่ 13-09-2008, 21:14 คนที่เป็น'เป้าหมาย'ของพวกนรกป่วนกรุงทำลายชื่อเสียง ความเชื่อถือ พิจารณาว่าเป็นพฤติกรรม 'ปากพร่อย' และ บิดเบือนข้อเท็จจริง ก็ไม่ต้องตอบโต้เป็นรายวัน รายค่ำคืนหรอก......
พวกมันใช้ปาก'ผีเจาะ'ให้ พล่ามตามประสาพวกนรกป่วนกรุง รับใช้'นายใหญ่' และนายเส-นียดที่ต้องการให้แก้แค้นแทน......ฮ่า ฮ่า ฮ่า ฮ่า หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: \(^_^)/ ที่ 13-09-2008, 21:22 คง "คร้าน" ที่จะเอา "ไม้ไปรันขี้" (เปรียบเทียบถูกป่าวหว่า?) :slime_doubt:
หรือไม่อยากนำ "พิมเสนไปแลกเกลือ" (อันนี้น่าจะถูก..อิ อิ) :slime_bigsmile: หรือว่า "หมาเห่า..ปล่อยให้มันเห่าไป..มันเหนื่อยเดี๋ยวมันก็หยุดเห่า" เอง..(งงๆ..แฮะ)" :slime_hmm: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: เช็คบิล ที่ 13-09-2008, 21:23 พูดง่ายๆ คือ ต้นทุนไอ้ 3 ตัวนั่น ไร้ราคา นั่นเอง เป็นแค่นักพูดกระจอกๆ ไร้ราคา และไอ้สองตัวนั่นก็แค่พวกเก่าๆ ที่ยังหลงเหลือในซอกเล็บเท้า
ปล่อยมันพล่ามไป รอสอยทีเดียว แล้วมันจะเจ็บลึกๆ แต่ไอ้พวกลากดำนา มันก็แถอีกเนอะ ร่ำโหยหาคร่ำครวญหาไอ้เหลี่ยม และ ไอ้หมัก อีกต่อไป :slime_smile2: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: นู๋เจ๋ง ที่ 13-09-2008, 21:25 เป็นมนุษย์ ไม่ยุ่ง กับ พวกเดียรัจฉาน
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: FireSatongNorth ที่ 13-09-2008, 21:40 ท่านจรัญ เป็นผู้หลักผู้ใหญ่ในบ้านเมือง อยู่ในหลักการที่ถูกต้อง เป็นตัวอย่างที่ดีสำหรับคนทุกรุ่น
รวมทั้งมีความกล้าหาญที่จะเผชิญหน้ากับ พวกโกงชาติกินเมือง ขอแสดงความนับถือ :slime_worship: :slime_worship: :slime_worship: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: samepong(ยุ่งแฮะ) ที่ 13-09-2008, 21:43 อ่าน มาตรา50 ออก ก็จบเรื่อง แต่อยากรู้ใครจะมาตะแบงต่ออีก
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: aiwen^mei ที่ 13-09-2008, 23:05 พวกสามตัวนั่นไม่ต่างจากบัวใต้โคลนตม ปล่อยมันปายยย สุดท้ายก็ประจานตัวเอง :slime_smile2:
เหมือนคนบางประเภท ที่ซี้ซั้วอาละวาด โง่แล้วทำหยิ่งอวดฉลาด กล่าวหาคนอื่นมั่ว ๆ ซั่ว ๆ คนที่ "รู้ทัน" ได้แต่สมเพชก็เท่านั้น หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: ^Tee^^ ที่ 13-09-2008, 23:07 เวลาเห็นขี้อยู่ข้างทางคนปกติั่ทั่วไปก็มองด้วยความขยะแขยงแล้วก็จะเดินหลบครบั :slime_bigsmile:
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: Sweet Chin Music ที่ 14-09-2008, 00:01 ไร้สาระ ไม่ควรที่จะไปยุงกับตัวอัปมงคลทางสังคม
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: mar ที่ 14-09-2008, 22:09 สามคนนั่นถ้าไม่รู้ริงๆ ขอยึดปริญญานิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์คืน
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: panda ที่ 15-09-2008, 00:44 คงเอาไว้เจอกันในศาลอย่างเดียวแหละครับ
พวกนี้ถ้ามันแน่จริงมันก็ไปยื่นเรื่องถอดถอนแล้ว เรื่องบัดซบพรรคนั้น มันถนัดครับ แต่ไม่มีปัญหาฟ้อง เพราะว่า รู้ว่า มันคนละเรื่องเดียวกับพ่อหมักมัน หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: inthanon ที่ 15-09-2008, 01:47 ไหนบอกว่ายึดมั่นกฎหมาย
ถ้าผิดจริงฟ้องศาลเลย(มันก็บอกว่าพวกเดียวกันก็ต้องช่วยเหลือกันอยู่แล้ว แล้วมรึงจะอยู่ทำไมว๊ะเมืองไทย ตามนายใหญ่มรึงไปเลย) นี่ไม่ใช่ในสภานะ ถึงพูดห มาๆ อย่างนั้นได้ ขอให้โดนสัก สองเท่านะครับ อย่าลดโทษมันเลย หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 15-09-2008, 10:02 จำนนด้วยหลักฐานแน่นหนาขนาดนั้น...มันจะกล้าเสนอหน้าออกมาแก้ต่างเหร๊อ!?! จริยธรรมสูงส่งจริงๆ....ฮ่าๆๆ :slime_smile2:
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: phutorn connection ที่ 15-09-2008, 10:54 จำนนด้วยหลักฐานแน่นหนาขนาดนั้น...มันจะกล้าเสนอหน้าออกมาแก้ต่างเหร๊อ!?! จริยธรรมสูงส่งจริงๆ....ฮ่าๆๆ :slime_smile2: ออกมาแฉอีกเรื่อยๆนะค้า... อยากจะรู้เหมือนกันว่าสุดท้ายจะกลายเป็นการแฉใคร :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: ริวเซย์ ที่ 15-09-2008, 11:08 ไหนบอกว่ายึดมั่นกฎหมาย ถ้าผิดจริงฟ้องศาลเลย(มันก็บอกว่าพวกเดียวกันก็ต้องช่วยเหลือกันอยู่แล้ว แล้วมรึงจะอยู่ทำไมว๊ะเมืองไทย ตามนายใหญ่มรึงไปเลย) นี่ไม่ใช่ในสภานะ ถึงพูดห มาๆ อย่างนั้นได้ ขอให้โดนสัก สองเท่านะครับ อย่าลดโทษมันเลย ถ้าจะให้เอาเรื่องไปฟ้องศาลจริงๆไม่กล้าแน่นอนครับ เดี๋ยวหน้าแตกหมอไม่รับเย็บ :slime_smile2: ทำได้ตอนนี้แค่กุเรื่องเต้าข่าวใส่ร้ายบิดเบือนผ่านสื่อให้ประชาชนเข้าใจผิดๆจะได้คะแนนสงสารเยอะๆนั่นล่ะครับที่ได้ผลมาตลอด หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: gabiNo ที่ 15-09-2008, 11:13 ลองไปอ่าน comment ในมติชน..ไม่น่าเชื่อว่าจะมีบางคนว่าอาจารย์จรัญ หาว่าทำให้ในหลวงกลุ้มใจ !! เอ่อ คือ คนประเทศไทยเป็นอะไรกันไปหมดนะ เห็นหมาแล้วบอกว่านก คือสรุปแล้วนี่ไอ้ที่สมัครมันโกหก xxแหล ออกทีวี ออกวิทยุแล้วความจริงมันก็ปรากฎมาตั้งหลายเรื่องแล้ว เริ่มตั้งแต่ 16 ตุลา ตายคนเดียว, ไมได้เป็นนอมินีของทักษิณ, ไม่ได้ใช้ปืน, เงินที่ได้รับเป็นเงินให้คนขับรถ...ฯลฯ รวมทั้งการสร้างหลักฐานเท็จนี่ ตกลงอ.จรัญผิดเหรอ !! ตกลงอ.จรัญคือคนที่ไม่ดีเหรอ!! โอ้พระเจ้า เศร้าใจจริงๆ ...สังคมไทยเป็นอะไร ระบอบทักษิณได้ทำให้คนไทยส่วนหนึ่งของประเทศมองเห็นสิ่งต่างๆ บิดเบี้ยวไปหมดแล้ว
เวลาเห็นขี้อยู่ข้างทางคนปกติั่ทั่วไปก็มองด้วยความขยะแขยงแล้วก็จะเดินหลบครบั :slime_bigsmile: เห็นด้วยสุดๆ :slime_agreed: :slime_agreed: แต่ก็อย่างว่าอ่ะนะ อย่างที่พวกมันพูดอาจจะถูกก็ได้ ระบบศาลยุติธรรมของไทยก็คงจะอ่อนไปจริงๆ อ่ะแหละ เพราะถ้าศักดิ์สิทธิ์จริง 100% ป่านนี้ไอ้พวกบ้านี่คงไปนั่งเห่าหอนอยู่ในคุก ไม่สามารถออกมาพล่ามออกอากาศให้ร้ายสถาบันต่างๆ ได้แบบไม่เกรงกลัวฟ้าดินขนาดนี้หรอก หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: (ลุง)ถึก สไลเดอร์ ที่ 15-09-2008, 11:20 คง "คร้าน" ที่จะเอา "ไม้ไปรันขี้" (เปรียบเทียบถูกป่าวหว่า?) :slime_doubt: อย่าเอา"ไม้สั้นไปรันขี้"หรือไม่อยากนำ "พิมเสนไปแลกเกลือ" (อันนี้น่าจะถูก..อิ อิ) :slime_bigsmile: หรือว่า "หมาเห่า..ปล่อยให้มันเห่าไป..มันเหนื่อยเดี๋ยวมันก็หยุดเห่า" เอง..(งงๆ..แฮะ)" :slime_hmm: เพราะขรี้มันจะเปื้อนมือ........เอิ้กกกกกก หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: (ลุง)ถึก สไลเดอร์ ที่ 15-09-2008, 11:22 เรื่องบางเรื่องไม่จำเป็นต้องตอบโต้ คนทั่วๆไปเขาก็เข้าใจได้เองครับ
:slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 15-09-2008, 11:40 ออกมาแฉอีกเรื่อยๆนะค้า... อยากจะรู้เหมือนกันว่าสุดท้ายจะกลายเป็นการแฉใคร :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: ทำไมไม่ช่วยกันเรียกร้องให้ผู้มีจริยธรรมสูงส่งท่านออกมาเปิดปากบ้างอ่ะคร้า? เอ๊ะ...หรือว่ากฏหมายฉบับเดียวกันและหลักการแบบเดียวกันต้องเลือกใช้กับบางคนและไม่ใช้กับบางคนเท่านั้นตามคุณสมบัติของตุลาการภิวัฒน์เด๊ะๆ!?! :slime_whistle: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: samepong(ยุ่งแฮะ) ที่ 15-09-2008, 11:55 ก่อนที่ tle จะพูดอะไรต่อ ผมถามหน่อย อ่านม.50แล้วยัง
ถ้าอ่านแล้ว ตีความว่าอย่างไง ช่วยตีความให้ดูก่อนแล้วค่อยตะแบงต่อ ไม่ใช่มาตะแบงโชว์ความต่ำๆ แบบโง่ๆๆ โดยไมอ่าน ถ้าอ่านก็เข้าใจไม่ยาก เพราะไอสามเกลอนั้นก็ยังเงียบเรื่องนี้แล้ว เดี๋ยวซวยเข้าตัวอีกรอบ แต่ tle ไม่หยุดไม่อ่านไม่คิดหมายความว่าไง ก่อนจะตะแบงต่อ ย้ำอีกที ไปตีความให้คนในบอร์ดนี้ดูก่อนว่า ม.50 ท่านฤาษีตีความได้อย่างไร หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 15-09-2008, 13:21 ก่อนที่ tle จะพูดอะไรต่อ ผมถามหน่อย อ่านม.50แล้วยัง ถ้าอ่านแล้ว ตีความว่าอย่างไง ช่วยตีความให้ดูก่อนแล้วค่อยตะแบงต่อ ไม่ใช่มาตะแบงโชว์ความต่ำๆ แบบโง่ๆๆ โดยไมอ่าน ถ้าอ่านก็เข้าใจไม่ยาก เพราะไอสามเกลอนั้นก็ยังเงียบเรื่องนี้แล้ว เดี๋ยวซวยเข้าตัวอีกรอบ แต่ tle ไม่หยุดไม่อ่านไม่คิดหมายความว่าไง ก่อนจะตะแบงต่อ ย้ำอีกที ไปตีความให้คนในบอร์ดนี้ดูก่อนว่า ม.50 ท่านฤาษีตีความได้อย่างไร บุคคล ย่อมมี เสรีภาพ ในการประกอบกิจการ หรือ ประกอบอาชีพ และ การแข่งขันโดยเสรี อย่างเป็นธรรม การจำกัด เสรีภาพ ตาม วรรคหนึ่ง จะกระทำมิได้ เว้นแต่ โดยอาศัยอำนาจ ตามบทบัญญัติ แห่งกฎหมายเฉพาะ เพื่อประโยชน์ ในการรักษา ความมั่นคง ของรัฐ หรือ เศรษฐกิจ ของประเทศ การคุ้มครอง ประชาชน ในด้าน สาธารณูปโภค การรักษา ความสงบเรียบร้อย หรือ ศีลธรรมอันดี ของประชาชน การจัดระเบียบ การประกอบอาชีพ การคุ้มครอง ผู้บริโภค การผังเมือง การรักษา ทรัพยากรธรรมชาติ หรือ สิ่งแวดล้อม สวัสดิภาพ ของประชาชน หรือเพื่อ ป้องกันการผูกขาด หรือ ขจัดความไม่เป็นธรรม ในการแข่งขัน แล้วคำพิพากษาของศาลรธน.ใช้มาตรานี้ในการตัดสินคดีชิมไปบ่นไปไหม? หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: boyk ที่ 15-09-2008, 13:40 ออกมาคอมเมนต์อะไรมากๆก็ไม่ดี ด้วยสถานะที่ดำรงอยู่และไม่เกี่ยวกับปัญหาสำคัญของบ้านเมือง
ท่านจรัลออกมาคอมเมนต์ครั้งหลังสุดถ้าจำไม่ผิด ก็ที่ตั้งคำถามว่าจะให้โจรแก้กฎหมายเพื่อให้ตนเองพ้นผิดหรือ ตอนนั้นและจวบจนบัดนี้โจรยังแสบเนื้อร้อนตัวไม่หายเลยคับ หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 15-09-2008, 13:44 ออกมาคอมเมนต์อะไรมากๆก็ไม่ดี ด้วยสถานะที่ดำรงอยู่และไม่เกี่ยวกับปัญหาสำคัญของบ้านเมือง ท่านจรัลออกมาคอมเมนต์ครั้งหลังสุดถ้าจำไม่ผิด ก็ที่ตั้งคำถามว่าจะให้โจรแก้กฎหมายเพื่อให้ตนเองพ้นผิดหรือ ตอนนั้นและจวบจนบัดนี้โจรยังแสบเนื้อร้อนตัวไม่หายเลยคับ ไม่ใช่หรอก...รู้ตัวว่าผิดแต่หน้าด้านทำเฉนไงหล่ะ สันdanปาก***ปัญญาควายน๊ะมันทั้งดื้อและชอบเห่าประจำ :slime_smile2: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: samepong(ยุ่งแฮะ) ที่ 15-09-2008, 13:51 คุณ tle อันนั้นมัน มาตรา. 50 ท่อนไหน ครับ 5555
โง่แล้วครับ นันมัน รัฐธรรมนูญ50 ที่ไหน นั้นมันที่คุณยกมานั้นมัน40 ลองไปหาอ่านใหม่ครับ คุณ tle อยากชนะจนหยิบรับธรรมนูญ40มาพูดเลยเหรอครับ น่าอายนะ ธรรมนูญ50 มาตรา 50 ให้การรับรองไว้ว่า บุคคลย่อมมีเสรีภาพทางวิชาการ การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพร่งานวิจัยตามหลักวิชาการ ฯลฯ ผมให้ไปอ่านรธน.50 ไม่ใช่40 55555 หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: gabiNo ที่ 15-09-2008, 13:58 post ซ้ำอ่ะ
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: gabiNo ที่ 15-09-2008, 13:58 พวก tle ก็งี้อ่ะค่ะ เอาอะไรมาก็ได้มาแปะไว้ก่อน ถ้าคนอ่านโง่แล้วเชื่อก็ดี แต่ถ้าอ่านแล้วไม่เชื่อ มันก็แถเรื่องอื่นต่อ -_-' เถียงกะพี่จ๊ะ หรือเถียงกะไอ้ tle ไปก็เปลืองน้ำลายเปล่าๆ เหมือนเถียงกะเด็ก ป 3 ที่คิดว่าตัวเองเป็นผู้ใหญ่แล้ว
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 15-09-2008, 14:04 คุณ tle อันนั้นมัน มาตรา. 50 ท่อนไหน ครับ 5555 โง่แล้วครับ นันมัน รัฐธรรมนูญ50 ที่ไหน นั้นมันที่คุณยกมานั้นมัน40 ลองไปหาอ่านใหม่ครับ คุณ tle อยากชนะจนหยิบรับธรรมนูญ40มาพูดเลยเหรอครับ น่าอายนะ ธรรมนูญ50 มาตรา 50 ให้การรับรองไว้ว่า บุคคลย่อมมีเสรีภาพทางวิชาการ การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพร่งานวิจัยตามหลักวิชาการ ฯลฯ ผมให้ไปอ่านรธน.50 ไม่ใช่40 55555 ฮ่าๆๆๆ...ขอบคุณครับ ม. 50 ให้เสรีภาพทางวิชาการนี่เค้าบอกด้วยไหมว่าห้ามรับตังค์!?! อย่าลืมข้อห้ามการรับตังค์ของผู้มีตำแหน่งตุลาการศาลรธน.ซิครับ หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: samepong(ยุ่งแฮะ) ที่ 15-09-2008, 14:15 ตรงไหนครับ ยกมาให้ผมอ่านมั้ง ที่บอกห้ามรับตัง เอามาให้หมดก็ได้
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 15-09-2008, 14:32 ตรงไหนครับ ยกมาให้ผมอ่านมั้ง ที่บอกห้ามรับตัง เอามาให้หมดก็ได้ "มาตรา ๒๐๗ ประธานศาลรัฐธรรมนูญ และตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ต้อง (๑) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ (๒) ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วน ท้องถิ่น หรือไม่เป็นกรรมการหรือที่ปรึกษาของรัฐวิสาหกิจหรือของหน่วยงานของรัฐ (๓) ไม่ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหา ผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด (๔) ไม่ประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด ซึ่งคำว่าลูกจ้างนั้น ดูจากความหมายของ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๕๐ กล่าวคือ ลูกจ้าง น. ผู้รับจ้างทําการงาน; (กฎ) ผู้ซึ่งตกลงทํางานให้นายจ้าง จากข้อความในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยมากที่สุดของไทยตั้งแต่เคยมีรัฐธรรมนูญมา กับความหมายของคำว่า "ลูกจ้าง" ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน จะเห็นได้ว่า "ลูกจ้าง" คือบุคคลที่ทำงานโดยมีนายจ้าง หรือพูดง่ายๆ ว่าเป็นการทำงานโดยได้รับผลประโยชน์ตอบแทนนั่นเอง" "งามหน้าต่างชาติจัดอันดับให้ศาลไทยรั้งท้ายบ๊วย เหตุตุลาการภิวัตน์ให้อำนาจมากเกิน โดย สำนักข่าวAFP ที่มา คุณไตร บอร์ดฟ้าเดียวกัน 15 กันยายน 2551 " เพิร์ก"เผยผลจัดอันดับระบบศาลในเอเชีย ระบุฮ่องกงแชมป์อันดับหนึ่ง ขณะที่อินโดนีเซียคว้าแชมป์อันดับรองโหล่ และโหล่ที่สุด ส่วนไทยรั้งท้ายติดอันดับ 9เหตุต่างชาติกังขามีอำนาจมากเกินไปจะเป็นผลดีต่อประเทศจริงหรือ สำนัก ข่าวต่างประเทศรายงานเมื่อวันที่ 14 ก.ย.ว่า สถาบันเพิร์ก ได้เปิดเผยผลสำรวจระบบศาลในภูมิภาคเอเชีย โดยประเทศที่ติดอันดับดีที่สุดอันดับแรก คือ ฮ่องกง อันดับสองได้แก่ สิงคโปร์ อันดับสาม ญี่ปุ่น อันดับสี่ เกาหลีใต้ อันดับห้า ไต้หวัน และอันดับหก ฟิลิปปินส์ อันดับเจ็ด มาเลเซีย อันดับแปด อินเดีย อันดับเก้า ไทย และอันดับสิบ จีน อันดับสิบเอ็ด เวียดนาม อันดับสิบสอง อินโดนีเซีย รายงาน ระบุว่า ในการจัดอันดับนี้ ซึ่งกระทำต่อกลุ่มนักธุรกิจระดับผู้บริหารต่างชาติ ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ความโปร่งใส่,การบังคับใช้กฎหมาย,เสรีภาพของศาลจากการไม่ถูกแทรกแซงทางการ เมือง,ประสบการณ์และมาตรฐานด้านการศึกษาของทนายความ และผู้พิพากษา โดยสำหรับอินโดนีเซีย การตัดสินของศาลถือว่าชวนให้กล่าวขาน และกระทบต่อความเชื่อของบริษัทต่างชาติอย่างรุนแรง ส่วนจีน และเวียดนาม ก็มีความเอนเอียงทางการเมืองสูง ส่วนอินเดียและฟิลิปปินส์ นักลงทุนต่างชาติไม่ได้ประโยชน์จากระบบศาลของสองประเทศนี้ เพราะพฤติกรรมคอรับชั่นเป็นหลัก ส่วนไทยนั้น คนต่างประเทศที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยมานานได้"มีข้อกังขาอย่างมาก"ต่อการขยายขอบเขตอำนาจของศาลไทยว่า จะเป็นผลดีต่อประเทศไทยจริงหรือ?" หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: หาเพื่อนหยิงคุยแก้เหงาครับ ที่ 15-09-2008, 15:04 "มาตรา ๒๐๗ ประธานศาลรัฐธรรมนูญ และตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ต้อง (๑) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ (๒) ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วน ท้องถิ่น หรือไม่เป็นกรรมการหรือที่ปรึกษาของรัฐวิสาหกิจหรือของหน่วยงานของรัฐ (๓) ไม่ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหา ผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด (๔) ไม่ประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด ซึ่งคำว่าลูกจ้างนั้น ดูจากความหมายของ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๕๐ กล่าวคือ ลูกจ้าง น. ผู้รับจ้างทําการงาน; (กฎ) ผู้ซึ่งตกลงทํางานให้นายจ้าง จากข้อความในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยมากที่สุดของไทยตั้งแต่เคยมีรัฐธรรมนูญมา กับความหมายของคำว่า "ลูกจ้าง" ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน จะเห็นได้ว่า "ลูกจ้าง" คือบุคคลที่ทำงานโดยมีนายจ้าง หรือพูดง่ายๆ ว่าเป็นการทำงานโดยได้รับผลประโยชน์ตอบแทนนั่นเอง" "งามหน้าต่างชาติจัดอันดับให้ศาลไทยรั้งท้ายบ๊วย เหตุตุลาการภิวัตน์ให้อำนาจมากเกิน โดย สำนักข่าวAFP ที่มา คุณไตร บอร์ดฟ้าเดียวกัน 15 กันยายน 2551 " เพิร์ก"เผยผลจัดอันดับระบบศาลในเอเชีย ระบุฮ่องกงแชมป์อันดับหนึ่ง ขณะที่อินโดนีเซียคว้าแชมป์อันดับรองโหล่ และโหล่ที่สุด ส่วนไทยรั้งท้ายติดอันดับ 9เหตุต่างชาติกังขามีอำนาจมากเกินไปจะเป็นผลดีต่อประเทศจริงหรือ สำนัก ข่าวต่างประเทศรายงานเมื่อวันที่ 14 ก.ย.ว่า สถาบันเพิร์ก ได้เปิดเผยผลสำรวจระบบศาลในภูมิภาคเอเชีย โดยประเทศที่ติดอันดับดีที่สุดอันดับแรก คือ ฮ่องกง อันดับสองได้แก่ สิงคโปร์ อันดับสาม ญี่ปุ่น อันดับสี่ เกาหลีใต้ อันดับห้า ไต้หวัน และอันดับหก ฟิลิปปินส์ อันดับเจ็ด มาเลเซีย อันดับแปด อินเดีย อันดับเก้า ไทย และอันดับสิบ จีน อันดับสิบเอ็ด เวียดนาม อันดับสิบสอง อินโดนีเซีย รายงาน ระบุว่า ในการจัดอันดับนี้ ซึ่งกระทำต่อกลุ่มนักธุรกิจระดับผู้บริหารต่างชาติ ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ความโปร่งใส่,การบังคับใช้กฎหมาย,เสรีภาพของศาลจากการไม่ถูกแทรกแซงทางการ เมือง,ประสบการณ์และมาตรฐานด้านการศึกษาของทนายความ และผู้พิพากษา โดยสำหรับอินโดนีเซีย การตัดสินของศาลถือว่าชวนให้กล่าวขาน และกระทบต่อความเชื่อของบริษัทต่างชาติอย่างรุนแรง ส่วนจีน และเวียดนาม ก็มีความเอนเอียงทางการเมืองสูง ส่วนอินเดียและฟิลิปปินส์ นักลงทุนต่างชาติไม่ได้ประโยชน์จากระบบศาลของสองประเทศนี้ เพราะพฤติกรรมคอรับชั่นเป็นหลัก ส่วนไทยนั้น คนต่างประเทศที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยมานานได้"มีข้อกังขาอย่างมาก"ต่อการขยายขอบเขตอำนาจของศาลไทยว่า จะเป็นผลดีต่อประเทศไทยจริงหรือ?" อยากทราบว่าฝรั่งคนนั้นเป็นคนประเทศไหนครับพี่จ๊ะ :slime_smile2: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: exzcute ที่ 15-09-2008, 15:12 "มาตรา ๒๐๗ ประธานศาลรัฐธรรมนูญ และตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ต้อง (๑) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ (๒) ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วน ท้องถิ่น หรือไม่เป็นกรรมการหรือที่ปรึกษาของรัฐวิสาหกิจหรือของหน่วยงานของรัฐ (๓) ไม่ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหา ผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด (๔) ไม่ประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด ซึ่งคำว่าลูกจ้างนั้น ดูจากความหมายของ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๕๐ กล่าวคือ ลูกจ้าง น. ผู้รับจ้างทําการงาน; (กฎ) ผู้ซึ่งตกลงทํางานให้นายจ้าง จากข้อความในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยมากที่สุดของไทยตั้งแต่เคยมีรัฐธรรมนูญมา กับความหมายของคำว่า "ลูกจ้าง" ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน จะเห็นได้ว่า "ลูกจ้าง" คือบุคคลที่ทำงานโดยมีนายจ้าง หรือพูดง่ายๆ ว่าเป็นการทำงานโดยได้รับผลประโยชน์ตอบแทนนั่นเอง" "งามหน้าต่างชาติจัดอันดับให้ศาลไทยรั้งท้ายบ๊วย เหตุตุลาการภิวัตน์ให้อำนาจมากเกิน โดย สำนักข่าวAFP ที่มา คุณไตร บอร์ดฟ้าเดียวกัน 15 กันยายน 2551 " เพิร์ก"เผยผลจัดอันดับระบบศาลในเอเชีย ระบุฮ่องกงแชมป์อันดับหนึ่ง ขณะที่อินโดนีเซียคว้าแชมป์อันดับรองโหล่ และโหล่ที่สุด ส่วนไทยรั้งท้ายติดอันดับ 9เหตุต่างชาติกังขามีอำนาจมากเกินไปจะเป็นผลดีต่อประเทศจริงหรือ สำนัก ข่าวต่างประเทศรายงานเมื่อวันที่ 14 ก.ย.ว่า สถาบันเพิร์ก ได้เปิดเผยผลสำรวจระบบศาลในภูมิภาคเอเชีย โดยประเทศที่ติดอันดับดีที่สุดอันดับแรก คือ ฮ่องกง อันดับสองได้แก่ สิงคโปร์ อันดับสาม ญี่ปุ่น อันดับสี่ เกาหลีใต้ อันดับห้า ไต้หวัน และอันดับหก ฟิลิปปินส์ อันดับเจ็ด มาเลเซีย อันดับแปด อินเดีย อันดับเก้า ไทย และอันดับสิบ จีน อันดับสิบเอ็ด เวียดนาม อันดับสิบสอง อินโดนีเซีย รายงาน ระบุว่า ในการจัดอันดับนี้ ซึ่งกระทำต่อกลุ่มนักธุรกิจระดับผู้บริหารต่างชาติ ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ความโปร่งใส่,การบังคับใช้กฎหมาย,เสรีภาพของศาลจากการไม่ถูกแทรกแซงทางการ เมือง,ประสบการณ์และมาตรฐานด้านการศึกษาของทนายความ และผู้พิพากษา โดยสำหรับอินโดนีเซีย การตัดสินของศาลถือว่าชวนให้กล่าวขาน และกระทบต่อความเชื่อของบริษัทต่างชาติอย่างรุนแรง ส่วนจีน และเวียดนาม ก็มีความเอนเอียงทางการเมืองสูง ส่วนอินเดียและฟิลิปปินส์ นักลงทุนต่างชาติไม่ได้ประโยชน์จากระบบศาลของสองประเทศนี้ เพราะพฤติกรรมคอรับชั่นเป็นหลัก ส่วนไทยนั้น คนต่างประเทศที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยมานานได้"มีข้อกังขาอย่างมาก"ต่อการขยายขอบเขตอำนาจของศาลไทยว่า จะเป็นผลดีต่อประเทศไทยจริงหรือ?" คงกังขาว่า ทำไมศาลไทยถึงใจดีคิดดีจัง ขนาดให้สองตัวนั่นออกนอกประเทศจนมันหนีไป ทิ้งให้จ๊ะผจญชะตากรรมอยู่เมืองไทย :slime_shy: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: หาเพื่อนหยิงคุยแก้เหงาครับ ที่ 15-09-2008, 15:19 เปล่าหรอกฮะที่กำลัง จะ ถามจ๊ะ ว่าจ๊ะให้น้ำหนักอันไหนมากกว่ากันหละ ขณะเดียวกัน ที่ฝรั่ง จัดอันดับ คอรับชั่น ของประเทศไทย ที่สูงขึ้นมาเรื่อยๆ
กับ ที่ ฝรั่งจัดอันดับ เกี่ยวกับ ศาล จ๊ะให้ น้ำหนักความน่าเชื่อถือ อันไหนมากกว่ากัน คิดคำตอบให้ดีๆนะ ไม่งั้น เข้าตัวจะหาว่าหมอไม่เตือน :slime_smile2: :slime_smile2: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 15-09-2008, 15:57 อยากทราบว่าฝรั่งคนนั้นเป็นคนประเทศไหนครับพี่จ๊ะ :slime_smile2: อย่าไปสนเลยคร้าว่าพี่หรั่งแกเป็นคนชาติไหน....มาช่วยกันสนใจตุลาการวิบัติกันดีกั่วไหมว่าวิบัติกันจนประเทศรองบ๊วยแล้วน๊ะท่าน'รัลน๊ะ :slime_smile2: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: หาเพื่อนหยิงคุยแก้เหงาครับ ที่ 15-09-2008, 16:08 :slime_doubt: ไม่น่า ตอบ2ความเห็นเล๊ยรู้งี้รวมเป็น คห เดียวดีกว่า เอกเลยใช้มุข ตอบ คำถามที่ง่ายที่สุด สรุป โง่เองตู :slime_dizzy: :slime_dizzy:
ช่วยตอบอีกอันหน่อย สิครับ :slime_inlove: :slime_inlove: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: samepong(ยุ่งแฮะ) ที่ 15-09-2008, 16:40 หึหึ ม.50เค้าให้อิสรในการสอนไปแล้วครับ แสดงว่าการสอนในสถาณศึกษาซึ่งถือว่าเป้นงานสาธารณะ ไม่ได้เป้นการขัดต่อมาตรา207 เพราะมาตรา50ได้รับรองอิสระตรงนี้แล้ว
เวลาตีความอย่าเบี่ยงเบนประเด็น เอาทีละอันมาตีความซิครับ หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 15-09-2008, 16:55 เปล่าหรอกฮะที่กำลัง จะ ถามจ๊ะ ว่าจ๊ะให้น้ำหนักอันไหนมากกว่ากันหละ ขณะเดียวกัน ที่ฝรั่ง จัดอันดับ คอรับชั่น ของประเทศไทย ที่สูงขึ้นมาเรื่อยๆ กับ ที่ ฝรั่งจัดอันดับ เกี่ยวกับ ศาล จ๊ะให้ น้ำหนักความน่าเชื่อถือ อันไหนมากกว่ากัน คิดคำตอบให้ดีๆนะ ไม่งั้น เข้าตัวจะหาว่าหมอไม่เตือน :slime_smile2: :slime_smile2: จ๊ะก็ให้น้ำหนักความน่าเชื่อถือพอๆกันเพราะต่างชาติเค้าวิเคราะห์ด้วยเหตุผลเพราะไม่มีผลประโยชน์ใดๆที่จะมาโกหกมิใช่หรือคุณหมาขา!?! :slime_inlove: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 15-09-2008, 17:02 หึหึ ม.50เค้าให้อิสรในการสอนไปแล้วครับ แสดงว่าการสอนในสถาณศึกษาซึ่งถือว่าเป้นงานสาธารณะ ไม่ได้เป้นการขัดต่อมาตรา207 เพราะมาตรา50ได้รับรองอิสระตรงนี้แล้ว เวลาตีความอย่าเบี่ยงเบนประเด็น เอาทีละอันมาตีความซิครับ ถ้าการไปให้ความรู้ต่อสาธารณะชนแล้วไม่รับตังค์นี่ซิอาจไม่ขัดต่อม.207 แต่นี่'รัลเล่นไปรับจ๊อบใช้ความรู้ด้านกฏหมายไปหาผลประโยชน์ส่วนตัว...คนที่มีจริยธรรมและเป็นคนร่างรธน.เองกะมือจะโชว์โง่แล้วยังปากแข็งเชียวฤา!?! :slime_doubt: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: samepong(ยุ่งแฮะ) ที่ 15-09-2008, 17:11 แล้วการสอนหนังสือเป็นงานสาธารณะไหมครับ
ม.เอกชนหรือรัฐบาลเค้าเหมือนหมดคือกิจกรรมสาธารณะไม่ต้องเสียภาษี เมื่อไม่ต้องเสียภาษีถือว่างานนั้นทำเพื่อสังคม งานนั้นทำเพื่อสังคมคือได้กระทำตามม.50 ไม่ขัดต่อม.207 ถ้าตีคนละแบบผมแนะนำให้คุณเขียนจดหมายไปให้สามเกลอนั้นโจมตีต่อไปเรื่อยๆอย่าหยุด ไปสังเกตุวิทำไมมันหยุดพอเค้ายกม.50 ออกมา เราะ ม.50ได้ให้การคุ้มครองจริงๆ ย้ำ ถ้าจะตะแบงแนะนำให้คุฯไปยื่นตีความครับ จบครับ ผมกับคุณตีความไปคนละแบบ หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 15-09-2008, 17:19 แล้วการสอนหนังสือเป็นงานสาธารณะไหมครับ ม.เอกชนหรือรัฐบาลเค้าเหมือนหมดคือกิจกรรมสาธารณะไม่ต้องเสียภาษี เมื่อไม่ต้องเสียภาษีถือว่างานนั้นทำเพื่อสังคม งานนั้นทำเพื่อสังคมคือได้กระทำตามม.50 ไม่ขัดต่อม.207 ถ้าตีคนละแบบผมแนะนำให้คุณเขียนจดหมายไปให้สามเกลอนั้นโจมตีต่อไปเรื่อยๆอย่าหยุด ไปสังเกตุวิทำไมมันหยุดพอเค้ายกม.50 ออกมา เราะ ม.50ได้ให้การคุ้มครองจริงๆ ย้ำ ถ้าจะตะแบงแนะนำให้คุฯไปยื่นตีความครับ จบครับ ผมกับคุณตีความไปคนละแบบ โอ๋ๆๆๆๆ....มาม๊ะ จะให้ยื่นตีความที่ศาลพระภูมิเหรอครับ? อย่าลืมเป็นอันขาดว่าคุณสมัครถูกตัดสินให้ผิดก็เพราะการตีความว่า 'ลูกจ้าง' หรือว่าจะมีใครในประเทศนี้ตีความสถานะของ'รัลว่าไม่ใช่ลูกจ้าง แต่เป็น 'ขี้ข้า' ก็ให้แถลงออกมาเป็นงานเป็นการหน่อยเซ่ :slime_smile2: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: หาเพื่อนหยิงคุยแก้เหงาครับ ที่ 15-09-2008, 17:23 จ๊ะก็ให้น้ำหนักความน่าเชื่อถือพอๆกันเพราะต่างชาติเค้าวิเคราะห์ด้วยเหตุผลเพราะไม่มีผลประโยชน์ใดๆที่จะมาโกหกมิใช่หรือคุณหมาขา!?! :slime_inlove: แสดงว่า ไอรัฐบาล หน้าเหลี่ยม นี่ เส็งเคร็ง มากเลยใช่มั้ยครับจ๊ะ :slime_inlove: :slime_inlove: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 15-09-2008, 17:29 แสดงว่า ไอรัฐบาล หน้าเหลี่ยม นี่ เส็งเคร็ง มากเลยใช่มั้ยครับจ๊ะ :slime_inlove: :slime_inlove: กรุณาพูดชัดๆหน่อยซิคร้าคุณหมาขาว่ารัฐบาลหน้าเหลี่ยมนี่หมายถึงใครและช่วงปีไหน? จ๊ะสับสนปวดheadอ่ะคร้า pleaseeeee :slime_inlove: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: หาเพื่อนหยิงคุยแก้เหงาครับ ที่ 15-09-2008, 17:55 กรุณาพูดชัดๆหน่อยซิคร้าคุณหมาขาว่ารัฐบาลหน้าเหลี่ยมนี่หมายถึงใครและช่วงปีไหน? จ๊ะสับสนปวดheadอ่ะคร้า pleaseeeee :slime_inlove: :slime_agreed: นี่แหละครับ ความน่ารักของพี่จ๊ะ ที่แสดงออกมาให้เห็นอยู่บ่อยๆ :slime_sentimental: ถึงต้อง อณุรักษ์ เอาไว้ คุณสามารถเห็น ความสามารถพิเศษ คือ แกล้งโง่ เอาซะดื้อๆ แบบ ที่ไม่มีใครทำได้ แบบพี่เค้าอีกแล้ว :slime_worship: :slime_agreed: :slime_agreed: :slime_inlove: :slime_inlove: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: dutchin ที่ 15-09-2008, 18:39 โอ๋ๆๆๆๆ....มาม๊ะ จะให้ยื่นตีความที่ศาลพระภูมิเหรอครับ? อย่าลืมเป็นอันขาดว่าคุณสมัครถูกตัดสินให้ผิดก็เพราะการตีความว่า 'ลูกจ้าง' หรือว่าจะมีใครในประเทศนี้ตีความสถานะของ'รัลว่าไม่ใช่ลูกจ้าง แต่เป็น 'ขี้ข้า' ก็ให้แถลงออกมาเป็นงานเป็นการหน่อยเซ่ :slime_smile2: ผิดแล้วไปอ่าน คำสั่งศาลพิพากษาให้ดีๆ หมักโดน เพราะ ตีความลูกจ้างและเรื่องภาษีที่บริษัทเป็นคนจ่ายภาษี ไม่ใช่เรื่องตีความลูกจ้างอย่างเดียว หรือ เรื่องภาษีที่บริษัทเป้นคนจ่ายภาษีอย่างเดียว สังเกตุมันต่างกันตรงคำว่า และ หรือ นะครับ หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: usa ที่ 15-09-2008, 19:19 เพราะว่า ไอ้ 3 ตัวนั้น มัน ไม่ มี รา คา ขอให้รู้ไว้ด้วย หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: boyk ที่ 15-09-2008, 19:45 "งามหน้าต่างชาติจัดอันดับให้ศาลไทยรั้งท้ายบ๊วย เหตุตุลาการภิวัตน์ให้อำนาจมากเกิน โดย สำนักข่าวAFP ที่มา คุณไตร บอร์ดฟ้าเดียวกัน 15 กันยายน 2551 " เพิร์ก"เผยผลจัดอันดับระบบศาลในเอเชีย ระบุฮ่องกงแชมป์อันดับหนึ่ง ขณะที่อินโดนีเซียคว้าแชมป์อันดับรองโหล่ และโหล่ที่สุด ส่วนไทยรั้งท้ายติดอันดับ 9เหตุต่างชาติกังขามีอำนาจมากเกินไปจะเป็นผลดีต่อประเทศจริงหรือ สำนัก ข่าวต่างประเทศรายงานเมื่อวันที่ 14 ก.ย.ว่า สถาบันเพิร์ก ได้เปิดเผยผลสำรวจระบบศาลในภูมิภาคเอเชีย โดยประเทศที่ติดอันดับดีที่สุดอันดับแรก คือ ฮ่องกง อันดับสองได้แก่ สิงคโปร์ อันดับสาม ญี่ปุ่น อันดับสี่ เกาหลีใต้ อันดับห้า ไต้หวัน และอันดับหก ฟิลิปปินส์ อันดับเจ็ด มาเลเซีย อันดับแปด อินเดีย อันดับเก้า ไทย และอันดับสิบ จีน อันดับสิบเอ็ด เวียดนาม อันดับสิบสอง อินโดนีเซีย รายงาน ระบุว่า ในการจัดอันดับนี้ ซึ่งกระทำต่อกลุ่มนักธุรกิจระดับผู้บริหารต่างชาติ ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ความโปร่งใส่,การบังคับใช้กฎหมาย,เสรีภาพของศาลจากการไม่ถูกแทรกแซงทางการ เมือง,ประสบการณ์และมาตรฐานด้านการศึกษาของทนายความ และผู้พิพากษา โดยสำหรับอินโดนีเซีย การตัดสินของศาลถือว่าชวนให้กล่าวขาน และกระทบต่อความเชื่อของบริษัทต่างชาติอย่างรุนแรง ส่วนจีน และเวียดนาม ก็มีความเอนเอียงทางการเมืองสูง ส่วนอินเดียและฟิลิปปินส์ นักลงทุนต่างชาติไม่ได้ประโยชน์จากระบบศาลของสองประเทศนี้ เพราะพฤติกรรมคอรับชั่นเป็นหลัก ส่วนไทยนั้น คนต่างประเทศที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยมานานได้"มีข้อกังขาอย่างมาก"ต่อการขยายขอบเขตอำนาจของศาลไทยว่า จะเป็นผลดีต่อประเทศไทยจริงหรือ?" แปลมาครบถ้วนหรือเปล่าคับ เขาหมายถึง ความน่าเชื่อถือกระบวนการยุติธรรม ซึ่งในที่นี้ต้องรวมตั้งแต่ขั้นต้นด้วยคือ ในชั้นของตำรวจ อัยการ ก่อนจะมาถึงศาล เอาให้แน่ ที่ได้อันดับ 9 เนี่ย มันมีปัญหาในขั้นตอนไหนกัน :slime_doubt: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: moon ที่ 15-09-2008, 21:02 ไม่ว่าไอ้ควาย 3 ตัวมันจะว่ายังไง สุดท้ายมันก็ไม่กล้าไปฟ้องศาลอยู่ดี
เต็มที่ก็ได้แต่ให้พวกลิ่วล้อมาแถตามเว็บ แม่มเก่งแต่ปาก ตัวเมียจริงๆ สส. บ้าอะไรวะ ลาออกไปได้แล้ว เห็นคนทำผิดกฏหมายยังไม่กล้าฟ้องร้อง ไอ้ควายตัวเมีย 3 ตัว นี่แหละ ที่กำลังจะเป็นไวรัสสืบพันธ์ต่ออายุการเมืองน้ำเน่า หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: samepong(ยุ่งแฮะ) ที่ 15-09-2008, 21:40 หากตีความตามจ๊ะ
ข้อแรก หมอ ทั่วประเทศ เตรียมทำผิดกฎหมายรัฐธรรมณูญหมดซิครับ เพราะ หมอไป รับงานสอนพิเศษ ก็ได้รับเงิน ผิด ม.207 หมอ ไป รับงาน opd หรือ ผ่าตัดนอกเวลา ก็รับเงิน ข้อที่สอง อ.ทั่วประเทศ อาจจะไม่สามารถไปสอนเสริมให้ที่ไหนอีก เพราะ ไปรับเท่ากับไปรับจ้าง แต่ขอเท็จจริงคือ อ.พิเศษคือเทียบเท่ากับวิทยากรให้ความรู้ คือเป็นการทำประโยชน์สาธรณะ และพอให้ยื่น ก็ตะแบงไปด้านอื่น ศักดิ์ศรีของคุณอยู่ตรงไหน เหรอ แต่มันหมดไปตั้งแต่ท้าบวชแล้วนี่เนอะ หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: นายดอกเข็ม ที่ 15-09-2008, 21:51 อยากทราบว่าทำไมคุณจรัญปล่อยให้ไอ้สุนัขรับใช้ 3 ตัวนั่นเห่าหอนสาดสี silver nano (ระดับนี้เรียกว่าป้ายสีไม่ได้แล้วอ่ะ) ผ่านหน้าจอ National Bullshit Television มาได้ติดต่อกันกว่า 3 คืนแล้ว โดยไม่ออกมาอธิบายอ่ะคะ ใครพอรู้บ้าง หรือวิเคราะห์ให้ฟังหน่อยจิ แต๊งกิววว... :slime_smile: มีขันติ ไม่จำเป็นจะต้องไปทำอะไรกับพวกบัวใต้โคลน ทำตัวเป็นใบตองแห้ง และอย่างคำโบราณ หมาเห่า ไม่กัด ดีแต่เห่า :slime_v: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 15-09-2008, 23:18 มาตรา ๒๐๗ ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญต้อง
(๑) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ (๒) ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือไม่เป็นกรรมการหรือที่ปรึกษาของรัฐวิสาหกิจหรือของหน่วยงานของรัฐ (๓) ไม่ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด (๔) ไม่ประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด เห็นได้ชัดว่า การกระทำของ คุณจรัญ ภักดีธนากุล ขัดต่อมาตรา ๒๐๗ อย่างชัดเจน เจตนารมณ์ของมาตรา ๒๐๗ นั้น มีใจความว่า ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญนั้น ไม่ควรทำงานอื่นใดทั้งสิ้น นอกจากการดำรงตำแหน่งเป็นตุลาการ หากจะกล่าวอ้างในส่วนของ มาตรา ๕๐ นั้น คุณจรัญ ภักดีธนากุล ควรลาออกจากตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อกลับไปเป็นประชาชน โดยไม่ได้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ มาตรา ๕๐ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการการศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพร่งานวิจัยตามหลักวิชาการย่อมได้รับความคุ้มครอง ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน จะเห็นได้ว่า มาตรา ๕๐ ที่คุณจรัญ กล่าวอ้างนั้น เป็นเพียงแต่วรรคแรกเท่านั้น แต่ในวรรคท้ายได้บัญญัติไว้ว่า "-----ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน-----" ให้เห็นกันชัดๆอีกครั้ง ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หน้าที่ของพลเมือง ของ คุณจรัญ ภักดีธนากุล ในขณะนี้นั้น ได้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแห่งรัฐ ดังนั้น คุณจรัญ ภักดีธนากุล มีหน้าที่ต่อรัฐด้วยตำแหน่งดังกล่าว ซึ่งควรจะต้องยึดหลักตามบทบัญญัติมาตรา ๒๐๗ เป็นหลัก การอ้างมาตรา ๕๐ นั้น สังคมควรถามหาจริยธรรมของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญท่านนี้ ว่าจริงๆแล้ว คุณจรัญ ภักดีธนากุล เหมาะสมแล้วหรือไม่ สำหรับการกระทำในหน้าที่ของตนเอง หรือ คุณจรัญ ภักดีธนากุล มีความบกพร่องเกี่ยวกับศีลธรรมอันดีของประชาชน ทั้งนี้ คุณจรัญ ภักดีธนากุล มีปัญหาและมีความบกพร่องทางศีลธรรมอันดี และจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามมาตรา ๒๗๙ ใช่หรือไม่ และทั้งนี้[อีกครั้งหนึ่ง] คุณจรัญ ภักดีธนากุล ไม่เพียงแต่เป็นแค่ประชาชนและพลเมืองคนหนึ่งของรัฐ แต่ยังดำรงตำแหน่งเป็นถึงตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เห็นได้ชัดว่า ผู้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญนั้น ควรจะต้องคำนึงถึงหลักเกณฑ์ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ เป็นกรณีพิเศษ หรือว่า จริงๆแล้ว การกล่าวอ้าง มาตรา ๕๐ มานั้น เป็นกรณีพิเศษแห่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจริงๆ ดังนั้น ศาลรัฐธรรมนูญ ควรจะต้องเปิดพจนานุกรมเพื่อช่วยในการแปลความหมายที่ชัดเจนของคำของภาษาไทยอีกครั้ง จริยธรรม ตามพจนานุกรมเช่นเดียวกันแปลว่า ธรรมที่ควรยึดถือเป็นข้อปฏิบัติและควรประพฤติ ทั้งนี้ผมก็ต้องขอขยายความเพิ่มเติมว่า จริยธรรมเป็นหลักการและกฎเกณฑ์ต่างๆ กอปรกับเป็นสำนึกที่ต้องพิจารณาว่าควรนำไปประพฤติปฏิบัติอย่างไรให้เหมาะสมกับความถูกต้อง ไม่บิดเบือน หรือละเมิดข้อตกลงที่พึงประสงค์และพึงจะเป็น โดนตั้งอยู่บนหลักการของการสำนึกในหน้าที่ที่ต้องประพฤติปฏิบัติด้วยความถูกต้อง เที่ยงธรรม และสำคัญที่สุดด้วยการสำนึกในความผิด ละอายแก่ใจ เมื่อล่วงละเมิดความถูกต้องในการครองตน ทั้งต่อการดำเนินชีวิตประจำวันและต่อวิชาอาชีพของตนเองและองค์กรหมู่คณะ จรรยาบรรณ ก็จะมีนัยความหมายที่คล้ายคลึงกับหลักการข้างต้น เพียงแต่ว่าจะเน้นที่ระเบียบ และ/หรือ ข้อตกลง ที่อาจเป็นลายลักษณ์อักษร หรือทางวาจาใจ ที่ควรยึดถือประพฤติปฏิบัติในทางที่ถูกที่ควรตามระเบียบหลักเกณฑ์ที่พึงจะเป็น คุณธรรม-จริยธรรม นั้น สำหรับมนุษย์ทั่วไปที่ ภูมิปัญญา-สติปัญญา ที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า MENTALITY ตกอยู่ในระดับล่าง มักจะไม่เข้าใจและ ไม่มีทางลึกซึ้ง กับนัยความหมายสำคัญกับสองคำนี้ ซึ่งเป็นกรณีที่เข้าใจได้ง่ายถึง กระบวนการอบรมบ่มสั่งสอน และ สภาพแวดล้อม ไม่เอื้ออำนวยและขาดตกบกพร่อง โดยที่สามารถนำมากล่อมเกลาให้รู้และเข้าใจในหลักการพื้นฐานได้ แต่ในขณะเดียวกัน เป็นกรณีที่น่า ตกใจ และ เสียใจ อย่างมากที่ผู้คนจำนวนมากที่มีสถานะทางครอบครัว สังคม เศรษฐกิจ การศึกษาดี และหน้าที่การงานดี แต่ยัง พร่อง ความรู้ความเข้าใจ และ ตระหนัก-สำนึก กับ คุณธรรม-จริยธรรม ที่ควรคำนึงประพฤติปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ระเบียบ และข้อตกลงทั้งลายลักษณ์อักษรและทางวาจาใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความละอายใจ หรือภาษาอังกฤษเรียกว่า หิริโอตตัปปะ : ละอายใจและเกรงกลัวต่อบาป! ปัญหา คุณธรรม-จริยธรรมเสื่อม ในปัจจุบัน เป็นที่อภิปรายถกเถียงกันอย่างกว้างขวาง จนกระทั่งต้องเริ่มมีการรณรงค์กันอย่างจริงจังในปัจจุบัน แต่ผมหวาดๆ ว่า การรณรงค์จริงๆ จังๆ อาจเป็นเพียง ไฟไหม้ฟาง และที่สำคัญ สาธารณชนทั่วไปอาจไม่ใส่ใจและให้ความสนใจกับหลักการและปรัชญาของคุณธรรม จริยธรรม ระบบการศึกษาไทย ทั้งในระบบและนอกระบบ (สภาพแวดล้อมสังคม) ควรจะต้องเริ่มปลูกฝังและบรรจุในหลักสูตรกันใหม่อีกครั้ง แต่ผมว่า พ่อแม่-ครอบครัว เป็นสถาบันหลักที่ต้องเริ่มตั้งแต่ต้น มิฉะนั้นเราจะไม่ถูกตำหนิว่า พ่อแม่ไม่สั่งไม่สอน! จริงๆ แล้ว ประชาชนโดยทั่วไป ไม่ว่าจะอยู่ในระดับใด สถานะทางสังคม-เศรษฐกิจจะเป็นเช่นไร ประกอบสัมมาชีพอะไร ข้าราชการ-นักการเมือง-นักธุรกิจ จำต้อง สำนึก-ตระหนัก อย่างมากกับ คุณธรรม-จริยธรรม มิเช่นนั้น สมานฉันท์ และ ประโยชน์ร่วม จะไม่เกิดขึ้น พร้อม ความสงบสุข ในองค์กรและสังคมก็จะมีแต่ ถูกลิดรอน! สุดท้ายที่สุด ความหวาดระแวง ก็จะเกิดขึ้น เมื่อคิดแต่ เอารัดเอาเปรียบ ชิงไหวชิงพริบกัน! ทั้งๆ ที่อาจจะอยู่ใน สังคมเดียวกัน! ไม่ว่าจะเป็น สังคมธุรกิจ หรือ สังคมองค์รวม! the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: นายดอกเข็ม ที่ 15-09-2008, 23:24 มาตรา ๒๐๗ ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญต้อง (๑) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ (๒) ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือไม่เป็นกรรมการหรือที่ปรึกษาของรัฐวิสาหกิจหรือของหน่วยงานของรัฐ (๓) ไม่ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด (๔) ไม่ประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด .... the OCEANER รับจ้างโพสต์บทความข้างบนเนี่ย เขาเติมเงินกันทีละเท่าไหร่หว่า :slime_doubt: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: gabiNo ที่ 16-09-2008, 13:06 บัง จ๊ะ อย่ามัวแต่มาโพสต์อยู่ในนี้เลย บอกไอ้ 3 ตัวหัวหน้านายหน่ะ ไปฟ้องเลย ยื่นเลยโลด อย่ามัวแต่เห่าแต่หอนสิ ทำจริงเลย !!
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 16-09-2008, 13:12 หากตีความตามจ๊ะ ข้อแรก หมอ ทั่วประเทศ เตรียมทำผิดกฎหมายรัฐธรรมณูญหมดซิครับ เพราะ หมอไป รับงานสอนพิเศษ ก็ได้รับเงิน ผิด ม.207 หมอ ไป รับงาน opd หรือ ผ่าตัดนอกเวลา ก็รับเงิน ข้อที่สอง อ.ทั่วประเทศ อาจจะไม่สามารถไปสอนเสริมให้ที่ไหนอีก เพราะ ไปรับเท่ากับไปรับจ้าง แต่ขอเท็จจริงคือ อ.พิเศษคือเทียบเท่ากับวิทยากรให้ความรู้ คือเป็นการทำประโยชน์สาธรณะ และพอให้ยื่น ก็ตะแบงไปด้านอื่น ศักดิ์ศรีของคุณอยู่ตรงไหน เหรอ แต่มันหมดไปตั้งแต่ท้าบวชแล้วนี่เนอะ Oh no!! มิได้คร้า มาตรา 207 ห้ามเฉพาะประธานและตุลาการศาลรธน.ไม่ให้ไปรับจ๊อบอื่นๆในระหว่างดำรงตำแหน่งดังกล่าว...กรุณาอย่าเอาเรื่องอื่นมามั่วซิเคอะ เอา ม. 207 เนื้อๆมาโต้กันดีกว่าว่าตกลง'รัลผิดจริงหรือไม่ ตามนั้น! :slime_smile2: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: Matahari ที่ 16-09-2008, 13:22 ถูกต้องแล้วที่คุณจรัลไม่ต้องโต้ตอบ ศาล ศาลรธน ศาลปกครอง มีกม ห้ามอยู่แล้วว่าทำอาชีพอย่างอื่นไม่ได้เว้นแต่การให้วิชาความรุ้ ถ้าบอกว่าคุณจรัลผิด คนอืนก็ผิด เพราะมีคนในรธน และศาลอื่นๆๆ เป็นอาจารย์สอนในมหาวิทยาลัย แน่จริงเอาพงษ์เทพ หรือสมชายมาถามซิว่ามันเป็นอาจารย์มะ เขาเรียกว่าการถ่ายทอดวิชาความรุ้เขาไม่ห้าม ไม่นั้นคนไทย โง่หมด แต่ด้านนิติศาสตร์ การเป็นอาจารย์มีมานานแล้ว ได้ 3 หัวมันก็ไปเอานายพงษ์เทพ และนายสมชายมาพล่ามแล้วถาม ซิว่าตอนมันเป็นศาล เป็นอาจารย์มะ พวกแหล จริงๆๆ การมาห้ามด้านวิชาการมันไม่ถุกต้องเขาถือว่าไม่ได้แสวงหากำไร พวกหอนหาเรื่อง อัยการไปเป็นบอร์ดได้ แต่ศาลเป็นไม่ได้ เว้นแต่ทำอาชีพอาจารย์ แต่หมักไปเป็นพีธีกร ตัวหมักสามารถหากำได้มาก ให้เอกชนหรือสามรถทำให้คนอืนที่ไม่ได้มีหมักเสียสิทธิ์หรือผลประโยชน์ อย่าเอามาเปรียบเทียบการเป็นอาจารย์ พวกหอนก่อนหอนไปถามพงษ์เทพ และนายสมชายว่ามันทำงานแบบนี้ แล้วผิดมะ สสร ก็ออกมาบอกแล้วว่าทำได้ไม่ผิด ถ้าหมักไปสอนหนังสือก็ไม่ผิด ถ้าขืนบิดกั้น ความรุ้ ก็สดุด ลงไม่สามารถเผยแพร่ ได้จริงมะ พวกมารนปก ทีเอาแต่หอนแต่ไม่ยักถามพวกมันพงษ์เทพและสมชัย อย่างอ้างนะว่าเขาเป็นศาลอืน มันเหมือนกันกฎเกณฑ์เหมือนกันหมด ไม่ว่าศาลอะไร
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 16-09-2008, 13:53 เบื่อพวกแถกเหงือกบวมๆจังอ่ะ...คนเค้ากำลังโต้กันด้วยข้อกฏหมายและอ้างอิงมาตราชัดเจนในรธน. ไม่ใช่สักแต่ว่ามีปากแล้วพล่ามไปเรื่อยเปื่อยว่าตัวเองคิดอยากให้เป็นอย่างโน้นอย่างนี้แต่ไม่ตรงกับกฏหมายใดๆ
ขอร้องเถอะ please ว่ากรุณาใช้สมองคิดและโต้กันด้วยหลักกฏหมายและกติกา...ไม่ใช่เอากติกูมาเจี้อยแจ้วเป็นนกแก้วนกขุนทอง!! :slime_smile2: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: gabiNo ที่ 16-09-2008, 14:26 จ๊ะเอ๊ย อย่ามาพูดยังงั้นยังงี้เลย ก็ทีเค้าเอา กม มาแปะไว้ให้อ่าน พูดเรื่อง กม มาก็เยอะแล้ว จ๊ะไม่เข้าใจ ไปหาหลักฐานมั่วๆ มาแปะสู้เค้า เค้าก็เลยเบื่อหรือว่าสงสารจ๊ะที่จ๊ะไม่เข้าใจก็ไม่ทราบอ่ะนะ เค้าก็เลยพยายามอธิบายด้วยปาก เผื่อว่าจ๊ะจะสำเหนียกบ้างน่ะจ้ะ เฮ้อ เพราะมีขี้ข้าอย่างจ๊ะนี่แหละน้า หัวหน้าแก๊งเริ่มตายทีละตัว :slime_smile:
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: นายเกตุ ที่ 16-09-2008, 15:01 มันได้แต่เห่าหอนอยู่หน้าจอทีวี
ทำไมมันถึงไม่ไปฟ้องศาลเสียทีรำคาญฉิบ หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 16-09-2008, 15:05 จ๊ะเอ๊ย อย่ามาพูดยังงั้นยังงี้เลย ก็ทีเค้าเอา กม มาแปะไว้ให้อ่าน พูดเรื่อง กม มาก็เยอะแล้ว จ๊ะไม่เข้าใจ ไปหาหลักฐานมั่วๆ มาแปะสู้เค้า เค้าก็เลยเบื่อหรือว่าสงสารจ๊ะที่จ๊ะไม่เข้าใจก็ไม่ทราบอ่ะนะ เค้าก็เลยพยายามอธิบายด้วยปาก เผื่อว่าจ๊ะจะสำเหนียกบ้างน่ะจ้ะ เฮ้อ เพราะมีขี้ข้าอย่างจ๊ะนี่แหละน้า หัวหน้าแก๊งเริ่มตายทีละตัว :slime_smile: คุณน้องโดนอะไรใหญ่ๆอุดปากคร้า? พี่จ๊ะเอามาตรา 207 ว่าด้วยเรื่องการห้ามประธานและตุลาการศาลรธน.ไปรับจ๊อบใดๆในระหว่างดำรงตำแหน่ง แต่ก็มีบางคนแกล้งเซ่อไปคว้า มาตรา 50 มาเฉไฉบอกว่ารธน.ให้เสรีภาพในการประกอบอาชีพ...ทั้งๆที่มันคนละมาตราเลย ม. 207 สำหรับศาลรธน. ส่วน ม. 50 สำหรับบุคคลทั่วไปที่มาตราอื่นเค้าไม่ได้ห้าม จ๊ะขยี้ตายยกรังแบบนี้...สงสัยต้องกรวดน้ำไปให้แหง๋เลยอ่ะ :slime_smile2: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 00:36 (13 ก.ย.) วันนี้ นายเสรี สุวรรณภานนท์ อดีตรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) 50 กล่าวถึงกรณีดังกล่าวว่า แม้ทั้ง 2 กรณีจะมีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่ในข้อเท็จจริงแล้วแตกต่างกัน
เพราะเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญระบุให้เห็นได้ว่า การสอนหนังสือ ถือเป็นเสรีภาพทางวิชาการ ซึ่งรัฐธรรมนูญมาตรา 50 ให้การรับรองไว้ว่า บุคคลย่อมมีเสรีภาพทางวิชาการ การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพร่งานวิจัยตามหลักวิชาการ ดังนั้นการสอนหนังสือดังกล่าวจึงเป็นลักษณะ ของอาจารย์พิเศษ ไม่ใช่ลูกจ้าง the OCENAER : นายเสรี สุวรรณภานนท์ อดีตรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) 50 กล่าวถึงรัฐธรรมนูญ มาตรา ๕๐ ไม่ครบครับ ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย ส่วนที่ ๘ สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา มาตรา ๕๐ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการการศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพร่งานวิจัยตามหลักวิชาการย่อมได้รับความคุ้มครอง ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน the OCEANER : ผมจะแยกบรรทัดให้อ่านได้ง่ายๆนะครับ มาตรา ๕๐ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการ [วิชาการซึ่งเกี่ยวกับ : ]การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพร่งานวิจัย ตามหลักวิชาการย่อมได้รับความคุ้มครอง ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน the OCEANER : เห็นวรรคสุดท้ายของมาตรา ๕๐ ไหมครับ?? มาตรา ๕๐ ... ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน มาตรา ๕๐ ... ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน มาตรา ๕๐ ... ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หน้าที่ของพลเมืองที่ชื่อ นาย จรัญ ภักดีธนากุล คุณ จรัญ ภักดีธนากุล มีหน้าที่อะไร? ต้องทำหน้าที่อย่างไร? หรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชนที่ชื่อ นาย จรัญ ภักดีธนากุล ศีลธรรม มาจากคำว่า ศีล และ ธรรม ศีล แปลว่า ปกติ ธรรม แปลว่า สภาพที่ทรงไว้ the OCEANER : มันเป็นเรื่องเกี่ยวศีลหรือครับ ที่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ จะไปทำหน้าที่สอนหนังสือ??? หรือเป็นเรื่องปกติที่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจะสอนหนังสือทั้งๆที่ขัดกับรัฐธรรมนูญบางมาตรา มันเป็นเรื่องปกติไหมครับ??? มันเป็นเรื่องเกี่ยวกับธรรมหรือครับ ที่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ จะเป็นอาจารย์สอนหนังสือ??? ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญควรจะมีสภาพที่ทรงไว้ในหน้าที่สอนหนังสือ หรือครับ??? มาตรา ๒๐๗ ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญต้อง (๑) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ (๒) ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือไม่เป็นกรรมการหรือที่ปรึกษาของรัฐวิสาหกิจหรือของหน่วยงานของรัฐ (๓) ไม่ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด (๔) ไม่ประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด เห็นได้ชัดว่า การกระทำของ คุณจรัญ ภักดีธนากุล ขัดต่อมาตรา ๒๐๗ อย่างชัดเจน เจตนารมณ์ของมาตรา ๒๐๗ นั้น มีใจความว่า ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญนั้น ไม่ควรทำงานอื่นใดทั้งสิ้น นอกจากการดำรงตำแหน่งเป็นตุลาการ หากจะกล่าวอ้างในส่วนของ มาตรา ๕๐ นั้น คุณจรัญ ภักดีธนากุล ควรลาออกจากตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อกลับไปเป็นประชาชน โดยไม่ได้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ มาตรา ๕๐ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการการศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพร่งานวิจัยตามหลักวิชาการย่อมได้รับความคุ้มครอง ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน จะเห็นได้ว่า มาตรา ๕๐ ที่คุณเสรี สุวรรณภานนท์ อดีตรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) 50 กล่าวอ้างนั้น เป็นเพียงแต่วรรคแรกเท่านั้น แต่ในวรรคท้ายได้บัญญัติไว้ว่า "-----ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน-----" ให้เห็นกันชัดๆอีกครั้ง ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หน้าที่ของพลเมือง ของ คุณจรัญ ภักดีธนากุล ในขณะนี้นั้น ได้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแห่งรัฐ ดังนั้น คุณจรัญ ภักดีธนากุล มีหน้าที่ต่อรัฐด้วยตำแหน่งดังกล่าว ซึ่งควรจะต้องยึดหลักตามบทบัญญัติมาตรา ๒๐๗ เป็นหลัก การอ้างมาตรา ๕๐ นั้น สังคมควรถามหาจริยธรรมของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญท่านนี้ ว่าจริงๆแล้ว คุณจรัญ ภักดีธนากุล เหมาะสมแล้วหรือไม่ สำหรับการกระทำในหน้าที่ของตนเอง หรือ คุณจรัญ ภักดีธนากุล มีความบกพร่องเกี่ยวกับศีลธรรมอันดีของประชาชน ทั้งนี้ คุณจรัญ ภักดีธนากุล มีปัญหาและมีความบกพร่องทางศีลธรรมอันดี และจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามมาตรา ๒๗๙ ใช่หรือไม่ และทั้งนี้[อีกครั้งหนึ่ง] คุณจรัญ ภักดีธนากุล ไม่เพียงแต่เป็นแค่ประชาชนและพลเมืองคนหนึ่งของรัฐ แต่ยังดำรงตำแหน่งเป็นถึงตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เห็นได้ชัดว่า ผู้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญนั้น ควรจะต้องคำนึงถึงหลักเกณฑ์ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ เป็นกรณีพิเศษ หรือว่า จริงๆแล้ว การกล่าวอ้าง มาตรา ๕๐ มานั้น เป็นกรณีพิเศษแห่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจริงๆ ดังนั้น ศาลรัฐธรรมนูญ ควรจะต้องเปิดพจนานุกรมเพื่อช่วยในการแปลความหมายที่ชัดเจนของคำของภาษาไทยอีกครั้ง จริยธรรม ตามพจนานุกรมเช่นเดียวกันแปลว่า ธรรมที่ควรยึดถือเป็นข้อปฏิบัติและควรประพฤติ ทั้งนี้ผมก็ต้องขอขยายความเพิ่มเติมว่า จริยธรรมเป็นหลักการและกฎเกณฑ์ต่างๆ กอปรกับเป็นสำนึกที่ต้องพิจารณาว่าควรนำไปประพฤติปฏิบัติอย่างไรให้เหมาะสมกับความถูกต้อง ไม่บิดเบือน หรือละเมิดข้อตกลงที่พึงประสงค์และพึงจะเป็น โดนตั้งอยู่บนหลักการของการสำนึกในหน้าที่ที่ต้องประพฤติปฏิบัติด้วยความถูกต้อง เที่ยงธรรม และสำคัญที่สุดด้วยการสำนึกในความผิด ละอายแก่ใจ เมื่อล่วงละเมิดความถูกต้องในการครองตน ทั้งต่อการดำเนินชีวิตประจำวันและต่อวิชาอาชีพของตนเองและองค์กรหมู่คณะ จรรยาบรรณ ก็จะมีนัยความหมายที่คล้ายคลึงกับหลักการข้างต้น เพียงแต่ว่าจะเน้นที่ระเบียบ และ/หรือ ข้อตกลง ที่อาจเป็นลายลักษณ์อักษร หรือทางวาจาใจ ที่ควรยึดถือประพฤติปฏิบัติในทางที่ถูกที่ควรตามระเบียบหลักเกณฑ์ที่พึงจะเป็น คุณธรรม-จริยธรรม นั้น สำหรับมนุษย์ทั่วไปที่ ภูมิปัญญา-สติปัญญา ที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า MENTALITY ตกอยู่ในระดับล่าง มักจะไม่เข้าใจและ ไม่มีทางลึกซึ้ง กับนัยความหมายสำคัญกับสองคำนี้ ซึ่งเป็นกรณีที่เข้าใจได้ง่ายถึง กระบวนการอบรมบ่มสั่งสอน และ สภาพแวดล้อม ไม่เอื้ออำนวยและขาดตกบกพร่อง โดยที่สามารถนำมากล่อมเกลาให้รู้และเข้าใจในหลักการพื้นฐานได้ แต่ในขณะเดียวกัน เป็นกรณีที่น่า ตกใจ และ เสียใจ อย่างมากที่ผู้คนจำนวนมากที่มีสถานะทางครอบครัว สังคม เศรษฐกิจ การศึกษาดี และหน้าที่การงานดี แต่ยัง พร่อง ความรู้ความเข้าใจ และ ตระหนัก-สำนึก กับ คุณธรรม-จริยธรรม ที่ควรคำนึงประพฤติปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ระเบียบ และข้อตกลงทั้งลายลักษณ์อักษรและทางวาจาใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความละอายใจ หรือภาษาอังกฤษเรียกว่า หิริโอตตัปปะ : ละอายใจและเกรงกลัวต่อบาป! ปัญหา คุณธรรม-จริยธรรมเสื่อม ในปัจจุบัน เป็นที่อภิปรายถกเถียงกันอย่างกว้างขวาง จนกระทั่งต้องเริ่มมีการรณรงค์กันอย่างจริงจังในปัจจุบัน แต่ผมหวาดๆ ว่า การรณรงค์จริงๆ จังๆ อาจเป็นเพียง ไฟไหม้ฟาง และที่สำคัญ สาธารณชนทั่วไปอาจไม่ใส่ใจและให้ความสนใจกับหลักการและปรัชญาของคุณธรรม จริยธรรม ระบบการศึกษาไทย ทั้งในระบบและนอกระบบ (สภาพแวดล้อมสังคม) ควรจะต้องเริ่มปลูกฝังและบรรจุในหลักสูตรกันใหม่อีกครั้ง แต่ผมว่า พ่อแม่-ครอบครัว เป็นสถาบันหลักที่ต้องเริ่มตั้งแต่ต้น มิฉะนั้นเราจะไม่ถูกตำหนิว่า พ่อแม่ไม่สั่งไม่สอน! จริงๆ แล้ว ประชาชนโดยทั่วไป ไม่ว่าจะอยู่ในระดับใด สถานะทางสังคม-เศรษฐกิจจะเป็นเช่นไร ประกอบสัมมาชีพอะไร ข้าราชการ-นักการเมือง-นักธุรกิจ จำต้อง สำนึก-ตระหนัก อย่างมากกับ คุณธรรม-จริยธรรม มิเช่นนั้น สมานฉันท์ และ ประโยชน์ร่วม จะไม่เกิดขึ้น พร้อม ความสงบสุข ในองค์กรและสังคมก็จะมีแต่ ถูกลิดรอน! สุดท้ายที่สุด ความหวาดระแวง ก็จะเกิดขึ้น เมื่อคิดแต่ เอารัดเอาเปรียบ ชิงไหวชิงพริบกัน! ทั้งๆ ที่อาจจะอยู่ใน สังคมเดียวกัน! ไม่ว่าจะเป็น สังคมธุรกิจ หรือ สังคมองค์รวม! หมวด ๑๓ จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ มาตรา ๒๗๙ มาตรฐานทางจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐแต่ละประเภท ให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรมที่กำหนดขึ้นมาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหนึ่ง จะต้องมีกลไกและระบบในการดำเนินงานเพื่อให้การบังคับใช้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งกำหนดขั้นตอนการลงโทษตามความร้ายแรงแห่งการกระทำการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าเป็นการกระทำผิดทางวินัย ในกรณีที่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินรายงานต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือสภาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี และหากเป็นการกระทำผิดร้ายแรงให้ส่งเรื่องให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพิจารณาดำเนินการโดยให้ถือเป็นเหตุที่จะถูกถอดถอนจากตำแหน่งตามมาตรา ๒๗๐การพิจารณา สรรหา กลั่นกรอง หรือแต่งตั้งบุคคลใด เข้าสู่ตำแหน่งที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการใช้อำนาจรัฐ รวมทั้งการโยกย้าย การเลื่อนตำแหน่ง การเลื่อนเงินเดือน และการลงโทษบุคคลนั้นจะต้องเป็นไปตามระบบคุณธรรมและคำนึงถึงพฤติกรรมทางจริยธรรมของบุคคลดังกล่าวด้วย the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: moon ที่ 17-09-2008, 00:59 ความจริงคือ
ไอ้หมักถูกพิพากษาไปแล้ว ความจริงคือ ได้สามเกลอมันไม่กล้าไปฟ้องศาล เพราะไม่แน่ใจ ปอดแหก จึงได้แต่บิดเบือน เฉไฉ แถข้างๆ คูๆ ไปวันๆ คุณ the OCEANER เก่งมากครับ แต่ไม่มีประโยชน์หรอกนะในนี้น่ะ แนะนำให้ฟ้องศาลนะ เก่งแต่ในนี้ไม่มีประโยชน์หรอก มันเท่ากับเป็นแค่ความคิดเห็นหนึ่งเท่านั้นแหละ หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 01:53 ความจริงคือ ไอ้หมักถูกพิพากษาไปแล้ว ความจริงคือ ได้สามเกลอมันไม่กล้าไปฟ้องศาล เพราะไม่แน่ใจ ปอดแหก จึงได้แต่บิดเบือน เฉไฉ แถข้างๆ คูๆ ไปวันๆ คุณ the OCEANER เก่งมากครับ แต่ไม่มีประโยชน์หรอกนะในนี้น่ะ แนะนำให้ฟ้องศาลนะ เก่งแต่ในนี้ไม่มีประโยชน์หรอก มันเท่ากับเป็นแค่ความคิดเห็นหนึ่งเท่านั้นแหละ เรียน คุณ moon ให้ทราบว่า the OCEANER ไม่ใช่ผู้เสียหาย ที่จะไปฟ้องร้อง คุณ จรัญ ภักดีธนากุลได้ ทั้งนี้ หมวด ๑๓ จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ มาตรา ๒๗๙ มาตรฐานทางจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐแต่ละประเภท ให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรมที่กำหนดขึ้นมาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหนึ่ง จะต้องมีกลไกและระบบในการดำเนินงานเพื่อให้การบังคับใช้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งกำหนดขั้นตอนการลงโทษตามความร้ายแรงแห่งการกระทำการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าเป็นการกระทำผิดทางวินัย ในกรณีที่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินรายงานต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือสภาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี และหากเป็นการกระทำผิดร้ายแรงให้ส่งเรื่องให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพิจารณาดำเนินการโดยให้ถือเป็นเหตุที่จะถูกถอดถอนจากตำแหน่งตามมาตรา ๒๗๐การพิจารณา สรรหา กลั่นกรอง หรือแต่งตั้งบุคคลใด เข้าสู่ตำแหน่งที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการใช้อำนาจรัฐ รวมทั้งการโยกย้าย การเลื่อนตำแหน่ง การเลื่อนเงินเดือน และการลงโทษบุคคลนั้นจะต้องเป็นไปตามระบบคุณธรรมและคำนึงถึงพฤติกรรมทางจริยธรรมของบุคคลดังกล่าวด้วย ... จะเห็นได้ว่า ... ให้ถือว่าเป็นการกระทำผิดทางวินัย ในกรณีที่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินรายงานต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือสภาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี และหากเป็นการกระทำผิดร้ายแรงให้ส่งเรื่องให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพิจารณาดำเนินการโดยให้ถือเป็นเหตุที่จะถูกถอดถอนจากตำแหน่งตามมาตรา ๒๗๐ การพิจารณา สรรหา กลั่นกรอง หรือแต่งตั้งบุคคลใด เข้าสู่ตำแหน่งที่มีส่วนเกี่ยวข้อง อ้างอิง : หมวด ๑๒ การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ส่วนที่ ๓ การถอดถอนจากตำแหน่ง มาตรา ๒๗๐ ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมาชิกวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด หรืออัยการสูงสุดผู้ใดมีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ ส่อไปในทางทุจริตต่อหน้าที่ ส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง วุฒิสภามีอำนาจถอดถอนผู้นั้นออกจากตำแหน่งได้บทบัญญัติวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับกับผู้ดำรงตำแหน่งดังต่อไปนี้ด้วย คือ (๑) ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน และกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (๒) ผู้พิพากษาหรือตุลาการ พนักงานอัยการ หรือผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต มาตรา ๒๗๑ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสี่ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานวุฒิสภาเพื่อให้วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ให้ถอดถอนบุคคลตามมาตรา ๒๗๐ ออกจากตำแหน่งได้ คำร้องขอดังกล่าวต้องระบุพฤติการณ์ที่กล่าวหาว่าผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวกระทำความผิดเป็นข้อๆ ให้ชัดเจนสมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสี่ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของวุฒิสภา มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานวุฒิสภาเพื่อให้วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ให้ถอดถอนสมาชิกวุฒิสภาออกจากตำแหน่งได้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าสองหมื่นคนมีสิทธิเข้าชื่อร้องขอให้ถอดถอนบุคคลตามมาตรา ๒๗๐ ออกจากตำแหน่งได้ตามมาตรา ๑๖๔ มาตรา ๒๗๒ เมื่อได้รับคำร้องขอตามมาตรา ๒๗๑ แล้ว ให้ประธานวุฒิสภาส่งเรื่องให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติดำเนินการไต่สวนให้แล้วเสร็จโดยเร็วเมื่อไต่สวนเสร็จแล้ว ให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทำรายงานเสนอต่อวุฒิสภา โดยในรายงานดังกล่าวต้องระบุให้ชัดเจนว่าข้อกล่าวหาตามคำร้องขอข้อใดมีมูลหรือไม่ เพียงใด มีพยานหลักฐานที่ควรเชื่อได้อย่างไร พร้อมทั้งระบุข้อยุติว่าจะให้ดำเนินการอย่างไรด้วย ในกรณีที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเห็นว่าข้อกล่าวหาตามคำร้องขอข้อใดเป็นเรื่องสำคัญ จะแยกทำรายงานเฉพาะข้อนั้นส่งไปให้ประธานวุฒิสภาตามวรรคหนึ่งเพื่อให้พิจารณาไปก่อนก็ได้ ถ้าคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ว่าข้อกล่าวหาใดมีมูล นับแต่วันดังกล่าวผู้ดำรงตำแหน่งที่ถูกกล่าวหาจะปฏิบัติหน้าที่ต่อไปมิได้จนกว่าวุฒิสภาจะมีมติ และให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติส่งรายงานและเอกสารที่มีอยู่พร้อมทั้งความเห็นไปยังประธานวุฒิสภาเพื่อดำเนินการตามมาตรา ๒๗๓ และอัยการสูงสุด เพื่อดำเนินการฟ้องคดีต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองต่อไป แต่ถ้าคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเห็นว่าข้อกล่าวหาใดไม่มีมูล ให้ข้อกล่าวหาข้อนั้นเป็นอันตกไป ในกรณีที่อัยการสูงสุดเห็นว่ารายงาน เอกสาร และความเห็นที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติส่งให้ตามวรรคสี่ยังไม่สมบูรณ์พอที่จะดำเนินคดีได้ ให้อัยการสูงสุดแจ้งให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทราบเพื่อดำเนินการต่อไป โดยให้ระบุข้อที่ไม่สมบูรณ์นั้นให้ครบถ้วนในคราวเดียวกัน ในกรณีนี้ ให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและอัยการสูงสุดตั้งคณะทำงานขึ้นคณะหนึ่ง โดยมีผู้แทนจากแต่ละฝ่ายจำนวนเท่ากันเพื่อดำเนินการรวบรวมพยานหลักฐานให้สมบูรณ์ แล้วส่งให้อัยการสูงสุด เพื่อฟ้องคดีต่อไป ในกรณีที่คณะทำงานดังกล่าวไม่อาจหาข้อยุติเกี่ยวกับการดำเนินการฟ้องคดีได้ ให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีอำนาจดำเนินการฟ้องคดีเองหรือแต่งตั้งทนายความให้ฟ้องคดีแทนก็ได้ มาตรา ๒๗๓ เมื่อได้รับรายงานตามมาตรา ๒๗๒ แล้ว ให้ประธานวุฒิสภาจัดให้มีการประชุมวุฒิสภาเพื่อพิจารณากรณีดังกล่าวโดยเร็ว ในกรณีที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติส่งรายงานให้นอกสมัยประชุม ให้ประธานวุฒิสภาแจ้งให้ประธานรัฐสภาทราบเพื่อนำความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการเรียกประชุมรัฐสภาเป็นการประชุมสมัยวิสามัญ และให้ประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ มาตรา ๒๗๔ สมาชิกวุฒิสภามีอิสระในการออกเสียงลงคะแนนซึ่งต้องกระทำโดยวิธีลงคะแนนลับ มติที่ให้ถอดถอนผู้ใดออกจากตำแหน่ง ให้ถือเอาคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของวุฒิสภาผู้ใดถูกถอดถอนออกจากตำแหน่งให้ผู้นั้นพ้นจากตำแหน่งหรือให้ออกจากราชการนับแต่วันที่วุฒิสภามีมติให้ถอดถอน และให้ตัดสิทธิผู้นั้นในการดำรงตำแหน่งใดในทางการเมืองหรือในการรับราชการเป็นเวลาห้าปีมติของวุฒิสภาตามมาตรานี้ให้เป็นที่สุด และจะมีการร้องขอให้ถอดถอนบุคคลดังกล่าวโดยอาศัยเหตุเดียวกันอีกมิได้ แต่ไม่กระทบกระเทือนการพิจารณาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง the OCEANER : หากคุณ จรัญ ภักดีธนากุล กระทำการอันเข้าข่าย ตามมาตรา มาตรา ๒๗๐ ... ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง วุฒิสภามีอำนาจถอดถอนผู้นั้นออกจากตำแหน่งได้บทบัญญัติวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับกับผู้ดำรงตำแหน่งดังต่อไปนี้ด้วย คือ (๑) ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน และกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (๒) ผู้พิพากษาหรือตุลาการ พนักงานอัยการ หรือผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ดังนั้น ตาม มาตรา ๒๗๑ เราสามารถยื่นถอดถอน คุณ จรัญ ภักดีธนากุล ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ได้ 2 วิธี คือ วีธีที่หนึ่ง ส.ส.จำนวนตั้งแต่ ๑๒๐ คนขึ้นไป ควรเข้าชื่อ ยื่นร้องขอต่อประธานวุฒิสภาเพื่อให้วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ให้ถอดถอนบุคคลตามมาตรา ๒๗๐ ออกจากตำแหน่งได้ คำร้องขอดังกล่าวต้องระบุพฤติการณ์ที่กล่าวหาว่าผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวกระทำความผิดเป็นข้อๆ ให้ชัดเจน วิธีที่สอง ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าสองหมื่นคนมีสิทธิเข้าชื่อร้องขอให้ถอดถอนบุคคลตามมาตรา ๒๗๐ ออกจากตำแหน่งได้ตามมาตรา ๑๖๔ จากนั้น ตามมาตรา ๒๗๒ เมื่อได้รับคำร้องขอตามมาตรา ๒๗๑ แล้ว ให้ประธานวุฒิสภาส่งเรื่องให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติดำเนินการไต่สวนให้แล้วเสร็จโดยเร็ว เมื่อไต่สวนเสร็จแล้ว ให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทำรายงานเสนอต่อวุฒิสภา โดยในรายงานดังกล่าวต้องระบุให้ชัดเจน ว่าข้อกล่าวหาตามคำร้องขอข้อใดมีมูลหรือไม่ เพียงใด มีพยานหลักฐานที่ควรเชื่อได้อย่างไร พร้อมทั้งระบุข้อยุติว่าจะให้ดำเนินการอย่างไรด้วย ในกรณีที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเห็นว่าข้อกล่าวหาตามคำร้องขอข้อใดเป็นเรื่องสำคัญ จะแยกทำรายงานเฉพาะข้อนั้นส่งไปให้ประธานวุฒิสภา ถ้าคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ว่า ข้อกล่าวหาใดมีมูล นับแต่วันดังกล่าวผู้ดำรงตำแหน่งที่ถูกกล่าวหาจะปฏิบัติหน้าที่ต่อไปมิได้จนกว่าวุฒิสภาจะมีมติ และให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติส่งรายงานและเอกสารที่มีอยู่ พร้อมทั้งความเห็นไปยังประธานวุฒิสภาเพื่อดำเนินการตามมาตรา ๒๗๓ มาตรา ๒๗๓ เมื่อได้รับรายงานตามมาตรา ๒๗๒ แล้ว ให้ประธานวุฒิสภาจัดให้มีการประชุมวุฒิสภาเพื่อพิจารณากรณีดังกล่าวโดยเร็ว ในกรณีที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติส่งรายงานให้นอกสมัยประชุม ให้ประธานวุฒิสภาแจ้งให้ประธานรัฐสภาทราบ เพื่อนำความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการเรียกประชุมรัฐสภาเป็นการประชุมสมัยวิสามัญ และให้ประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ มาตรา ๒๗๔ สมาชิกวุฒิสภามีอิสระในการออกเสียงลงคะแนนซึ่งต้องกระทำโดยวิธีลงคะแนนลับ มติที่ให้ถอดถอนผู้ใดออกจากตำแหน่ง ให้ถือเอาคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของวุฒิสภา ผู้ใดถูกถอดถอนออกจากตำแหน่ง ให้ผู้นั้นพ้นจากตำแหน่ง หรือให้ออกจากราชการนับแต่วันที่วุฒิสภามีมติให้ถอดถอน และให้ตัดสิทธิผู้นั้นในการดำรงตำแหน่งใดในทางการเมือง หรือในการรับราชการเป็นเวลาห้าปี มติของวุฒิสภาตามมาตรานี้ให้เป็นที่สุด และจะมีการร้องขอให้ถอดถอนบุคคลดังกล่าวโดยอาศัยเหตุเดียวกันอีกมิได้ [แต่ไม่กระทบกระเทือนการพิจารณาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง] the OCEANER : ว่ากันไปตามขั้นตอนครับ ผมไม่มีสิทธิ์ที่จะไปฟ้องศาลใดๆได้ ผมมีแค่2วิธี คือ ทำเรื่องแจ้งไปยัง ส.ส. เพื่อให้ ส.ส.จำนวนไม่น้อยกว่า120คนเข้าชื่อ หรือ ล่า 20,000 รายชื่อ ของประชาชนผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้ง แล้วเสนอชื่อต่อประธาน ส.ว. เพื่อดำเนินการ ถอดถอน คุณจรัญ ภักดีธนากุล ออกจากการดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: Solidus ที่ 17-09-2008, 02:06 ตอนนี้กลายเป็นว่าการเป็นอาจารย์สอนหนังสือให้ความรู้แก่นักศึกษาสำหรับบางคน ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนไปซะแล้ว :slime_smile2:
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: Solidus ที่ 17-09-2008, 02:22 ก่อนจะถอดถอนก็ดูก่อนว่าการไปเป็นอาจารย์พิเศษได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการข้าราชการตุลาการรึยัง ไม่งั้นจะเกิดการหน้าแตกกันอีก :slime_smile2: แต่ผมสนับสนุนให้ถอดถอนไปเลย :slime_v:
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: moon ที่ 17-09-2008, 02:25 เอาเลยครับคุณ OCEANER ผมเอาใจช่วย ผิดก็ว่าไปตามผิด ถูกก็ว่าไปตามถูก ให้เห็นกันชัดๆ
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: TheBluECaT ที่ 17-09-2008, 02:33 มาตรา ๒๐๗ ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญต้อง (๑) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ (๒) ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือไม่เป็นกรรมการหรือที่ปรึกษาของรัฐวิสาหกิจหรือของหน่วยงานของรัฐ (๓) ไม่ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด (๔) ไม่ประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด เห็นได้ชัดว่า การกระทำของ คุณจรัญ ภักดีธนากุล ขัดต่อมาตรา ๒๐๗ อย่างชัดเจน เจตนารมณ์ของมาตรา ๒๐๗ นั้น มีใจความว่า ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญนั้น ไม่ควรทำงานอื่นใดทั้งสิ้น นอกจากการดำรงตำแหน่งเป็นตุลาการ หากจะกล่าวอ้างในส่วนของ มาตรา ๕๐ นั้น คุณจรัญ ภักดีธนากุล ควรลาออกจากตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อกลับไปเป็นประชาชน โดยไม่ได้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ คุณจรัญ ผิดข้อไหนในมาตรา 207 เรอะครับ... ช่วยตอบให้ชัดเจน หน่อยสิครับ :slime_doubt: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 02:35 อ้างอิง : รัฐธรรมนูญ
มาตรา ๒๘๐ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการตามหมวดนี้ ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินมีอำนาจหน้าที่เสนอแนะหรือให้คำแนะนำ ในการจัดทำหรือปรับปรุงประมวลจริยธรรมตามมาตรา ๒๗๙ วรรคหนึ่ง และส่งเสริมให้ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีจิตสำนึกในด้านจริยธรรม รวมทั้งมีหน้าที่รายงานการกระทำที่มีการฝ่าฝืนประมวลจริยธรรม เพื่อให้ผู้ที่รับผิดชอบในการบังคับการให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรม ดำเนินการบังคับให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรมตามมาตรา ๒๗๙ วรรคสาม ในกรณีที่การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมมีลักษณะร้ายแรง หรือมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าการดำเนินการของผู้รับผิดชอบจะไม่เป็นไปด้วยความเป็นธรรม ผู้ตรวจการแผ่นดินจะไต่สวนและเปิดเผยผลการไต่สวนต่อสาธารณะก็ได้ ดังนั้น มาตรา ๒๘๐ ในวรรคที่บัญญัติไว้ว่า เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการตามหมวดนี้ ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินมีอำนาจหน้าที่เสนอแนะหรือให้คำแนะนำในการจัดทำหรือปรับปรุงประมวลจริยธรรมตามมาตรา ๒๗๙วรรคหนึ่ง ผมก็ได้ทำการค้นหาคำว่า "ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ" ใน www.google.com ได้ข้อมูลน่าสนใจ ดังนี้ http://www.geocities.com/judge4843/article/article1.html ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ หมวด ๑ อุดมการณ์ของผู้พิพากษา หมวด ๒ จริยธรรมเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ในทางอรรถคดี หมวด ๓ จริยธรรมเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ในทางธุรการ หมวด ๔ จริยธรรมเกี่ยวกับกิจการอื่น หมวด ๕ จริยธรรมเกี่ยวกับการดำรงตนและครอบครัว หมวด ๖ จริยธรรมของผู้ช่วยผู้พิพากษา ดะโต๊ะยุติธรรม และผู้พิพากษาสมทบ ผมคิดว่าหมวด ๔ นั้น น่าสนใจครับ เชิญอ่านต่อ the OCEANER อ้างอิง : ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ หมวด ๔ จริยธรรมเกี่ยวกับกิจการอื่น ข้อ ๒๖ ผู้พิพากษาจักต้องไม่เป็นกรรมการ ผู้จัดการ ที่ปรึกษาหรือดำรงตำแหน่งอื่นใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท ห้างร้าน หรือธุรกิจของเอกชน เว้นแต่จะเป็นกิจการที่มิได้แสวงหากำไร ผู้พิพากษาจักต้องไม่ประกอบอาชีพ หรือวิชาชีพ หรือกระทำกิจการใด อันจะกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ข้อ ๒๗ ... ข้อ ๒๘ ผู้พิพากษาไม่พึงแสดงปาฐกถา บรรยาย สอน หรือเข้าร่วมสัมมนา อภิปรายหรือแสดงความคิดเห็นใดๆ ต่อสาธารณชน ซึ่งอาจกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ข้อ ๒๙ ผู้พิพากษาไม่พึงเป็นกรรมการ สมาชิก หรือเจ้าหน้าที่ของสมาคม สโมสร ชมรม หรือองค์การใดๆ หรือเข้าร่วมในกิจการใดๆ อันจะกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ข้อ ๓๐ ... ข้อ ๓๑ ... ข้อ ๓๒ ... ข้อ ๓๓ ผู้พิพากษาจักต้องสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขแห่งรัฐ ข้อ ๓๔ ผู้พิพากษาจักต้องไม่เป็นกรรมการ สมาชิก หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมืองหรือกลุ่มการเมือง และจักต้องไม่เข้าเป็นตัวกระทำการ ร่วมกระทำการ สนับสนุนในการโฆษณาหรือชักชวนใดๆ ในการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาหรือผู้แทนทางการเมืองอื่นใด ทั้งไม่พึงกระทำการใดๆ อันเป็นการฝักฝ่ายพรรคการเมือง หรือกลุ่มการเมืองใดนอกจากการใช้สิทธิเลือกตั้ง the OCEANER : ขออภัยที่ตัดทอนข้อความจากประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ บางข้อ แต่สามารถ เปิดอ่านได้ตาม link ครับ ข้อ ๒๘ น่าสนใจที่สุดครับ อ้างอิง : ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ หมวด ๔ จริยธรรมเกี่ยวกับกิจการอื่น ข้อ ๒๘ ผู้พิพากษาไม่พึงแสดงปาฐกถา บรรยาย สอน หรือเข้าร่วมสัมมนา อภิปรายหรือแสดงความคิดเห็นใดๆ ต่อสาธารณชน ซึ่งอาจกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: Solidus ที่ 17-09-2008, 03:00 การสอนเรื่องกฎหมายให้ความรู้แก่นักศึกษามันกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษาตรงไหนครับ :slime_bigsmile:
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 03:02 คุณจรัญ ผิดข้อไหนในมาตรา 207 เรอะครับ... ช่วยตอบให้ชัดเจน หน่อยสิครับ :slime_doubt: ถ้าให้พิพากษา ผมคงไม่มีสิทธิ์และหน้าที่ครับ แต่หากให้ผมยื่นเรื่องเพื่อการไต่สวน ถอดถอน คุณ จรัญ ภักดีธนากุล ออกจาก ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผมว่า คุณ จรัญ ภักดีธนากุล กระทำการขัดต่อรัฐธรรมนูญมาตรา ๒๐๗ (๓),(๔) หากบทบัญญัตินั้น ยังไม่ชัดเจนเกี่ยวกับการตีความแล้ว มาตรา ๒๑๖ บัญญัติไว้ว่า มาตรา ๒๑๖ องค์คณะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในการนั่งพิจารณาและในการทำคำวินิจฉัย ต้องประกอบด้วยตุลาการศาลรัฐธรรมนูญไม่น้อยกว่าห้าคน คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้ถือเสียงข้างมาก เว้นแต่จะมีบัญญัติเป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นองค์คณะทุกคนจะต้องทำความเห็นในการวินิจฉัยในส่วนของตนพร้อมแถลงด้วยวาจาต่อที่ประชุม ก่อนการลงมติคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ และความเห็นในการวินิจฉัยของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทุกคน ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญอย่างน้อยต้องประกอบด้วยความเป็นมาหรือคำกล่าวหา สรุปข้อเท็จจริงที่ได้มาจากการพิจารณา เหตุผลในการวินิจฉัยในปัญหาข้อเท็จจริง และข้อกฎหมายและบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่ยกขึ้นอ้างอิง คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นเด็ดขาด มีผลผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาลและองค์กรอื่นของรัฐ วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ หรือ ถ้ายังไม่ชัดเจน ให้อ่านที่มาตรา ๖ มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมายกฎ หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้ ถ้า มาตรา ๒๐๗ ยังไม่สามารถระบุถึง การกระทำอันขัดต่อรัฐธรรมนูญ ของ คุณ จรัล ภักดีธนากุล ได้แล้ว ผมเห็นควรว่า จะยกประเด็นเกี่ยวกับ มาตรา ๒๗๙ และ มาตรา ๒๘๐ ซึ่งบัญญัติไว้ กล่าวเกี่ยวกับ "ประมวลจริยธรรม" โดย มาตรา ๒๘๐ ในวรรคที่บัญญัติไว้ว่า เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการตามหมวดนี้ ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินมีอำนาจหน้าที่เสนอแนะหรือให้คำแนะนำในการจัดทำหรือปรับปรุงประมวลจริยธรรมตามมาตรา ๒๗๙วรรคหนึ่ง ผมก็ได้ทำการค้นหาคำว่า "ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ" ใน www.google.com ได้ข้อมูลน่าสนใจ ดังนี้ http://www.geocities.com/judge4843/article/article1.html ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ หมวด ๑ อุดมการณ์ของผู้พิพากษา หมวด ๒ จริยธรรมเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ในทางอรรถคดี หมวด ๓ จริยธรรมเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ในทางธุรการ หมวด ๔ จริยธรรมเกี่ยวกับกิจการอื่น หมวด ๕ จริยธรรมเกี่ยวกับการดำรงตนและครอบครัว หมวด ๖ จริยธรรมของผู้ช่วยผู้พิพากษา ดะโต๊ะยุติธรรม และผู้พิพากษาสมทบ ผมคิดว่าหมวด ๔ นั้น น่าสนใจครับ เชิญอ่านต่อ the OCEANER อ้างอิง : ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ หมวด ๔ จริยธรรมเกี่ยวกับกิจการอื่น ข้อ ๒๖ ผู้พิพากษาจักต้องไม่เป็นกรรมการ ผู้จัดการ ที่ปรึกษาหรือดำรงตำแหน่งอื่นใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท ห้างร้าน หรือธุรกิจของเอกชน เว้นแต่จะเป็นกิจการที่มิได้แสวงหากำไร ผู้พิพากษาจักต้องไม่ประกอบอาชีพ หรือวิชาชีพ หรือกระทำกิจการใด อันจะกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ข้อ ๒๗ ... ข้อ ๒๘ ผู้พิพากษาไม่พึงแสดงปาฐกถา บรรยาย สอน หรือเข้าร่วมสัมมนา อภิปรายหรือแสดงความคิดเห็นใดๆ ต่อสาธารณชน ซึ่งอาจกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ข้อ ๒๙ ผู้พิพากษาไม่พึงเป็นกรรมการ สมาชิก หรือเจ้าหน้าที่ของสมาคม สโมสร ชมรม หรือองค์การใดๆ หรือเข้าร่วมในกิจการใดๆ อันจะกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ข้อ ๓๐ ... ข้อ ๓๑ ... ข้อ ๓๒ ... ข้อ ๓๓ ผู้พิพากษาจักต้องสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขแห่งรัฐ ข้อ ๓๔ ผู้พิพากษาจักต้องไม่เป็นกรรมการ สมาชิก หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมืองหรือกลุ่มการเมือง และจักต้องไม่เข้าเป็นตัวกระทำการ ร่วมกระทำการ สนับสนุนในการโฆษณาหรือชักชวนใดๆ ในการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาหรือผู้แทนทางการเมืองอื่นใด ทั้งไม่พึงกระทำการใดๆ อันเป็นการฝักฝ่ายพรรคการเมือง หรือกลุ่มการเมืองใดนอกจากการใช้สิทธิเลือกตั้ง the OCEANER : ขออภัยที่ตัดทอนข้อความจากประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ บางข้อ แต่สามารถ เปิดอ่านได้ตาม link ครับ ข้อ ๒๘ น่าสนใจที่สุดครับ อ้างอิง : ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ หมวด ๔ จริยธรรมเกี่ยวกับกิจการอื่น ข้อ ๒๘ ผู้พิพากษาไม่พึงแสดงปาฐกถา บรรยาย สอน หรือเข้าร่วมสัมมนา อภิปรายหรือแสดงความคิดเห็นใดๆ ต่อสาธารณชน ซึ่งอาจกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 03:28 the OCEANER : อ้างอิง
ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ หมวด ๕ จริยธรรมเกี่ยวกับการดำรงตนและครอบครัว ข้อ ๓๕ ผู้พิพากษาจักต้องเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด อยู่ในกรอบของศีลธรรม และพึงมีความสันโดษครองตนอย่างเรียบง่าย สุภาพ สำรวมกิริยามารยาท มีอัธยาศัยยึดถือจริยธรรมและประเพณีอันดีงามของตุลาการ ทั้งพึงวางตนให้เป็นที่เชื่อถือศรัทธาของบุคคลทั่วไป ข้อ ๓๖ ผู้พิพากษาพึงปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้นเป็นลำดับ และพึงขวนขวายศึกษาเพื่มเติมทั้งในวิชาชีพตุลาการและความรู่รอบตัว ข้อ ๓๗ ผู้พิพากษาจักต้องไม่ก้าวก่ายหรือแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษาอื่น ข้อ ๓๘ ผู้พิพากษาจักต้องไม่ยินยอมให้บุคคลในครอบครัวก้าวก่ายการปฏิบัติหน้าที่ของตน หรือของผู้อื่น และจักต้องไม่ยินยอมให้ผู้อื่นใช้ตำแหน่งของตนแสวงหาประโยชน์อันมิชอบ ข้อ ๓๙ ผู้พิพากษาพึงยึดมั่นในระบบคุณธรรม และจักต้องไม่แสวงหาตำแหน่ง ความดีความชอบ หรือประโยชน์อื่นใด โดยมิชอบจากผู้บังคับบัญชา หรือจากบุคคลอื่นใด ข้อ ๔๐ ผู้พิพากษาจักต้องระมัดระวังมิให้การประกอบวิชาชีพ อาชีพ หรือการงานอื่นใดของคู่สมรส ญาติสนิท หรือบุคคลซึ่งอยู่ในครัวเรือนของตน มีลักษณะเป็นการกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านความเชื่อถือศรัทธาของบุคคลทั่วไป ในการประสาทความยุติธรรมของผู้พิพากษา ข้อ ๔๑ ผู้พิพากษาและคู่สมรสจักต้องไม่รับทรัพย์สินหรือประโยชน์ใดๆ จากคู่ความหรือจากบุคคลอื่นใด เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษา และจักต้องดูแลให้บุคคลในครอบครัวปฏิบัติเช่นเดียวกันด้วย ข้อ ๔๒ ผู้พิพากษาและคู่สมรสจักต้องไม่รับของขวัญของกำนัล หรือประโยชน์อื่นใดอันมีมูลค่าเกินกว่าที่พึงให้กันตามอัธยาศัยและประเพณีในสังคม และจักต้องดูแลให้บุคคลในครอบครัวปฏิบัติเช่นเดียวกันด้วย ข้อ ๔๓ ผู้พิพากษาจักต้องละเว้นการคบหาสมาคมกับคู่ความ หรือบุคคลอื่น ซึ่งมีส่วนได้เสีย หรือผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับคดีความ หรือบุคคลซึ่งมีความประพฤติหรือมีชื่อเสียงในทางเสื่อมเสีย อันอาจจะกระทบกระเทือนต่อความเชื่อถือศรัทธาของบุคคลทั่วไปในการประสาทความยุติธรรมของผู้พิพากษา the OCEANER : ยิ่งอ่าน ยิ่งน่าสนใจครับ ผมแค่อ่านตามประมวลจริยธรรม ที่เกี่ยวเนื่องต่อ คุณ จรัญ ภักดีธนากุล นะครับ ยังไม่ได้กล่าวถึง บุคลในครอบครัว the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: saopao ที่ 17-09-2008, 03:33 ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ หมวด ๔ จริยธรรมเกี่ยวกับกิจการอื่น ข้อ ๒๘ ผู้พิพากษาไม่พึงแสดงปาฐกถา บรรยาย สอน หรือเข้าร่วมสัมมนา อภิปรายหรือแสดงความคิดเห็นใดๆ ต่อสาธารณชน ซึ่งอาจกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา the OCEANER การเป็นอาจารย์ ของ คุณ จรัญ ทำให้กระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ยังไง .. ไม่งั้น ผู้พิพากษาในไทย ก็ไม่สามารถไปสอนหนังสือได้เลย... ????? ไม่โดนข้อหานี้ไปเกือบหมดศาลเหรอครับ ??? หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: TheBluECaT ที่ 17-09-2008, 03:46 ถ้าให้พิพากษา ผมคงไม่มีสิทธิ์และหน้าที่ครับ แต่หากให้ผมยื่นเรื่องเพื่อการไต่สวน ถอดถอน คุณ จรัญ ภักดีธนากุล ออกจาก ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผมว่า คุณ จรัญ ภักดีธนากุล กระทำการขัดต่อรัฐธรรมนูญมาตรา ๒๐๗ (๓),(๔) ผมถามนิดเดียว.. เล่นก็อปมาทั้งดุ้นเลยเรอะครับ... ตามมาตรา ๒๐๗ ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (๓) ไม่ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด - สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเป็นสถานศึกษาที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะคือ พ.ร.บ.สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2546 ศาลปกครองสูงสุดได้มีคำวินิจฉัยตามคำสั่งที่ 880/2549 ว่า สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ดำเนินกิจกรรมบริการสาธารณะด้านการศึกษา ดังนั้น จึงมิใช่องค์กรธุรกิจเอกชน ฉะนั้นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนมิได้เป็นนิติบุคคลอย่างห้างหุ้นส่วนบริษัทหรือบริษัทตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือองค์กรธุรกิจตามกฎหมายอื่นซึ่งที่มุ้งเน้นกำไรจากการประกอบกิจการแต่อย่างใด และเนื่องจากสถาบันอุดมศึกษามิได้เป็นองค์กรธุรกิจที่มุ่งเน้นกำไร อาจารย์พิเศษ จึงไม่น่าเข้าข่ายการเป็นลูกจ้างตามกฎหมาย (๔) ไม่ประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด (อันนี้ยิ่งแล้วใหญ่ครับ) - การประกอบอาชีพอิสระ คือ การประกอบกิจการส่วนตัวต่าง ๆ ในการผลิตสินค้าหรือบริการที่ถูกต้องตามกฎหมาย เป็นธุรกิจของตนเองไม่ว่าธุรกิจนั้นจะเล็กหรือใหญ่ก็ตาม ซึ่งผู้ประกอบการสามารถที่จะกำหนดรูปแบบและวิธีดำเนินงานของตัวเองได้ตามความเหมาะสม ไม่มีเงินเดือนหรือมีรายได้ที่แน่นอนตายตัว ผลตอบแทนคือเงินกำไรจากการลงทุน ----------- ส่วนเรื่องประมวลจริยธรรม... ผมรู้แค่ไม่มีผลทางกฏหมายครับ หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 04:13 จริยธรรมในวิชาชีพ
โดย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วริยา ชินวรรโณ ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คำว่า "วิชาชีพ (profession)" นั้น มีผู้อธิบายความหมายไว้คล้ายคลึงกัน หรือแตกต่างกันดังนี้ วิลเบอร์ต อี. มัวร์ (Wilbert E. Moore) อธิบายว่า วิชาชีพคือ การประกอบอาชีพเต็มเวลา โดยผู้ประกอบวิชาชีพ (professional) อุทิศเวลาให้แก่อาชีพนั้น ๆ ผู้ประกอบวิชาชีพอยู่ในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเดียวกัน และมักมีการจัดตั้งสมาคมวิชาชีพอย่างเป็นรูปธรรม ผู้ประกอบวิชาชีพจะต้องมีความรู้และทักษะในการประกอบวิชาชีพนั้น ๆ อันเป็นผลมาจากการที่ได้รับการฝึกอบรม หรือการศึกษาตรงตามสาขาที่ประกอบวิชาชีพ นอกจากนี้ผู้ประกอบวิชาชีพจะต้องยึดมั่นอยู่กับกฎเกณฑ์ของการประกอบวิชาชีพ ปฏิบัติงานและให้บริการด้วยจิตสำนึกในวิชาชีพ ตลอดจนมรความเป็นอสระในการประกอบวิชาชีพ อันเนื่องมาจากการที่ผู้ประกอบวิชาชีพมีความเชี่ยวชาญในการประกอบวิชาชีพของตนในระดับสูง (๑) ความหมายของคำว่า "วิชาชีพ" ตามที่มัวร์ได้อธิบายไว้นี้ ค่อนข้างจะคล้ายคลึงกับความหมายที่ตินปรัชญ์พฤทธิ์ได้ให้ไว้ในหนังสือชื่อ "วิชาชีพนิยมของระบบราชการ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าิอยู่หัว" โดยเน้นว่า ความเป็นวิชาชีพ หรือวิชาชีพนิยม (professionalism) นั้น หมายถึงสิ่งที่กลุ่มคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งยึดถือว่า องค์ควารู้ หรือความรอบรู้เกี่ยวกับอาชีของตนมีค่า และพยายามผลักดันให้สาธารณชนยอมรับสถานภาพอาชีพของตน (๒) อนึ่ง คำว่า "profession" ที่แปลว่า "วิชาชีพ" นี้ได้รับการแปลความหมายในพจนานุกรม Oxford Advanced Learner's Dictionary ไว้ดังนี้ "profession: paid occupation especially one that requires advanced education and training" ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า "วิชาชีพ หมายถึง อาชีพที่ได้รับค่าตอบแทน โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะต้องเป็นอาชีพที่ต้องการการศึกษา และการฝึกอบรมในระดับสูง" (๓) ซึ่งก็ตรงกับที่ ส.เสถบุตร ได้อธิบายคำแปลของคำว่า "profession" ไว้ในพจนานุกรม New Modern English-Thai Dictionary ว่า คำว่า "profession" นั้น หมายถึง "อาชีพที่ใช้การศึกษาสูง เช่น ทนายความแพทย์ วิศวกร ครู ฯลฯ" ยังมีคำอื่น ๆที่เกี่ยวข้อง ซึ่งล้วนมีความหมายว่า "อาชีพ" แต่ไม่ใช่วิชาชีพ ได้แก่คำว่า "career" ซึ่งแปลว่าอาชีพ แต่ไม่ใช่วิชาชีพ คำว่า "trade" ซึ่งหมายถึงอาชีพทั่ว ๆ ไป รวมทั้งการค้า แต่ไม่รวมการกสิกรรม และยังมีกิจวัตรอื่น ๆ ที่อาจจะเป็นอาชีพ หรือไม่เป็นอาชีพก็ได้ ดังนี้ avocation, calling, employment, occupation, pursuit, voaction โดยทั่ว ๆ ไปคำเหล่านี้แปเป็นาษาไทยว่าอาชีพทั้งสิ้น (๔) ดังนั้น จึงขพอสรุปได้ว่า คำว่า "วิชาชีพ" นั้น มีคำแปลคำเดียยในภาษาอังกฤษคือคำว่า "profession" นอกจากนี้ ติน ปรัชญพฤทธิ์ ยังเสนอเกณฑ์ของวิชาชีพนิยมในระดับมหภาค (ทั้งตามแนวทางประวัติศาสตร์ และแนวทางที่มิใช่ประวัติศาสตร์" และระดับจุลภาค หรือระดับบุคคล ดังต่อไปนี้ เกณฑ์ของวิชาชีพนิยมในระดับมหภาค แนวตามประวัติศาสตร์ ๑. การประกอบอาชีพเต็มเวลา ๒. การจัดแผนงานการศึกษาโดยสมาคมวิชาชีพ ๓. การจัดตั้งสมาคมวิชาชีพ และการออกกฎหมายรับรองสถานสภาพของวิชาชีพ ๔. การมีจรรยาบรรณวิชาชีพ ๕. การมีองค์ความรู้ที่เป็นระบบ ๖. การเป็นที่ยอมรับของสังคม ๗. การมีความรอบรู้ในวิชาชีพ ๘. การให้บริการตามมาตรฐานวิชาชีพ ๙. การมีความเป็นอิสระในวิชาชีพ เกณฑ์ของวิชาชีพในระดับจุลภาคหรือระดับบุคคล ๑๐. การได้รับการศึกษาตรงตรามสาขาวิชาที่ประกอบอาชีพ ๑๑. การมีผู้คอยสนับสนุนในการประกอบอาชีพ ๑๒. การมีการวางแผนล่วงหน้าที่จะประกอบอาชีพ ๑๓. การมีความตั้งใจอย่างแน่วแน่ที่จะเข้าสู่ตลาดแรงงาน ๑๔. การมีความกระตือรือล้นในวิชาชีพ ๑๕. การประพฤติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๖. การมีความจงรักภักดีและความผูกพันต่อวิชาชีพ ๑๗. การมองเห็นอนาคตในการประกอบวิชาชีพ ๑๘. การมีความเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพของตน (๕) จากเกณฑ์ที่ได้กล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่ามีหลายข้อที่คล้ายคลึงกับคำจำกัดความของคำว่า "วิชาชีพ" ตามที่มัวร์ได้ระบุได้ นอกจากนี้ ติน ปรัชญพฤทธิ์ ไ้ด้่เน้นความสำคัญของการจัดตั้งสมาคมวิชาชีพ และการออกกฎหมายรับรองสถานภาพของวิชาชีพว่าเป็นประเด็นที่สำคัญมาก เพราะสมาคมวิชาชีพจะอาศัยอำนาจตามกฎหมายของสมาคม ในการกำหนดหลักจริยธรรมของวิชาชีพนั้น ๆ ต่อไป นักวิชาการอีกผู้หนึ่งคือ ทาลคอทท์ พาร์สันส์ (Talcott Parson) ได้เน้นความสามารถของผู้ประกอบวิชาชีพไว้เป็นอย่างมาก ซึ่งความสามารถของผู้ประกอบวิชาชีพตามทรรศนะของพาร์สัน นั้น มีลักษณะเดียวกับคุณสมบัติของ "มนุษย์สมัยใหม่" (modern man)" ในสังคมยุคปัจจุบันเป็นอันมาก (๖) กล่าวคือ "มนุษย์สมัยใหม่" จะต้องมีศรัทธาในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เชื่อมั่นในความสามารถของมนุษย์ในการมีอำนาจเหนือธรรมชาติ วางแผนชีวิตไว้ล่วงหน้า ตรงเวลา สม่ำเสมอ และเป็นระเบียบเรียบร้อย ในการดำเนินชีวิตกิจการทั้งหลายทั้งปวงเป็นปัจเจกชนที่พึ่งตนเองได้ อ่านหนังสือพิมพ์ ชอบอยู่ในเมืองใหญ่ ใช้ความสำเร็จของตนเองเป็นบันได้ในการเลื่อนชั้นทางสังคม และที่สำคัญคือต้องมีการศึกษาดี เพราะการศึกษานั้นเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในการสร้างมนุษย์สมัยใหม่ หรือผู้ประกอบวิชาชีพ (๗) สำหรับกรณีของประเทศไทยนั้น อาจกล่าวได้ว่าคนไทยเริ่มรู้จักคำว่า "วิชาชีพ" เป็นครั้งแรกในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และวิชาีชีพแรกที่คนไทยรู้จักก็คือวิชาชีพข้าราชการ จะเห็นได้่จากการที่พระองค์ทรงปฏิรูปโครงสร้างของระบบราชการ ตลอดนจนการบริหารประเทศให้ทันสมัยทัดเทียมนานาอารยประเทศ ดังที่เราทราบกันดีว่า พระองค์ทรงดำเนินนโยบายตามพระราชบิดาของพระองค์คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในการปรับปรุงประเทศให้เป็นสมัยใหม่ (modernization) ตลอดระยะเวลาที่ทรงครองราช์นั้น ตั้งแต่รัชสมัยของพระองค์ใน พ.ศ.๒๔๑๑ จนถึง พ.ศ.๒๔๕๓ อันเป็นปีสุดท้ายแห่งรัชกาลของพระองค์ ดังนั้น คำว่า "วิชาชีพ" (profession) จึงเริ่มช้กันเป็นครั้งแรกในรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ หมายถึงวิชาชีพข้าราชการ และการประกอบวิชาชีพ นั้น หมายถึง การประกอบวิชาชีพข้าราชการนั่นเอง ส่วนสาเหตุที่ทรงปฏิรูปการปกครองประเทศ และก่อให้เกิดการมีวิชาชีพข้าราชการนั้น สืบเนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ ดังต่อไปนี้ ปัจจัยภายใน เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์นั้น ยังทรงพระเยาว์ มีพระชนมายุเพียง ๑๕ พรรษา อำนาจในการปกครองประเทศส่วนใหญ่ตกอยู่กับกลุ่มตระกูลบุนนาค ซึ่งมีสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ต้นตระกูลบุนนาค เป็นผู้นำบุคคลในตระกูลนี้หลายคน ดำรงตำแหน่งสำคัญ ๆ ในวงราชการขณะนั้นแทบทั้งสิ้น เมื่อเป็นเช่นนี้จึงเป็นการจำเป็นอย่างยิ่งที่พระองค์จะต้องทรงดำเนินการดึงอำนาจกลับสู่ถาบันพระมหากษัตริย์ ปัจจัยภายนอก ได้แก่ อิทธิพลของประเทศมหาอำนาจตะวันตก ซึ่งเข้ามาในประเทศไทยก่อนสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แนวคิดตะวันตก ทั้งทางด้านการเมือง การปกครอง ตลอดจนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีได้เข้ามามีอิทธิพลต่อสังคมไทย ในการปรับปรุงประเทศหลายประการ อิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกเหล่านั้น มิได้จำกัดอยู่ในแวดวงชนชั้นสูงกลุ่มเดียวเท่านั้น หากแต่ได้ขยายสู่สามัญชนด้วย ทั้งนี้เนื่องจากว่าตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๔ เป็นต้นมา มีคนไทยจำนวนหนึ่งไปศึกษาอบรม ดูงาน ในประเทศตะวันตก และได้รับอิทธิพลทางความคิดจากต่างประเทศมาไม่น้อย จึงหวังที่จะเห็นการเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในแนวทางแบบตะวันตกมากยิ่งขึ้น ยิ่งไปกว่านั้น ภัยของลัทธิจักรวรรดินิยมตะวันตกก็เป็นสิ่งที่ตระหนักกันโดยทั่วไป ทั้งในหมู่ชนชั้นสูง และสามัญชนโดยทั่วไป ประเทศในเอเชียหลายประเทศได้ตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศมหาอำนาจยุโรป ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส และฮอลันดา ด้วยเหตุผลดังกล่าวมาแล้ว รัชกาลที่ ๕ จึงทรงปรับปรุงประเทศให้สอดคล้องกับแนวทางตะวันตก และการปรับปรุงประเทศที่สำคัญคือ การปฏิรูปการปกครองและระบบราชการ ทั้งนี้โดยตรงมุ่งหวังที่จะพัฒนาวิชาชีพนิยมระบบราชการ และข้าราชการไทยให้มีความเข้มแข็ง และมีความรู้พอที่จะต่อสู่กับศัตรูจากภายนอกประเทศได้ การปรับปรุงประเทศที่สำคัญก็คือ การปฏิรูปการปกครองและระบบราชการ ซึ่งผลสำคัญของการปฏิรูประบบราชการนี้ อาจแบ่งออกได้เป็น ๒ ประการ ดังนี้ ๑. ทำให้อาชีพข้าราชการกลายเป็นวิชาชีพขึ้น ทั้งนี้ดังได้กล่าวแล้วในตอนต้นว่าวิชาชีพ คือ การประกอบอาชีพเต็มเวลา และมีค่าตอบแทนเป็นเงินเดือน ซึ่งแนวคิดเกี่ยวกับวิชาชีพนี้เริ่มขึ้นในประเทศตะวันตก เมื่อมีความเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจจากระบบการผลิตเพื่อยังชีพมาเป็นระบบทุนนิยม และสำหรับในประเทศไทยนั้นเมื่อเวลาผ่านไป คำว่าวิชาชีพนี้ก็ได้ขยายขอบเขตไปผนวกวิชาชีพอื่น ๆ เข้าไว้ด้วย ๒. ทำให้เกิดมีสิ่งที่เรียกว่า "จรรยาบรรณวิชาชีพ" หรือในงานวิจัยนี้จะใช้คำว่า "จริยธรรมในวิชาชีพ" ขึ้น เพื่อควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพข้าราชการขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย เหตุที่ในงานวิจัยนี้จะใช้คำว่า "จริยธรรมในวิชาชีพ" แทนคำว่า "จรรยาบรรณวิชาชีพ" นั้น ก็ด้วยเหตุผลที่ว่า คำว่า "จรรยาบรรณ" นั้น เป็นการนำเอาคำว่า "จริย" มาสมาสกับคำว่า "บรรณ" ตามความหมายแล้วน่าจะแปลว่า "หนังสือจรรยา" มิใช่หลักแห่ความประพฤติตามที่มีผู้นำมาใช้กับวิชาชีพต่าง ๆ ประสงค์จะให้เป็นเช่นนั้น และอันที่จริงแล้ว คำว่า "จรรยาบรรณ" เป็นคำที่เกิดภายหลังคำว่า "จริยธรรม" ซึ่งเป็นคำที่เก่ากว่า และมีความหมายตรงกับคำว่า "จรรยาบรรณ" และเนื่องจากคำว่า "จริยธรรม" นั้น ได้มีผู้นิยามความหมายไว้มากมาย จึงจะขอยกความหมายทั่ว ๆ ไปพอสังเขปดังต่อไปนี้ พระราชชัยกวี (ภิกขุพุทธทาส อินฺทปญโญ) กล่าวว่าจริยธรรมแปลว่า เป็นสิ่งที่พึงประพฤติ จะต้องประพฤติ ส่วนศีลธรรมนั้นหมายถึง สิ่งที่กำลังประพฤติอยู่ หรือประพฤติแล้ว จริยธรรม หรือ ethics อยู่ในรูปของปรัชญา คือ สิ่งที่ต้องคิดต่้องนึก ส่วนเรื่องศีลธรรมหรือ morality นี้ต้องทำอยู่จริง ๆ เพราะเป็นปัญหาเฉพาะหน้า (๙) พระราชวรมุณี (ประยุทธ ปยุตฺโต) ได้อธิบายความหมายของคำว่า "จริยธรรม" ไว้ว่า จริยธรรม มาจากคำว่าพรหมจรรย์ ซึ่งในพุทธศาสนาหมายถึง มรรค คือ วิธีการปฏิบัติสายกลาง ประกอบด้วยองค์ประกอบ ๘ ประการ บางครั้งก็เรียกว่า "ไตรสิกขา" คือ การศึกษา ๓ ประการ อันได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา่ ดังนั้น จริยธรรม หรือพรหมจรรย์ มรรค และไตรสิกขา ทั้งหมดนี้เป็นทางปฏิบัติเพื่อนำมนุษย์ไปสู่จุดหมายในชีวิต (๑๐) ระวี ภาวิไล ให้ความหมายว่า ชีวิตคือการมีคนและมีโลกสัมพันธ์กัน จริยธรรมเป็นหลักกำหนดว่า ตนมุ่งอะไรในโลก และพึงปฏิบัติอย่างไร จึงแบ่งจริยธรรมออกเป็น ๓ ข้อ คือ ๑) รู้จักโลก รู้จักตน ๒) รู้จักทุกข์ รู้จักชีวิต ๓) รู้จักทุกข์ในชีวิต (๑๑) วิทย์ วิศทเวทย์ อธิบายว่า จริยธรรม คือ ความประพฤติตามค่านิยมที่พึงประสงค์ โดยใช้วิชาจริยศาสตร์ศึกษาพฤติกรรมด้านคุณค่า สามารถวิเคราห์ค่านิยมที่เป็นคู่กัน (dichotomy) สามารถแยกแยะได้ว่าสิ่งมดดี ควรกระทำ และสิ่งใดควรละเว้น (๑๒) สาโรช บัวศรี กล่าวว่า จริยธรรม คือ หลักความประพฤติที่อบรมกิริยา และปลูกฝังลักษณะนิสัยให้อยู่ในครรลองของคุณธรรมหรือศีลธรรม (๑๓) สุลักษณ์ ศิวรักษ์ มีความเห็นว่า จริยธรรมคือสิ่งที่คนในสังคมเกิดความเชื่อถือ ซึ่งมีตัวตนมาจาก ปรมัตถสัจจะ ในลัมธิศาสนาอื่น ๆ ถ้าเข้าใจปรมัตถสัจจะชัดแจ้ง และประพฤติตามนั้น จริยธรรมในสังคมย่อมเป็นผลพลอยได้ ให้บังเิกิดความยุติธรรม ความเมตตาปรานี และความเป็นอิสระแก่กัน แต่ความลำบากอยู่ตรงที่เมื่อยังเข้าไม่ถึงตัวปรมัตถสัจจะ การตีความในเรื่องปรมัตถให้ชัดแจ้งเป็นไปได้ยาก แม้เข้าใจชัดก็น่ามาปฏิบัติให้เต็มภาคภูมิได้ยาก (๑๔) จำรัส ดวงธิสาร กล่าวว่า จริยธรรมมีความหมายตามหลักพระพุทธศาสนาว่าเส้นบรรทัด และเครื่องกล่อมเกลาให้มนุษย์เคลื่อนไหว ประพฤติปฏิบัติทางกาย วาจา และใจอย่างมีกติกา (๑๕) สุภา ศิริมานนท์ ได้ให้ความหมายไว้ว่า จริยธรรม คือ ธรรมจริยา ซึ่งหมายถึง คำสอนเกี่ยวกับความประพฤติ และท่านใช้คำว่า "จริยธรรมของหนังสือพิมพ์" แทนคำว่า "จรรยาบรรณของหนังสือพิมพ์" ในหนังสือของท่าน ซึ่งกล่าวถึงหลักความประพฤติของนักหนังสือพิมพ์ (๑๖) ก่อ สวัสดิพาณิชย์ สรุปว่า จริยธรรม คือประมวลความประพฤติและความนึกคิดในสิ่งดีงามและเหมาะสม จริยธรรมในสมัยก่อนและสมัยปัจจุบัน ในชนชทและในเมืองก็มีทั้งที่ดีและเลวเหมือนกัน (๑๗) ดังนั้น หากจะกล่าวโดยสรุป นักวิชาการส่วนใหญ่เหล่านี้ลงความเห็นว่า จริยธรรม คือ หลักการที่มนุษย์ในสังคมยึดถือปฏิบัติ เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุขในสังคมนั่นเอง และเมื่อนำไปใช้กับการประกอบวิชาชีพ หรือเรียกง่าย ๆ ว่าการทำงาน ซึ่งเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของมนุษย์ ก็ย่อมหมายความว่า มนุษย์ย่อมจะต้องมีจริยธรรมในการทำงาน หรือการประกอบวิชาชีพ เพราะในการทำงาน มนุษย์ย่อมต้องมีสังคมซึ่งประกอบด้วยคนหลายคน เนื่องจากในวงการของการทำงานนั้น การทำงานคนเดียว ย่อมเป็นไปได้ยาก ดังนั้นจึงสมควรมีการวางกรอบให้มนุษย์ประพฤติปฏิบัติ เพื่อการทำงานร่วมกันอย่างสงบสุข อนึ่ง เป็นที่น่าสังเกตว่า ก่อนที่จะเกิดคำว่า "วิชาชีพ" ขึ้นในประเทศไทยนั้น คนไทยมิได้มีสิ่งที่เรียกว่า "จรรยาบรรณในวิชาชีพ" หรือ "จริยธรรมในวิชาชีพ" (Code of Ethics)* (คำว่า "จรรยาบรรณ" และคำว่า "จริยธรรม" นั้น แม้รากศัพท์จะมีความหมายต่างกัน แต่โดยความหมายที่นักวิชาการทั่ว ๆ ไปใช้ ก็คือหมายถึง หลักแห่งความประพฤติที่ถูกต้องเหมาะสม และอันที่จริงแล้ว ถ้าพิจารณาตามรากศัพท์ คำว่า "จริยธรรม" ดูจะมีความหมายตรงกับคำว่า "หลักแห่งความประพฤติ" มากกว่าคำว่า "จรรยาบรรณ" เสียอีก เพราะคำว่า "จรรยาบรรณ" แปลว่า หนังสือว่าด้วยเรื่องความประพฤติ ในขณะที่คำว่า "จริยธรรม" (จริย+ธรรม) แปลว่า ธรรมอันบุคคลพึงปฏิบัติ ดังนั้น ในบทความทุกเรื่องในชุด "จริยธรรทวิชาชีพ" นี้ จึงจะขอใช้คำว่า "จริยธรรมในวิชาชีพ" เพราะให้ความหมายที่ตรงกว่า ยกเว้นในการณีการอ้างข้อมูลจากแหล่งข้อมูลอื่น ๆ) ในลักษณะเดียวกับจริยธรรมในวิชาชีพของประเทศตะวันตก เนื่องจากว่าในประเทศตะวันตกนั้น จริยธรรมในวิชาชีพเป็นผลพวงของการจัดตั้งสมาคมวิชาชีพขึ้นเป็้นส่วนใหญ่ ครั้นเมื่องมีการจัดตั้งสมาคมวิชาชีพขึ้นแล้ว บุคคลในวิชาชีพนั้น ๆ นั่นเองที่เป็นผู้กระตุ้นให้เกิดการมีจริยธรรมในวิชาชีพขึ้น เพื่อยกฐานะวิชาชีพของตนให้เป็นที่ยอมรับของสังคม ดังตัวอย่างของจรรยาแพทย์ที่เรียกว่า Hippocratic Oath ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยบาบิโลน และโรมัน อย่างไรก็ตาม จริยธรรมในวิชาชีพของชาวตะวันตกนั้น มิได้มีบ่อเกิดมาจากการจัดตั้งสมาคมวิชาชีพแต่เพียงอย่างเดียวเท่่านั้น บางส่วนอาจจะมาจากปรัชญาทางการเมือง อิทธิพลทางศาสนา แนวคิดหรือุดมการ์ของผู้รู้ หรือพระมหากษัตริย์ ความจำเป็นเฉพาะหน้า วินัย ฯลฯ เป็นต้น (๑๘) สำหรับจริยธรรมวิชาชีพในประเทศไทย ซึ่งเริ่มมีขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นั้น อาจกล่าวได้ว่ามีรากฐานมาจากหลายแหล่งด้วยกันดังต่อไปนี้ ๑. หลักจริยธรรมที่ได้จา่กอิทธิพลของพระพุทธศาสนา ได้แก่ ทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตร ราชสังคหวัตถุ และราชสวดีธรรม ทศพิธราชธรรม นั้น แปลตามตัวหมายถึงธรรมของพระมหากษัตริย์ แต่อันที่จริงแล้วเป็นหลักธรรมซึ่งมิใช่พระมหากษัตริย์เท่านั้นที่ควรปฏิบัติ ข้าราชการทั่ว ๆ ไปก็ควรปฏิบัติตามด้วย ได้แก่ ๑) ทาน ๒) ความประพฤติที่ดีงามหรือศีล ๓) การบริจาค หรือการยอมสละผลประโยชน์ส่วนตน เพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม ๔) ความเป็นคนตรง ๕) ความสุภาพอ่อนโยนต่อชนทั้งปวง ๖) ความเพียร ๗) ความไม่โกรธ ๘) ความไม่เบียดเบียน ๙) ความอดทน และ ๑๐) ความไม่ผิดพลาด จักรวรรดิวัตร เป็นหลักธรรมที่มีจุดประสงค์ให้พระมหากษัตริย์ และข้าราชการของพระองค์ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินนโยบายทางการเมือง ดังต่อไปนี้ ๑) การอบรมให้ผู้อยู่ในปกครองตั้งตนอยู่ในศีลธรรมอันดีงาม ๒) การผูกพันธไมตรีกับต่างประเทศ ๓) การให้รางวัลอันสมควรแก่ผู้บำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ๔) การเกื้อกูลผู้ทรงศีล เครื่องพรต และไทยธรรม และอนุเคาระห์คฤหบดี ด้วยการให้ความช่วยเหลือในสิ่งจำเป็นสำหรับอาชีพ ๕) การอนุเคราะห์ให้เลี้ยงชีพได้ตามควรแก่อัตภาพ ๖) การให้อุปการะแก่ผู้ทรงศีลที่ประพฤติชอบ ๗) ห้ามการเบียดเบียนสัตว์ ๘) การชักนำให้ชนทั้งหลายตั้งอยู่ในธรรม ขจัดการทำบาป ทำกรรม และความไม่เป็นธรรม ๙) การให้การสงเคราะห์แก่ผู้ที่ขัดสนไม่พอเลี้ยงชีพ ๑๐) การเข้าหาผู้ทรงศีลในโอกาสอันควร เพื่อศึกษาถึงบุญบาป ๑๑) การตั้งวิรัติห้ามจิตไม่ให้เกิดอธรรมราคะดำฤาณาในที่ไม่ควร และ ๑๒) การระงับความโลภ ห้ามจิตไม่ให้ปรารถนาลาภที่ไม่ควรได้ ราชสังคหวัตถุ คือ หลักธรรมที่ใช้เป็นแนวทางในการวางนโยบายปกครองบ้านเมือง และการพัฒนาประเทศหรือรัฐาภิบาล ๑ รัฐประศาสนโยบาย ซึ่งได้แก่ ๑) การบำรุงบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ ๒) การรู้จักดูคน รู้จักใช้คนให้เหมาะกับงาน และให้รางวัลตามสมควรของเขา ๓) การรู้จักแก้ปัญหาสังคมให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของคนส่วนใหญ่ และ ๔) การพูดจาไพเราะ ราชวสดีธรรม คือ ธรรมที่เป็นหลักปฏิบัติต่อราชการซึ่งมีทั้งหมด ๔๙ ข้อ และพอจะสรุปออกมาได้เป็น กลุ่มใหญ่ ได้แก่ ธรรมที่เกี่ยวกับการปฏฺบัติต่อพระราชาโดยตรง ๒) ธรรมเกี่ยวกับการควบคุมตนเอง และ ๓) ธรรมที่เกี่ยวกับการงานโดยตรง ดังตัวอย่างของธรรมเหล่านี้ต่อไปนี้ - เมื่อเข้ารับราชการใหม่ ๆ ยังไม่มีชื่อเสียง และยังมิได้มียศศักดิ์ ก็อย่ากล้าจนเกินพอ และอย่าขลาดกลัวจนเสียราชการ - ข้าราชการต้องไม่มักง่าย ไม่เลินเล่อเผลอสติ แต่ต้องระมัดระวังให้ดีอยู่เสมอ ถ้าหัวหน้าทราบความประพฤติ สติปัญญา และความซื่อสัตย์ สุจริตแล้ว ย่อมไว้วางใจ และเผยความลับให้ทราบด้วย - ไม่พึงเห็นแก่หลับนอนจนแสดงให้เห็นเป็นการเกียจคร้าน - เมื่อพระมหากษัตริย์จะทรงยกย่องพระราชโอรสหรือพระราชวงศ์ โดยพระราชทานบ้าน นิคม รัฐ (นครรัฐ) หรือชนบทให้ครอบครอง ก็ควรนิ่งดูก่อนไม่ควรด่วนเพ็ดทูลคุณหรือโทษ - ข้าราชการพึงใฝ่ใจเข้าไปหาสมณะและพราหมณีผู้ทรงศีล ผู้เป็นนักปราชญ์ หรือรู้หลักนักปราชญ์ดี เพื่อรักษาศีล ฟังธรรมบ้าง ศึกษาถ่ายทอดเอาความรู้ท่านบ้าง (๑๙) ฯลฯ ๒. หลักจริยธรรมที่ได้จากคำสาบาน กฎหมาย หรือวินัย หลักจริยธรรมที่ได้จากคำสาบานของข้าราชการที่เข้าดำรงตำแหน่งสำคัญ ๆ ต่าง ๆ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือเป็นหลักจริยธรรมที่ได้รับการระบุไว้ในกฎหมาย หรือวินัยของข้าราชการ เช่น กฎหมายลักษณะอาญาหลวง พุทธศักราช ๑๘๙๕ กฎมณเทียรบาล จ.ศ.๗๒๐ ฯลฯ เป็นต้น หลักจริยธรรมที่่ได้จากคำสาบานของข้าราชการที่เข้ารับตำแหน่งสำคัญ ๆ เช่น คำสาบานของปรีวีเคาน์ซิลลอร์ หรือองคมนตรี ใน พ.ศ.๒๔๑๗ ข้อ ๓ การสิ่งใดที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชดำริห์ไว้ในที่ปรีวีเคาน์ซิล ซึ่งยังไม่เป็นการเปิดเผย ข้าพระพุทธเจ้าจะรักษาความข้อนั้นไว้ให้เป็นการลับมิให้แพร่งรายได้ ข้อ ๔ ข้าพระพุทธเจ้าจะไม่ทำการผิด กลับเอาเท็จเป็นจริง เพราะเห็นแก่อามิสสินบล แลผลประโยชน์ในตน แลเพราะเชื่อคำคนยุ ชัำำำกนำให้เสียจากสิ่งที่ตรง ข้อ ๕ การสั่งใดที่ได้ปฤกษาตกลงกันแล้ว ข้าพระพุทธเจ้าจะเอาใจใส่ ช่วยค้ำชูอุดหนุนในการซึ่งปฤกษาตกลงกันนั้น ให้มั่นคงแข็งแรง หลักจริยธรรมที่ได้จากกฎหมาย หรือวินัยนั้น เป็นหลักการที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยกตัวอย่างเช่น กฎหมายลักษณะอาญาหลวง พุทธศักราช ๑๘๙๕ มีบทลงโทษข้าราชการที่กระทำผิดจริยธรรมในหน้าที่ราชการอยู่หลายประการ ดังจะยกตัวอย่างมาพอสังเขปต่อไปนี้ - กระทำเหนือพระราชบัญญัติ - ขัดพระบัณฑูรพระโองการ - มิได้กระทำตามตรัส - เพโทบายเอาแต่เงินทองสิ่งของ ๆ เขาให้เสียราชการ - ข่มเหงราษฎร - แปลงพระธรรมนูญ แปลงพระโองการ - แปลงตราสารสำนวนถ้อยคำ ฯลฯ การกระทำผิดเหล่านี้ถือว่ามีความผิด และกฎมายฉบับดังกล่าวได้กำหนดบทลงโทษตามความผิดหนักเบาต่าง ๆ ไว้ ๑๐ สถาน ดังนี้ ๑) ฟันทอริบเรือนเอาเมียเป็นข้า รับทรัพย์สิ่งของเข้าพระคลัง ๒) ตัดมือตัดเท้าจงใส่ตรุไว้ ๓) ทวนด้วยหน้าไม้ หวาย แล้วประจานจำใส่ตรุ ๔) ไหมจัตรุคุณ แล้วเอาตัวลงหญ้าช้าง ๕) ไหมตรีคูณ แล้วเอาตัวออกจากราชการ ๖) ไหมตรีคูณ แล้วพระจานสามวัน เจ็ดวันให้พ้นโทษ ๗) ไหมลาหนึ่ง แล้วให้ใช้ของ ๆ เขา ๘) ตัดปาก แหวะปาก เอามะพร้าวห้าวยัดปาก ๙) ภาคยทัณฑ์ไว้ ๑๐) ให้กดอุเบกษาไว้ กฎมณเฑียรบาล จ.ศ.๗๒๐ ซึ่งเริ่มใช้ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ดังตัวอย่าง มาตรา ๖๗ - ถ้าคบกันกินเหล้าในพระราชวัง ให้ต้มเหล้าให้ร้อนกรอกปาก แล้วให้จำไว้ - ผู้ใดเล่นว่าวข้ามพระราชวังก็ดี ซัดไม้ค้อนก้อนดิน อิฐผาข้ามพระราชวังโทษตัดมือ - ขว้างพระที่นั่งโทษถึงตาย - ใช้บันดาศักดิ์นอนในพระราชวัง และเข้ามานอนไซร์ให้ตีผู้นอน และผู้ขอนอนคนละ ๑๐ ที (๒๐) ฯลฯ ๓. หลักจริยธรรมที่ได้จากพระราชดำริ และพระราโชวาทของรัชกาลที่ ๕ รวมทั้งโอวาทของข้าราชการระดับสูง เช่น เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เป็นต้น ซึ่งพระราชดำริ พระราโชวาท และโอวาท เหล่านี้ระบุหลักจริยธรรมที่ข้าราชการพึงควรประพฤติไว้ทั้งสิ้น ดังเช่น พระราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่อง "พ่อสอนลูก" พระราชทานแก่พระราชโอรสทั้ง ๔ พระองค์ เมื่อเสด็จไปทรงศึกาาต่อต่าประเทศใน พ.ศ.๒๔๒๘ ดังมีใจความว่า อย่าถือว่าตัวเป็นลูกเจ้าแผ่นดิน พ่อมีอำนาจยิ่งใหญ่อยู่ในบ้านเมือง ถึงจะเกะกะไม่เกรงกลัวข่มเหงผู้ใด เขาก็คงจะมีความเกรงใจพ่อ ไม่ต่อสู้ หรือไม่อาจฟ้องร้องว่ากล่าว การซึ่งเชื่อเ่ชนนั้นเป็นการผิดแท้ทีเดียว ... เพราะฉะนั้น จงรู้เถิดว่า เมื่อใดทำความผิดจะได้รับโทษทันที การที่มีพ่อเป็นเจ้าแผ่นดินนั้น จะไม่เป็นการช่วยเหลืออุดหนุนแก้ไขอันใดได้เลย... จงประพฤติตัวหันมาทางที่ชอบที่ถูกเสมอเป็นนิจเถิด ละเว้นทางที่ชั่ว (๒๑) ด้วยเหตุนี้ ลักษณะความเป็นวิชาชีพนิยม (professionalism) ของอาชีพข้าราชการจึงอาจกล่าวได้ว่า เริ่มขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ และหลักจริยธรรมในวิชาชีพก็เริ่มขึ้นในระบบเกียวกันนั่นเอง แม้จะมิได้มีการรวมตัวกันของบุคคลในวิชาชีพข้าราชการ เพื่อจัดตั้งสมาคมข้าราชการขึ้นดังในต่างประเทศก็ตาม แต่ก็แสดงให้เห็นว่า เมื่อมีความเป็นวิชาชีพนิยมของอาชีพข้าราชการเกิดขึ้นแล้ว ก็ย่อมมีการพิจารณากันถึงเรื่องจริยธรรมในวิชาชีพข้าราชการ ซึ่งประเด็นเกี่ยวกับจริยธรรมในวิชาชีพข้าราชการเริ่มเป็นประเด็นที่มีความสำคัญมากขึ้นตามลำดับ ทั้งนี้เพราะผู้ประกอบวิชาชีพข้าราชการนั่นเอง ที่เล็งเห็นความสำคัญของการมีจริยธรรมในการประกอบวิชาชีีพของตน ครั้ลุล่วงถึงสมัยต่าง ๆ มา ความเป็นวิชาชีพนิยมได้ขยายขอบเขตกว้างขวางออกไปมากยิ่งขึ้น และได้ผนวกเอาอาชีพอื่น ๆ เข้าไว้ด้วย และเช่นเดียวกันวิชาชีพข้าราชการ บุคคลผู้ประกอบวิชาชีพนั้น ๆ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการประกอบวิชาชีพ อย่างมีเกียรติ มีศักดิ์ศรี และมีจริยธรรม ทั้งนี้เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของศาธารณชน แต่ละวิชาชีพได้รวมตัวกันก่อตั้งสมาคมวิชาชีพของตนขึ้น ในเวลาต่อมาทุกสมาคมต่างก็ร่วมมือกันสร้างจริยธรรมในวิชาชีพ (หรือที่มักนิยมเรีียกกันอย่างแพร่หลายว่า จรรยาบรรณวิชาชีพ) ของตนขึ้น จนถึงสมัยปัจจุบันเกือบทุกวิชาชีพต่างก็มีสมาคมวิชาชีพ กฎหมายควบคุมวิชาชีพ และจริยธรรมในวิชาชีพของตน จะขอยกตัวอย่างจริยธรรมในวิชาชีพสำคัญ ๆ มาพอสังเขปดังต่อไปนี้ วิชาชีพแพทย์พยาบาล โดยเหตุที่วิชาชีพแพทย์ วิชาชีพพยาบาล เป็นวิชาชีพซึ่งเกี่ยวข้องกับชีวิตมนุษย์ ประกอบวิชาชีพเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วยเป็นหลัก ดังนั้นจริยธรรมในวิชาชีพแพทย์ วิชาชีพพยาบาล จึงเน้นหลักไปในด้านความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์พยาบาลกับผู้ป่วย จะขอกล่าวถึงจริยธรรมในวิชาชีพแพทย์ก่อนว่า ได้มีการเน้นเรื่องจริยธรรมของแพทย์ที่พึงปฏิบัติต่อผู้ป่วยเป็นอย่างมากดังนี้ ข้อ ๑ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องรักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพเวชกรรมในระดับที่ดีที่สุด และพยายามให้ผู้ป่วยพ้นจากอาการทรมานจากโรค และความพิการต่าง ๆ โดยไม่เรียกร้องสินจ้างรางวัลพิเศษ นอกเหนือจากค่าบริการที่ควรได้รับตามปกติ ข้อ ๖ ผู้ประกอบอาชีพเวชกรรมต้องไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัย และความสิ้นเปลืองของผู้ป่วย ข้อ ๗ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไม่สั่ง ใช้ หรือสนับสนุนการใช้ยาตำรับลับ รวมทั้งใช้อุปกรณ์การแพทย์อันไม่เปิดเผยส่วนประกอบ ข้อ ๙ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไม่เผิดเผยความลับของผู้ป่วยซึ่งตนทราบมา เนื่องจากการประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ด้วยความยินยอมของผู้ป่วย หรือเมื่อต้องปฏิบัติตามกฎหมาย หรือตามหน้าที่ (๒๒) ตัวอย่างที่ยกมานี้แสดงให้เห็นว่า มีการให้ความสำคัญกับผู้ป่วยเป็นอย่างมาก และยังมีอีกหลายข้อ ซึ่งมิได้นำมากล่าวอ้างในที่นี้ซึ่งเน้นว่า แพทย์จะต้องประกอบวิชาชีพโดยคำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้ป่วยมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง และจะต้องไม่แสวงหาผลประโยชน์จากการประกอบวิชาชีพแพทย์ไม่ว่ากรณีใด ๆ ประเด็นสำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ จริยธรรมวิชาชีพแพทย์ ซึ่งร่างขึ้นตั้งแต่การนี้เน้นว่า แพทย์จะต้องไม่เรียกร้องทรัพย์สินเงินทองจากผู้ป่วย นอกเหนือจากค่า่บริการอันพึงได้รับตามปกติ แสดงให้เห็นว่า แพทย์ในอดีตคงจะไม่รับค่าตอบแทนมากมายนัก ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า ประเด็นที่ว่าวิชาชีพแพทย์ปลอดจากการเข้ามาแทรกแซงทางด้านธุรกิจนี้เอง ส่งเสริมให้วิชาชีพแพทย์ในสมัยโบราณเป็นวิชาชีพซึ่งได้รับการยกย่องว่ามีเกียรติสูงส่งจากสังคม สำหรับวิชาชีพพยาบาลนั้น ก็เช่นเดียวกับวิชาชีพแพทย์ คือ เป็นวิชาชีพที่ต้องรับผิดชอบชีวิตมนุษย์ จึงต้องมีจริยธรรมทางการพยาบาลที่กำหนดไว้แน่นอนตายตัว เพื่อให้สมาชิกของวิชาชีพยึดถือเป็นหลักปฏิบัติของตนเอง และต่อสังคม ข้อบังคับของสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพพยาบาล และการผดุงครรภ์ รวมทั้งการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ พ.ศ.๒๕๓๐ ได้กำหนดหลักจริยธรรมของพยาบาลในการปฏิบัติต่อผู้ป่วยไว้ถึง ๑๗ ข้อ จะขอยกตัวอย่างดังต่อไปนี้ ข้อ ๔ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ต้องรักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพการพยาบล หรือการผดุงครรภ์ในระดับที่ดีที่สุด ด้วยการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพแก่ผู้ป่วย หรือผู้รับบริการ โดยไม่เรียกร้องสินจ้างรางวัลพิเศษ นอกเหนือจากค่าบริการที่ควรได้รับตามปกติ ข้อ ๖ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ต้องไม่ให้ หรือรับผลประโยชน์เป็นค่าตอบแทนเนื่องจากการรับส่งผู้ป่วย หรือผู้รับบริการ เพื่อรับบริการทางการแพทย์ หรือการผดุงครรภ์ ข้อ ๑๓ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ต้องไม่ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในระยะอันตรายจากการเจ็บป่วยเมื่อได้รับคำขอร้อง และตนอยู่ในฐนะที่จะช่วยได้ ข้อ ๑๖ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งจะทำการผดุงครรภ์ได้แต่เฉพาะรายที่มีครรภ์ปกติและคลอดอย่างปกติ ตลอดจนการพยาบาลมารดา และทารก ในรายที่มีครรภ์ผิดปกติหรือคลอดผิดปกติ ถ้าไม่สามารถหาผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมมาทำการคลอดได้ภายในเวลาอันสมควร และเห็นประจักษ์ว่าถ้าละเลยไว้จะเป็นอันตรายแก่มารดาหรือทารก ก็ให้ทำคลอดในรายเช่นนั้นได้ แต่ห้ามมิให้ใช้คีมสูง หรือทำการผ่าตัดในการทำคลอด หรือฉีดยารัดมดลูกก่อนคลอด (๒๓) จะเห็นได้ว่า หลักจริยธรรมในวิชาชีพพยาบาลที่ได้กำหนดไว้นี้ มีจุดมุ่งหมายให้พยาบาลตระหนักในบทบาทของตนเอง เพื่อสามารถปฏิบัติหน้าที่ให้บริการแก่ผู้ป่วย ด้วยความตระหนักในคุณค่า ศักดิ์ศรี ตลอดจนสิทธิมนุษยชนของผู้ป่วย ในฐานะเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ในขณะเดียวกันก็จะต้องรักษามาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ และธำรงไว้ซึ่งสิทธิอันชอบธรรมในการประกอบวิชาชีพของตนด้วย วิชาชีพนักกฎหมาย ได้มีปรากฏในประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ซึ่งระบุหลักจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพนักกฎหมายทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นผู้พิพากษา หรือทนายความไว้อย่าละเอียด ดังต่อไปนี้ จริยธรรมผู้พิพากษา ข้อ ๒ ผู้พิพากษาพึงตรวจสำนวนความ และตระเตรียมการดำเนินกระบวนพิจาณาไว้ให้พร้อม ออกนั่งพิจาณาตรงตามเวลา และไม่เลื่อนการพิจารณาโดยไม่จำเป็น ข้อ ๘ การเปรียบเทียบหรือไกล่เกลี่ยคดี จักต้องกระทำในศาล ผู้พิพากษาพึงชี้แจงให้คู่ความทุกฝ่ายตระหนักถึงผลดีผลเสียในการดำเนินคดีต่อไป ทั้งนี้จักต้องไม่ให้คำมั่นหรือบีบบังคับให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือทุกฝ่ายยอมรับข้อเสนอใด ๆ หรือให้จำเลยรับสารภาพโดยไม่สมัครใจ และจักต้องไม่ทำให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งระแวงว่าผู้พิพากษาฝักใฝ่ช่วยเหลือคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง ข้อ ๑๒ เมื่อจะพิพากษา หรือมีคำาัสั่งคดีเรื่องใด ผู้พิพากษาจำต้องละวงาอคติทั้งปวงเกี่ยวกับคู่ความ หรือคดีความเรื่องนั้น ทั้งจะต้องวินิจฉัยโดยไม่ชักช้า และไม่เห็นแก่หน้าผู้ใด (๒๔) จริยธรรมทนายความ ข้อ ๔ ทนายความผู้ใดฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับข้อใดข้อหนึ่งดังกล่าวต่อไปนี้ ให้ถือว่าทนายความผู้นั้นประพฤติผิดมรรยาททนายความ หมวด ๒ มรรยาทต่อศาลและในศาล ข้อ ๕ ไม่รับหน้าที่เมื่อผู้พิพากษาได้ขอแรงให้เป็นทนายความแก่ต่างในคดีอาณา เว้นแต่จะมีข้อแก้ตัวโดยสมควร ข้อ ๖ ไม่เคารพยำเกรงอำนาจศาล หรือกระทการใดอันเป้นการดูหมิ่นศาล หรือผู้พิพากษาในศาล หรือนอกศาล อันเป็นการทำให้เสื่อมเสียอำนาจศาล หรือผู้พิพากษา ข้อ ๗ กล่าวความ หรือทำเอกสาร หรือหลักฐานเท็จ หรือใช้กลอุบายลวงให้ศาลหลง หรือกระทำการใดเพื่อทราบคำสั่ง หรือคำพิพากษา ของศาลที่ยังไม่เปิดเผย ข้อ ๘ สมรู้เป็นใจโดยทางตรงหรือทางอ้อม เมื่อทำพยานหลักฐา่นเท็จ หรือเสี้ยมสอนพยานให้เบิกความเท็จ หรือโดยปกปิดซ่อนงำอำพรางพยานหลักฐานใด ๆ ซึ่งควรนำมายื่นต่อศาล หรือสัญญจะให้สินบนแก่เจ้าพนักงาน หรือสมรู้เป็นใจในการให้สินบนแก่เจ้าพนักงาน (๒๕) เช่นเดียวกับแพทย์พยาบาล ซึ่งดูแลทุกข์สุขของประชาชนในด้านสุขภาพอนามัยทางร่างกาย นักกฎหมายดูแลทุกข์สุขของประชาชนในด้านความคิดและการกระทำ วิชาชีพนักกฎหมายจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งยวดต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วิชาชีพนักกฎหมายมีละกษณะพิเศษประการหนึ่งคือ เป็นงานที่ดำเนินการให้เกิดความยุติธรรมแก่ประชาชน ซึ่งจัดว่าเป็นงานที่ยากลำบาก และเป็นภารกิจที่ต้องดำเนินการตลอดไป ไม่่ว่ายุคสมัยใด ภารกิจดังกล่าวเป็นภารกิจหลัก ซึ่งต้องการผู้ประกอบวิชาชีพที่ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ยิ่งไปกว่านั้นประโยชน์ส่วนรวมของประชาชน และจักต้องทำงานด้วยความอิสระ ไม่อยู่ใต้อำนาจการบงการของผู้ใด จิตติ ติงศภัทิย์ แสดงความคิดเห็นไว้ว่า คุณสมบัติของนักกฎหมายที่จะทำงานด้วยความเป็นอิสระได้ก็คือ "ความกล้าในการแสดงความคิดเห็น นักกฎหมายไม่ใช่บุคคลประเภทขอรับกระผม ที่เรียกว่า yes man หรือที่ล้อกันว่า ใต้เท้ากรุณาบัญชาไม่ผิด" (๒๖) กล่าวโดยสรุป ผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายจะต้องไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม ใช้กฎหมายให้เป็นธรรม รอบรู้วิชาการ และมีอิสระในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เพื่อธำรงไว้ซึ่งความยุติธรรมในสังคม ซึ่งเป็นประเด็นที่ยากลำบากอย่างยิ่ง เพราะบางครั้งอาจต้องเผชิญกับบุคคล หรือกลุ่มบุคคลซึ่งถือว่าอำนาจคือความถูกต้อว วิชาชีพครูอาจารย์ เป็นวิชาชีพหนึ่งซึ่งเน้นความสำคัญของจริยธรรมในวิชาชีพไว้เป็นอย่างมาก ในกรณีนี้ได้มีการแบ่งไว้อย่างชัดเจน ระหว่างจริยธรรมในวิชาชีพครูในโรงเรียน และจริยธรรมในวิชาชีพอาจารย์ในมหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม หลักจริยธรรมที่ได้กำหนดไว้นั้น มีลักษณะคล้ายคลึงกันเป็นส่วนใหญ่ ดังนี้ จริยธรรมครู คุณลักษณะ พฤติกรรมหลัก พฤติกรรมบ่งชี้ ๑. มีความเมตตากรุณา ๑.๑ มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานและสังคม ๑.๑.๑ ไม่นิ่งดูดาย และเต็มใจช่วยเหลือผู้อื่นตามกำลังความสามารถ ๒. มีความยุติธรรม ๑.๒ มีความสนใจและห่วงใยในการเรียน และความประพฤติของผู้เรียน ๑.๒.๑ แนะนำเอาใจใส่ ช่วยเหลือเด็ก และเพื่อนร่วมงานให้ได้รับความสุขและพ้นทุกข์ ๑.๒.๒ เป็นกันเองกับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้สึกเปิดเผย ไว้วางใจ และเป็นที่พึ่งของผู้เรียนได้ ๒.๑ มีความเป็นธรรมต่อนักเรียน ๒.๑.๑ เอาใจใส่ และปฏิบัติต่อผู้เรียน และเพื่อนร่วมงานทุกคนอย่างเสมอภาค และไม่ลำเอียง ๒.๒.๑ ยินดีช่วยเหลือผู้เรียน ผู้ร่วมงาน และผู้บริหาร โดยไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ๒.๒ มีความเป็นกลาง ๘. มีความรัก และศรัทธาในวิชาชีพครู ๘.๑ เห็นความสำคัญของวิชาชีพครู ๘.๑.๑ สนับสนุนการดำเนินงาน ขององค์กรวิชาชีพครู ๘.๑.๒ เข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาชีพครู ๘.๑.๓ ร่วมมือ และส่งเสริมให้มีการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพครู ๘.๒ รักษาชื่อเสียงวิชาชีพครู ๘.๒.๑ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดผลดี และเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม ๘.๒.๒ รักษาความสามัคคี และช่วยเหลือซึ่งกันและกันในหน้าที่การงาน ๘.๒.๓ ปกป้อง และสร้างความเข้าใจอันดีต่อสังคม เกี่ยวกับวิชาชีพครู ๘.๓ เกิดความสำนึก และตระหนักที่จะเป็นครูที่ดี ๘.๓.๑ ปฏิบัติตนให้เหมาะสม ที่เป็นปูชนียบุคคล (๒๗) นอกจากนี้ยังมีจริยธรรม หรือจรรยาบรรณของอาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์มหาวิทยาลัยดังนี้ จริยธรรมของอาจารย์ที่ปรึกษา ๑. รักษาความลับของศิษย์อย่างเคร่งครัด ๒. พิทักษ์และปกป้องผลประโยชน์ของศิษย์ ๓. อุทิศเวลาเพื่องานอาจารย์ที่ปรึกษา ๔. ให้การช่วยเหลืออย่างเต็มความสามารถ นอกจากนี้ยังมีหลักการที่อาจารย์ที่ปรึกษา คือ ๑. อาจารย์ที่ปรึกษาจะต้องช่วยให้งานอุดมศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ คือการสร้างบัณฑิตที่เป็นคนที่สมบูรณ์ ๒. อาจารย์ที่ปรึกษาจะช่วยพัฒนาความพร้อมทางสติปัญญษ ให้ใฝ่รู้ และวิธีการแสวงหาความรู้ ๓. ช่วยให้นิสิตประสบความสำเร็จ และมีชีวิตสมบูรณ์อยู่ในมหาวิทยาลัย ๔. ช่วยให้นิสิตเข้าใจตนเอง รู้จักตนเอง รู้จักรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ๕. พัฒนาทัศนคติ จริยธรรม และศิลปวัฒนธรรมให้แก่นิสิต จริยธรรมอาจารย์ ๑. อาจารย์พงวางตนให้เป็นผู้ควรแก่การยกย่อง เป็นผู้เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม และเป็นแบบอย่างที่ดีของศิษย์ ๒. อาจารย์ควรเป็นผู้มีเหตุผล พึ่งเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น และไม่พึงบังคับไม่ว่าด้วยวิธีการใด ๆ ให้ผู้อื่นมีความคิดเห็นคล้อยตามตน ๓. อาจารย์ไม่พึงปฏิบัติต่อผูั้ใดอย่างมีอคติ โดยอาศัยเหตุผลทางเชื้อชาติ ศาสนา หรือลัทธิความเชื่อ ๔. อาจารย์ไม่พึงเรียก รับ หรือยอมจะรับประโยชน์ใด ๆ ซึ่งชักนำ หรือาจจชักนำไปให้การปฏิบัติงานในหน้าที่ของตนไม่สุจริตเที่ยงธรรม หรือให้ หรือรับว่าจะให้ ซึ่งประโยชน์ที่ตนสามารถจะให้ได้ในอำนาจหน้าที่ของตน เพื่อแลกเปลี่ยนกับประโยชน์อันไม่ควรให้ ๕. อาจารย์พึ่งมีความรอบรู้ทางวิชาการ พึ่งเตรียมการสอน และเข้าสอนโดยสม่ำเสมอตามกำหนด ในการสอนนั้นจะต้องไม่จงใจปิดบังอำพราง หรือปิดเบือนเนื้อหาสาระทางวิชาการ นอกจากนั้น อาจารย์พึ่งตั้งใจค้นคว้าหาความรู้ในสาขาวิชาของตนมาให้แก่ศิษย์ และพึงสนับสนุนให้ศิษย์มีความก้าวหน้าทางวิชาการอยู่เสมอ (๒๘) จากตัวอย่างของหลักจริยธรรมครู อาจารย์ที่ยกมาบางส่วนนี้ พอจะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า หลักจริยธรรมของทั้งครูในโรงเรียน และอาจารย์ในวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมีลักษณะคล้ายคลึงกัน กล่าวคือ นอกจากจะต้องสอนศิษย์ให้เป็นคนที่เก่ง และดีแล้ว ตัวครูอาจารย์เองก็จะต้่องเก่งและดีด้วย ซึ่งนับว่าเป็นภาระกิจหลักที่สำคัญและยากลำบากมาก โดยเฉพาะอย่างยิ้งประเด็นความเป็นคนดีนั้น เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า เป็นเรื่องที่ยากยิ่งที่จะสอนคนให้เป็นคนดี โดยที่ครูอาจารย์ ซึ่งเปรียบประดุจ "เม่พิมพ์" ของชาติสมควรจะต้องเป็นคนดีด้วย วิชาชีพนักธุรกิจ เป็นวิชาชีพที่น่าจะมีความขัดแย้งกับประเด็นเรื่องการมีจริยธรรมในวิชาชีพมากที่สุด เนื่องจากนักธุรกิจย่อมแสวงหาผลกำไรเป็นเครื่องตอบแทนการลงมุนทำธุรกิจให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ อย่างไรก็ตาม มีนักธุรกิจหลายคนทั้งในสังคมไทยและต่างประเทศ ที่ประสบความสำเร็จในวิชาชีพของตนเและในขณะเดียวกัน ก็สามารถช่วยเหลือพัฒนาทางสังคมไปด้วยได้ มูลนิธิสถาบันการศึกษาวิชาการจัดการแห่งประเทศไทย ได้กำหนดหลักจริยธรรมในวิชาชีกซึ่งนักธุรกิจพึงปฏิบัติต่อลูกค้าไว้ดังนี้ ๑. พึงขายสินค้า และบริการในราคายุติธรรม มีกำไรตามสัดส่วนที่เหมาะสมกับคุณภาพสินค้าและบริการ ๒. พึงขายสินค้า และบริการให้ถูกต้องตามจำนวนคุณภาพ ราคาที่ตกลงกัน และมีความรับผิดชอบตามภาระผูกพันของตน ๓. พึงดูแลและให้บริการแก่ลูกค้าทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ให้โอกาสเท่าเทียมกันที่จะซื้อสินค้า และรับบริการ ไม่ว่าในสภาวะใด เช่น ในภาวะสินค้าขาดตลาด เป็นต้น ๔. พึงละเว้นการกระทำใด ๆ ที่จะควบคุมการตัดสินใจของลูกค้าในการซื้อ หรือรับบริการโดยการใช้ความใหญ่ขององค์กรของตนเป็นเครื่องต่อรอง หรือการซื้อขายโดยวิธีต่างตอบแทนกัน หรือสร้างเงื่อนไขกำหนดให้ลูกค้าต้องทำตาม ๕. พึงละเว้นการกระทำใด ๆ เพื่อทำให้สินค้ามีราคาสูงขึ้น โดยไม่มีเหตุผล เช่น การกักตุนสินค้า ปล่อยข่าวอันเป็นเท็จ เพื่อให้ลูกค้าหลงเชื่อ ต้องซื้อหรือไม่ซื้อสินค้าในสภาพ ๖. พึงปฏิบัติต่อลูกค้า และให้บริการอย่างมีน้ำใจไมตรีอัธยาศัยที่ดีต่อกัน (๒๙) ดังนั้น วิชาชีพธุรกิจจึงเป็นวิชาชีพที่มีหลักจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพเช่นเดียวกับวิชาชีพอื่น ๆ ประเด็นที่ต่างกันก็คือว่า เป้าหมายของธุนกิจคือกำไร ด้วยเหตุนี้สิ่งที่นักธุรกิจจะต้องคำนึงถึงให้มากก็คือ กำไรที่ได้นั้นส่งผลกระทบต่อสังคมในทางบวก หรือทางลบ ในประเด็นนี้ สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์ เสนอทางออกให้ โดยการให้นักธุรกิจตั้งปัญหาถามตัวเอง ๔ ข้อ ดังต่อไปนี้ ๑. ธุรกิจที่ทำนั้นขัดแย้งกับสามัญสำนึกของคุณไหม ถ้าขัดแย้งกับสามัญสำนึก คนอื่นเขาคิดอย่างไรกับคุณ ๒. ธุรกิจที่ทำจะมีผลต่ออนาคตของคุณหรือไม่ ถ้ามี ผลนั้นเป็นบวกหรือลบ ๓. ธุรกิจที่ทำนั้นกระทบกับวิชาชีพไหม ถ้ามีผลกระทบในเชิงขัดแย้ง เขาจะเป็นผู้ที่เป็นมนุษย์เต็มตัวขึ้นมาแล้วคือ เป็นผู้ที่คำนึงจรรยาบรรณวิชาชีพ ๔. ธุรกิจนั้นกระทบต่อสัคงคมไทยไหม ถ้ากระทบแล้วคุณยังทำ แสดงว่าคุณขาดขรรยาบรรณข้อที่สำคัญที่สุดคือข้อที่สี่ก็คือ ความเป็นมนุษย์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสังคม (๓๐) เนื่องจากวิชาชีพธุรกิจเป็นวิชาชีพหนึ่งที่มีความสำคัญยิ่งในการพัฒนาอาชีพ นักธุรกิจจึงสมควรที่จะต้องคำนึงถึงจริยธรรมในวิชาชีพของตนให้มาก ทั้งนี้เพื่อสร้างศรัทธา และการยอมรับจากสาธารณชนทั่วไปให้บังเกิดแก่วิชาชีพของตน เพราะสาธารณชนก็คือลูกค้าของนักธุรกิจนั่นเอง หากปราศจากศรัทธา และการยอมรับจากสาธารณชนเสียแล้ว นักธุรกิจก็ไม่สามารถธำรงไว้ซึ่งธุรกิจของตนได้เช่นกัน วิชาชีพนักหนังสือพิมพ์ แม่ว่าวิชาชีพหนังสือพิมพ์เป็นวิชาชีพเก่าแก่ โดยเริ่มขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ แต่จริยธรรมในวิชาชีพหนังสือพิมพ์เพิ่งจะได้รับการกำหนดไว้รัชกาลปัจจุบันนี้เอง โดยมีใจความสำคัญอยู่ ๗ ประการ ได้แก่ ๑. เสรีภาพ เสรีภาพของหนังสือพิมพ์เป็นสิ่งที่มีค่าที่สุด ควรหวงแหนที่สุด เพราะถ้าหนังสือพิมพ์ไม่มีเสรีภาพเสียแล้ว วิชาชีพนี้ก็หมดความหมาย ๒. ความรับผิดชอบ หมายถึง การรู้จักหน้าที่ที่ควรทำ ผู้รู้หน้าที่ของตนพบได้ว่าเป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ ๓. ความเป็นไทแก่ตัว หรือความไม่เป็นทาส คือ การไม่ยอมตกเป็นทาสของอามิสสินจ้าง เพื่อที่จะทำลายผู้ที่ไม่มีความผิด ๔. ความจริงใจ หมายถึง ความจริงวาจา และจริงใจ ไม่เขียนข่าวเท็จ โดยไม่สอบข่อเท็จจริงให้เป็นที่แน่ใจเสียก่อน ๕. ความเที่ยงธรรม คือ ไม่มีอคติ ไม่มีลำเอียง เข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในการเสนอข่าว ๖. ความมีน้ำใจเป็นนักกีฬา หมายถึง การไม่กล่าวตำหนิใคร โดยไม่ให้โอกาสชี้แจง ไม่กล่าวล่วงล้ำสิทธิ หรือความรู้สึกส่วนตัวของบุคคล เว้นแต้่จะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับประโยชน์ของประชาชน ๗. ความมีมารยาท หมายถึง มีสมบัติผู้ดี ไม่ใช้ถ้อยคำหยาบโลน หรือลามกอนาจารในการเสนอข่าว (๓๑) ประวัติศาสตร์อันยาวนานของวิชาชีพนักหนังสือพิมพ์ จึงเป็นประวัติศาสตร์ของการต่อสู่มาโดยตลอด นักหนังสือพิมพ์รุ่นเก่าต่อสู้เพื่อธำรงไว้ซึ่งจริยธรรมในวิชาชีพ แม้ในระยะนั้นจะยังมิได้มีการกำหนดจริยธรรมในวิชาชีพหนังสือพิมพ์ลงไว้เป็นลายลักษณ์อักษรก็ตาม แต่ดูเหมือนจะมีการยอมรับเป็นหลักปฏิบัติกันอย่างกว้างขวางโดยนักหนังสือพิมพ์รุ่นเก่าที่มีจริยธรรม หรือที่เรียกกันว่า "นักหนังสือพิมพ์น้ำดี" ว่า จริยธรรม ๒ ข้อแรกคือ เสรีภาพและความรับผิดชอบนั้นจัดว่าเป็นหัวใจของวิชาชีพนัีกหนังสือพิมพ์อย่างแท้จริง แม้จะมิได้มีการกำหนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเหมือนดังในสมัยต่อ ๆ มาก็ตาม เท่าที่กล่าวมาแล้วนี้ จะเห็นได้่า วิชาชีพข้าราชการ แพทย์ พยาบาล นักกฎหมาย นักธุนกิจ นักหนังสือพิมพ์ เหล่านี้ล้วนเป็นวิชาชีพสำคัญ และมีความเกี่ยวข้องกับการพัฒนาสังคมทั้งสิ้น จนอาจกล่าวได้ ถ้าบุคคลผู้ประกอบวิชาชีพเหล่านี้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพและมีจริยธรรมควบคู่กันไป คือ ทั้ง "เก่งและดี" สังคมจะเจริญรุดหน้าไปอย่างแน่นอน อย่างไรก็ตามในทางตรงกันข้าม หากผู้ประกอบวิชาชีพเหล่านี้ไร้จริยธรรมในการประกอบวิชาชีพของตนเสียแล้ว อะไรจะเกิดขึ้นกับสังคมของเรา อนึ่ง มีข้่อสังเกตอยู่ ๒ ประการก็คือ ประการแรก เกือบทุกวิชาชีพที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น ได้มีการกำหนดกรอบของจริยธรรมไว้อย่างชัดเจน ซึ่งทำให้เป็นการง่ายต่อการตรวจสอบ แต่บางวิชาชีพ เช่น วิชาชีพนักการเมือง มิได้มีการกำหนดจริยธรรมในวิชาชีพไว่้อย่างชัดเจนเหมือนดังอาชีพอื่น ๆ ซึ่งทำให้ยากลำบากต่อการตรวจสอบ พฤติกรรมของนักการเมืองบางคนที่มีพฤติกรรมทางจริยธรรมซึ่งไม่เป็นที่ยอมรับของสังคม ย่อมส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของประชาชนในสังคมอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ประการที่สอง ในปัจจุบันนี้ สังคมไทยเปลี่ยนแปลงจากในอดีตเป็นอันมาก และเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจนกระทั่งความเจริญทางจิตใจตามไม่ทัน ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมดังกล่าวนี้ สืบเนื่องจากความเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ ซึ่งเปลี่ยนแปลงจากระบบเศรษฐกิจแบบเกษตรกรรมเพื่อการยังชีพ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออกเช่นเดียวกับประเทศตะวันตกในยุโรปและสหรัฐอเมริกา ส่งผลกระทบให้สังคมไทยกลายเป็นสังคมที่มีการพัฒนาไปในแนวทางตะวันตก เรารับวัฒนธรรมวัตถุนิยม และบริโภคนิยม ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระบบทุนนิยมตะวันตกเข้าไว้อย่างเต็มที่ กระแสวัฒนธรรมวัตถุนิยมและบริโภคนิยมที่สังคมไทยรับมาในช่วง ๓๐ ปีมานี้ ส่งผลกระทบให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่านิยมในการดำเนินชีวิต การศึกษา การแต่งกาย รูปแบบบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ตลอดจนการประกอบวิชาชีพต่าง ๆ ด้วย เมื่อได้พิจารณาถึงสาเหตุแห่งความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ในสังคมไทย ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว คณะวิจัยซึ่งประกอบด้วยนักวิชาการ และบุคคลวิชาชีพต่าง ๆ จึงเห็นว่า เป็นความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาเรื่องจริยธรรมในวิชาชีพ ทั้งนี้โดยมีความมุ่งหมายว่า การศึกษาวิจัยและวิเคราะห์หลักจริยธรรมในวิชาชีพ ตลอดจนปัญหาเกี่ยวกับจริยธรรมในวิชาชีพที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ขณะนี้คงจะทำให้สามารถเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับจริยธรรมในวิชาชีพต่าง ๆ ได้อย่างเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น งานวิจัยนี้จึงมีขั้นตอนการดำเนินงานดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ ๑ ประมวลองค์ความรู้เกี่ยวกับจริยธรรมในวิชาชีพต่าง ๆ รวมทั้งสิ้น ๑๑ วิชาชีพ และศึกษาพัฒนาการของหลักจริยธรรมในวิชาชีพต่าง ๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในด้านค่านิยมเชิงจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อจริยธรรมในวิชาชีพของตน ขั้นตอนที่ ๒ มีการดำเนินงานซึ่งแบ่งขั้นย่อยดังนี้ ๒.๑ ศึกษาปัญหาทางจริยธรรมในวิชาชีพที่เกิดขึ้นว่ามีลักษณะอย่างไรบ้าง และประเด็นใดที่มีการประพฤติผิดจริยธรรมบ่อยครั้ง ๒.๒ ศึกษามูลเหตุจูงใจที่ทำให้มีการประพฤติผิดจริยธรรมในแต่ละวิชาชีพว่าีมีอะไรบ้าง และมีมาตรการใดที่จะแก้ไข หรือป้องกันมิให้มูลเหตุเหล่านั้นเกิดขึ้น เพื่อลดปัญหาทางจริยธรรมที่จะตามมา ๒.๓ ศึกษาว่าแต่ละวิชาชีพมีกลไกการตรวจสอบการประพฤติผิดจริยธรรมหรือไม่อย่างไร ถ้ามี กลไกนั้นมีลักษณะอย่างไรบ้าง และกลไกเหล่านั้นมีประสิทธิภาพในการตรวจสอบการประพฤติผิดจริยธรรมได้จริงหรือไม่ ถ้าไม่จริง ผู้อยู่ในวิชาชีพนั้น ๆ จะเสนอกลไกอื่น ๆ เพิ่มเติมสำหรับการตรวจสอบอีกหรือไม่อย่างไร เพื่อให้การตรวจสอบจริยธรรมในวิชาชีพนั้น ๆ มีประสิืทธิภาพอย่างแท้จริง ซึ่งจะเป็นการสัมภาษณ์บุคคลผู้อยู่ในวิชาชีพต่าง ๆ วิชาชีพละ ๑๐๐ คน บทความทั้ง ๑๓ เรื่องนี้ จึเป็นความพยามที่จะประมวลองค์ความรู้เกี่ยกัวบจริยธรรมในวิชาชีพต่าง ๆ รวมทั้งสิ้น ๑๑ วิชาชีพ ส่วนอีก ๒ บทความ ในชุดจริยธรรมในวิชาชีพเป็นการเสนอภาพรวมของงานวิจัย ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ๑. จริยธรรมในวิชาชีพ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วริยา ชินวรรโณ ๒. จริยธรรมพลเมืองไทยในระบอบประชาธิปไตย โดย ศาสตราจารย์ ดร.อมร รักษาสัตย์ ๓. จริยธรรมในวิชาชีพแพทย์ โดย นายแพทย์วิรัช ทุ่งวชิรกุล ๔. จริยธรรมในวิชาชีพพยาบาล โดย รองศาสตราจารย์ ฟาริดา อิบราฮิม ๕. จริยธรรมนักวิจัย โดย ศาสตราจารย์ ดร.อมร รักษาสัตย์ ๖. จริยธรรมนักการเมือง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.มนตรี เจนวิทย์การ ๗. จริยธรรมในวิชาชีพนักหนังสือพิมพ์ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วริยา ชินวรรโณ ๘. จริยธรรมในวิชาชีพข้าราชการ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิภาดา อังสุมาลิน ๙. จริยธรรมในวิชาชีพทหาร โดย อาจารย์สมศักดิ์ ส่งสัมพันธ์ ๑๐. จริยธรรมในวิชาชีพตำรจ โดย พลตำรวจโทสุวรรณ สุวรรณเวโช ๑๑. จริยธรรมในวิชาชีพครูอาจารย์ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สุภัทร ปัญญาทีป ๑๒. จริยธรรมในวิชาชีพนักกฎหมาย โดย นายวิชา มหาคุณ ๑๓. จริยธรรมในวิชาชีพนักธุรกิจ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุภกร์ลักขิ์มณฑลี ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม บาความทั้งหมดนี้จึงเป็นผลของการดำเนินงานในขั้นตอนที่ ๑ ซึ่งเป็นการประมวลองค์ความรู้เกี่ยวกับจริยธรรมในวิชาชีพรวม ๑๑ วิชาชีพ จัดทำเป็นชุดบทความ เพื่อให้ผู้อ่านได้ทราบถึงพัฒนาการของหลักจริยธรรมในวิชาชีพต่าง ๆ โดยรวบรวมมาอย่างครบถ้วน ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งยังมิได้มีผู้ใดกระทำมาก่อนเลย ทั้งนี้โดยมีการจัดสัมมนาเรื่อง "จริยธรรมในวิชาชีพ" ระหว่างวันที่ ๑๕-๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๐ ประกอบด้วย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้่จากการศึกษาวิจัยในขั้ตอนที่ ๑ รวมทั้งรับฟังข้อคิดเห็น คำวิจารณ์ ตลอดจนข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมการสัมมนา หลังจากการสัมมนาเสร็จสิ้นลงแล้ว คณะวิจัยจะประมวลความคิดและข้อเสนอแนะจากการสัมมนาทั้งหมด เพื่อนำไปเ็ป็นข้อมูลประกอบในการวิจัยภาคสนามในขั้ตนอที่ ๒ ต่อไป อนึ่ง การดำเนินงานวิจับเรื่อง "จริยธรรมในวิชาชีพ" นี้ ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่านผู้อำนวยการกองทุนสนับสนุนการวิจัย ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณื พานิช และ ดร.โชคชัย สุทธาเวศ แห่งฝ่ายความสัมพันธ์ข้ามชาติและทางเลือกในการพัฒนา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ได้ให้ความสนับสนุนการดำเนินงานวิจัยเป็นอย่างดียิ่งมาโดยตลอด คณะวิจัยจึงขอขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย คณะวิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทความชุด "จริยธรรมในวิชาชีพ" คงจะเป็นประโยชน์ไใ่เฉพาะแก่วงวิชาการด้านปรัชญาจริยศาสตร์เท่านั้น แต่น่าจะเป็นประโยชน์แก่สังคมไทยโดยทั่วไปอีกด้วย เพราะการพัฒนาจริยธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งจริยธรรมในวิชาชีพมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งยวดในการพัฒนาประเทศ และประเทศชาติจะพัฒนาไม่ได้เลย หากจริยธรรมของคนในชาติเสื่อทรามลง. * * * the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: Solidus ที่ 17-09-2008, 04:19 - สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเป็นสถานศึกษาที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะคือ พ.ร.บ.สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2546 ศาลปกครองสูงสุดได้มีคำวินิจฉัยตามคำสั่งที่ 880/2549 ว่า สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ดำเนินกิจกรรมบริการสาธารณะด้านการศึกษา ดังนั้น จึงมิใช่องค์กรธุรกิจเอกชน ฉะนั้นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนมิได้เป็นนิติบุคคลอย่างห้างหุ้นส่วนบริษัทหรือบริษัทตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือองค์กรธุรกิจตามกฎหมายอื่นซึ่งที่มุ้งเน้นกำไรจากการประกอบกิจการแต่อย่างใด แย้งนิดหน่อยครับ รู้สึกจะเข้าใจผิดกันเยอะ ที่ถูกต้องคือ คำสั่งที่ ๒๓๐/๒๕๕๐ และก็เป็นเรื่องคำสั่งทางปกครองหรือไม่ แค่นั้นครับ แต่พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๘ ได้บอกวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัยเอกชนชัดเจนแล้วครับหัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 04:32 ผมถามนิดเดียว.. เล่นก็อปมาทั้งดุ้นเลยเรอะครับ... ตามมาตรา ๒๐๗ ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (๓) ไม่ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด - สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเป็นสถานศึกษาที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะคือ พ.ร.บ.สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2546 ศาลปกครองสูงสุดได้มีคำวินิจฉัยตามคำสั่งที่ 880/2549 ว่า สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ดำเนินกิจกรรมบริการสาธารณะด้านการศึกษา ดังนั้น จึงมิใช่องค์กรธุรกิจเอกชน ฉะนั้นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนมิได้เป็นนิติบุคคลอย่างห้างหุ้นส่วนบริษัทหรือบริษัทตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือองค์กรธุรกิจตามกฎหมายอื่นซึ่งที่มุ้งเน้นกำไรจากการประกอบกิจการแต่อย่างใด และเนื่องจากสถาบันอุดมศึกษามิได้เป็นองค์กรธุรกิจที่มุ่งเน้นกำไร อาจารย์พิเศษ จึงไม่น่าเข้าข่ายการเป็นลูกจ้างตามกฎหมาย (๔) ไม่ประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด (อันนี้ยิ่งแล้วใหญ่ครับ) - การประกอบอาชีพอิสระ คือ การประกอบกิจการส่วนตัวต่าง ๆ ในการผลิตสินค้าหรือบริการที่ถูกต้องตามกฎหมาย เป็นธุรกิจของตนเองไม่ว่าธุรกิจนั้นจะเล็กหรือใหญ่ก็ตาม ซึ่งผู้ประกอบการสามารถที่จะกำหนดรูปแบบและวิธีดำเนินงานของตัวเองได้ตามความเหมาะสม ไม่มีเงินเดือนหรือมีรายได้ที่แน่นอนตายตัว ผลตอบแทนคือเงินกำไรจากการลงทุน ----------- ส่วนเรื่องประมวลจริยธรรม... ผมรู้แค่ไม่มีผลทางกฏหมายครับ เรียน คุณ TheBluECaT มหาวิทยาลัยเอกชนเป็นธุรกิจหรือไม่ ???? เพื่อให้พ้นข้อกล่าวหาว่า กระทำผิดตาม พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 มาตรา 100 (4) ซึ่งห้ามเจ้าหน้าที่รัฐเข้าไปมีส่วนได้เสียในฐานะเป็นกรรมการ ที่ปรึกษา ตัวแทน พนักงานในธุรกิจของเอกชนที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแล ควบคุมของหน่วยงานรัฐที่เจ้าหน้าที่รัฐผู้นั้นสังกัดอยู่ ทำให้นายวิจิตร ศรีสอ้าน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและนายกสภามหาวิทยาลัยหลายแห่งพยายามหาข้ออ้างว่า มหาวิทยาลัยเอกชนไม่ใช่ธุรกิจ ทำให้นายวิจิตร ศรีสอ้าน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและนายกสภามหาวิทยาลัยหลายแห่งพยายามหาข้ออ้างว่า มหาวิทยาลัยเอกชนไม่ใช่ธุรกิจ ทำให้นายวิจิตร ศรีสอ้าน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและนายกสภามหาวิทยาลัยหลายแห่งพยายามหาข้ออ้างว่า มหาวิทยาลัยเอกชนไม่ใช่ธุรกิจ นายวิจิตรระบุว่า สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเป็นสถานศึกษาที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะคือ พ.ร.บ.สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2546 ซึ่งศาลปกครองสูงสุดได้มีคำวินิจฉัยตามคำสั่งที่ 880/2549 ว่า สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ดำเนินกิจกรรมบริการสาธารณะด้านการศึกษา ดังนั้น จึงมิใช่องค์กรธุรกิจเอกชน อธิการบดีเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.2542 ที่สำคัญรายได้และทรัพย์สินนั้น จะต้องดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสถาบัน มิอาจนำรายได้ไปแบ่งปันให้แก่กรรมการสภามหาวิทยาลัยได้ และเงินรายได้ให้นำไปจัดเป็นกองทุนต่างๆ เพื่อความมั่นคงและคุณภาพทางวิชาการ โดยนำไปจัดสรรเป็นกองทุนต่างๆ 7 กองทุน เช่น กองทุนวิจัย เป็นต้น ปีใดมีรายได้สูงกว่ารายจ่ายให้นำไปชดใช้กองทุนที่ยังติดลบก่อน ส่วนที่เหลือให้นำไปจัดสรรแก่กองทุนต่างๆ จำนวนไม่น้อยกว่า 60% จัดสรรให้แก่ผู้ได้รับใบอนุญาตไม่น้อยกว่า 30% และให้เป็นทุนดำเนินงานในกองทุนทั่วไปอีก 10% ฉะนั้นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนมิได้เป็นนิติบุคคลอย่างห้างหุ้นส่วนบริษัทหรือบริษัทตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือองค์กรธุรกิจตามกฎหมายอื่นซึ่งที่มุ้งเน้นกำไรจากการประกอบกิจการแต่อย่างใด ถ้าฟังคำชี้แจงอย่างผิวเผินแล้วดูมีเหตุผล แต่ความจริงแล้วศาลปกครองสูงสุดมิได้มีคำวินิจฉัยอย่างที่นายวิจิตรอ้าง ถ้าฟังคำชี้แจงอย่างผิวเผินแล้วดูมีเหตุผล แต่ความจริงแล้วศาลปกครองสูงสุดมิได้มีคำวินิจฉัยอย่างที่นายวิจิตรอ้าง ถ้าฟังคำชี้แจงอย่างผิวเผินแล้วดูมีเหตุผล แต่ความจริงแล้วศาลปกครองสูงสุดมิได้มีคำวินิจฉัยอย่างที่นายวิจิตรอ้าง คำสั่งของศาลปกครองสูงสุดเป็นคดีที่มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือถูกอาจารย์รายหนึ่งซึ่งถูกมหาวิทยาลัยไล่ออกฟ้อง ซึ่งศาลปกครองสูงสุดเห็นว่า มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นหน่วยงานทางปกครองแต่ก็มีเงื่อนไขชัดเจนว่า "ผู้ถูกฟ้องคดีคงเป็นหน่วยงานทางปกครองและอธิการบดีคงเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐก็เฉพาะแต่ในกรณีที่กระทำการในการดำเนินกิจการทางปกครองและใช้อำนาจทางปกครองในการดำเนินกิจการดังกล่าวตามกฎหมายเท่านั้น" คำสั่งศาลปกครองมิได้ระบุว่า มหาวิทยาลัยเอกชนไม่ใช่ธุรกิจ เช่นเดียวกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยเป็นรัฐวิสาหกิจจัดตั้งขึ้นโดยกฎหมาย ก็มิใช่หน่วยงานทางปกครองในทุกกรณี และรูปแบบการดำเนินการ (ซื้อขายไฟฟ้า) ก็เป็นธุรกิจ การที่มหาวิทยาลัยเอกชนแข่งขันการลงโฆษณาอย่างดุเดือดเพื่อชิงลูกค้า ลงทุนมหาศาลเพื่อสร้างอาคาร โดยสภาพแล้วถ้ามิใช่เพื่อแสวงหากำไรแล้วทำเพื่ออะไร การที่มหาวิทยาลัยเอกชนแข่งขันการลงโฆษณาอย่างดุเดือดเพื่อชิงลูกค้า ลงทุนมหาศาลเพื่อสร้างอาคาร โดยสภาพแล้วถ้ามิใช่เพื่อแสวงหากำไรแล้วทำเพื่ออะไร การที่มหาวิทยาลัยเอกชนแข่งขันการลงโฆษณาอย่างดุเดือดเพื่อชิงลูกค้า ลงทุนมหาศาลเพื่อสร้างอาคาร โดยสภาพแล้วถ้ามิใช่เพื่อแสวงหากำไรแล้วทำเพื่ออะไร เพื่อเอาตัวเอาแล้วไม่น่าเชื่อว่า คนเราสามารถทำได้ทุกอย่างแม้แต่บิดเบือนความจริง เพื่อเอาตัวเอาแล้วไม่น่าเชื่อว่า คนเราสามารถทำได้ทุกอย่างแม้แต่บิดเบือนความจริง เพื่อเอาตัวเอาแล้วไม่น่าเชื่อว่า คนเราสามารถทำได้ทุกอย่างแม้แต่บิดเบือนความจริง หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: Solidus ที่ 17-09-2008, 04:43 อ้างถึง พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๘ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเป็นสถานศึกษาและวิจัย มีวัตถุประสงค์ในการให้การศึกษาส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการสอน ทำการวิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗ ให้มหาวิทยาลัยเป็นสถานศึกษาและวิจัย มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการสอน ทำการวิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคมและทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๗ ให้มหาวิทยาลั ยเป็นสถานศึกษาทางวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประดิษฐานขึ้น เพื่อเป็นอนุสาวรีย์สมพระเกียรติแห่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีวัตถุประสงค์ที่จะบุกเบิก แสวงหาและเป็นคลังความรู้ ให้การศึกษา ส่งเสริม ประยุกต์และพัฒนาวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง สร้างบัณฑิต วิจัย เป็นแหล่งรวมสติ ปัญญา และบริการทางวิชาการแก่สังคม รวมทั้งสืบสานทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๗ มหาวิทยาลัยเป็นสถานศึกษาสมบูรณ์แบบทางวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ และเกิดประโยชน์แก่สังคมเป็นส่วนรวม บริการทางวิชาการแก่สังคม ทะนุบำรุงและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หากมหาวิทยาลัยเอกชนเป็นองค์กรที่แสวงหากำไรแล้วล่ะก็มหาวิทยาลัยของรัฐก็เป็นองค์กรที่แสวงหากำไรเช่นกันเนื่องจากมีวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งเช่นเดียวกัน :slime_v: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 04:53 อ้างอิง :
หมวด ๑๐ ศาล ส่วนที่ ๔ ศาลปกครอง มาตรา ๒๒๓ ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาท ระหว่าง หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชน หรือ ระหว่าง หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน อันเนื่องมาจากการใช้อำนาจทางปกครองตามกฎหมาย หรือเนื่องมาจากการดำเนินกิจการทางปกครองของ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐรัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ รวมทั้งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาเรื่องที่รัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจของศาลปกครอง อำนาจศาลปกครองตามวรรคหนึ่งไม่รวมถึงการวินิจฉัยชี้ขาดขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นการใช้อำนาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญขององค์กรตามรัฐธรรมนูญนั้น ให้มีศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นต้น และจะมีศาลปกครองชั้นอุทธรณ์ด้วยก็ได้ the OCEANER : อ้างอิง มาตรา ๒๒๓ ... ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ รวมทั้งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาเรื่องที่รัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจของศาลปกครอง ... the OCEANER : มาตรา ๒๐๗ อยู่ในอำนาจของศาลปกครอง ที่จะมีอำนาจพิจารณาพิพากษา หรือไม่??? the OCEANER : อ้างอิง มาตรา ๒๒๓ อำนาจศาลปกครองตามวรรคหนึ่งไม่รวมถึงการวินิจฉัยชี้ขาดขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นการใช้อำนาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญขององค์กรตามรัฐธรรมนูญนั้น ให้มีศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นต้น และจะมีศาลปกครองชั้นอุทธรณ์ด้วยก็ได้ the OCEANER : ย้ำให้คุณ TheBluECat อ่าน มาตรา ๒๒๓ วรรคนี้ อำนาจศาลปกครองตามวรรคหนึ่งไม่รวมถึงการวินิจฉัยชี้ขาดขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นการใช้อำนาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญขององค์กรตามรัฐธรรมนูญนั้น อำนาจศาลปกครองตามวรรคหนึ่งไม่รวมถึงการวินิจฉัยชี้ขาดขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นการใช้อำนาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญขององค์กรตามรัฐธรรมนูญนั้น อำนาจศาลปกครองตามวรรคหนึ่งไม่รวมถึงการวินิจฉัยชี้ขาดขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นการใช้อำนาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญขององค์กรตามรัฐธรรมนูญนั้น ... the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 05:42 การเป็นอาจารย์ ของ คุณ จรัญ ทำให้กระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ยังไง .. ไม่งั้น ผู้พิพากษาในไทย ก็ไม่สามารถไปสอนหนังสือได้เลย... ????? ไม่โดนข้อหานี้ไปเกือบหมดศาลเหรอครับ ??? ผู้พิพากษาในไทย สามารถไปสอนหนังสือได้ครับ แต่ว่า หากพ้นวาระการดำรงตำแหน่งไปแล้ว ผมเชื่อว่าไม่น่ามีปัญหาอะไร ดังเช่น อดีตผู้พิพากษา อดีตตุลาการ สามารถไปสอนหนังสือให้ความรู้ที่ไหน มีรายได้เท่าไร ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรอกครับ แต่ว่า หาก ดำรงตำแหน่ง ประธานศาลรัฐธรรมนูญ หรือ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ต้องไม่ควรไปทำหน้าที่อื่นใดอีกครับ the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: Solidus ที่ 17-09-2008, 05:52 ผู้พิพากษาในไทย สามารถไปสอนหนังสือได้ครับ แต่ว่า หากพ้นวาระการดำรงตำแหน่งไปแล้ว ผมเชื่อว่าไม่น่ามีปัญหาอะไร ก็เห็นสอนขณะที่ยังเป็นผู้พิพากษาอยู่ตั้งหลายคน แล้วตกลงว่าการสอนหนัสือมันทำให้กระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษาอย่างไรล่ะครับ ดังเช่น อดีตผู้พิพากษา อดีตตุลาการ สามารถไปสอนหนังสือให้ความรู้ที่ไหน มีรายได้เท่าไร ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรอกครับ แต่ว่า หาก ดำรงตำแหน่ง ประธานศาลรัฐธรรมนูญ หรือ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ต้องไม่ควรไปทำหน้าที่อื่นใดอีกครับ the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 05:58 มาตรา ๒๐๒
เงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง และประโยชน์ตอบแทนอื่นของผู้พิพากษาและตุลาการ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ ทั้งนี้ จะนำระบบบัญชีเงินเดือนหรือเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนมาใช้บังคับมิได้ ให้นำความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับกับกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดินกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ และกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ด้วยโดยอนุโลม the OCEANER : รับเงินและผลตอบแทนอื่น นั้น ไม่ควรครับ มาตรา ๒๐๓ บุคคลจะดำรงตำแหน่ง กรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม กรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง หรือ กรรมการในคณะกรรมการตุลาการของศาลอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ในเวลาเดียวกันมิได้ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็น กรรมการโดยตำแหน่ง หรือ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ the OCEANER : ขนาดจะดำรงตำแหน่งอื่นๆ ใน ศาลใด ในเวลาเดียวกัน ยังไม่สามารถทำได้เลยครับ นับประสาอะไรกับการจะไปเป็นอาจารย์พิเศษ the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 06:06 ก็เห็นสอนขณะที่ยังเป็นผู้พิพากษาอยู่ตั้งหลายคน แล้วตกลงว่าการสอนหนัสือมันทำให้กระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษาอย่างไรล่ะครับ เรียน คุณ ฟักแม้ว กรุณา อย่า พาย เรือ วน ใน อ่าง ครับ กรุณาอ่านข้อความของผมทั้งหมด ให้ครบถ้วน ในกระทู้นี้ ให้ดีเสียก่อนครับ ด้วยความนับถือ the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: Solidus ที่ 17-09-2008, 06:14 มาตรา ๒๐๒ ไปอ่านเรื่องเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง และประโยชน์ตอบแทนอื่นของผู้พิพากษาและตุลาการในพระราชบัญญัติให้ดีก่อนดีกว่ากระมังครับว่าหมายถึงอะไรบ้าง ที่ระบุอย่างนั้นเพราะมันมี พ.ร.บ. แยกต่างหาก ส่วนเรื่องมาตรา 203 นั้นมันก็ไม่ได้ห้ามเรื่องการเป็นอาจารย์พิเศษ เงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง และประโยชน์ตอบแทนอื่นของผู้พิพากษาและตุลาการ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ ทั้งนี้ จะนำระบบบัญชีเงินเดือนหรือเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนมาใช้บังคับมิได้ ให้นำความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับกับกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดินกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ และกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ด้วยโดยอนุโลม the OCEANER : รับเงินและผลตอบแทนอื่น นั้น ไม่ควรครับ มาตรา ๒๐๓ บุคคลจะดำรงตำแหน่ง กรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม กรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง หรือ กรรมการในคณะกรรมการตุลาการของศาลอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ในเวลาเดียวกันมิได้ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็น กรรมการโดยตำแหน่ง หรือ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ the OCEANER : ขนาดจะดำรงตำแหน่งอื่นๆ ใน ศาลใด ในเวลาเดียวกัน ยังไม่สามารถทำได้เลยครับ นับประสาอะไรกับการจะไปเป็นอาจารย์พิเศษ the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: Solidus ที่ 17-09-2008, 06:15 เรียน คุณ ฟักแม้ว ก็ยกเอามาแต่เนื้อ ๆ เลยสิครับไม่เอาน้ำ แถมที่ยกมาแปะก็ดันไม่ดูว่าเขาหมายถึงอะไรกรุณา อย่า พาย เรือ วน ใน อ่าง ครับ กรุณาอ่านข้อความของผมทั้งหมด ให้ครบถ้วน ในกระทู้นี้ ให้ดีเสียก่อนครับ ด้วยความนับถือ the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 06:17 เมื่อผู้พิพากษา ต้องปฏิบัติหน้าที่นอกบัลลังก์
โดย สาโรจน์ เกษมถาวรศิลป์ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดลำปาง ขณะที่บ้านเมืองเกิดภาวะวิกฤตและศาลได้เข้ามาทำหน้าที่ช่วยคลี่คลายจนเกิดภาวะที่เรียกว่า "ตุลาการภิวัตน์" แต่ให้ยาแรงไม่พอจนในที่สุดคณะทหารได้เข้ามายึดอำนาจภายใต้ชื่อว่า "คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข" และเปลี่ยนชื่อมาเป็น คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติอยู่ในขณะนี้ จังหวะเดียวกับที่ศาลได้จำกัดบทบาทของตนที่ไปทำหน้าที่ "ตุลาการ" แท้ๆ เพียงอย่างเดียว แต่ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของการปฏิรูปการเมือง และโดยเหตุที่ประชาชนมีความเชื่อมั่นในความเป็นกลางของศาลจึงมีการแต่งตั้งผู้พิพากษาไปทำหน้าที่ต่างๆ ซึ่งมิใช่หน้าที่ของผู้พิพากษาแท้ๆ เช่น การแต่งตั้งผู้พิพากษาไปดำรงตำแหน่งกรรมการในคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน (ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองฯ ฉบับที่ 30) การแต่งตั้งผู้พิพากษาไปเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติหรือการแต่งตั้งผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดเป็นกรรมการในคณะกรรมการกำกับดูแลการสรรหาสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ ในระดับจังหวัดหรือเรียกว่า กดส.จังหวัด (ประกาศคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีสรรหาบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ ฉบับลงวันที่ 19 ตุลาคม 2549) ปัญหาที่ตามมาก็คือสมควรที่ผู้พิพากษาจะเข้าร่วมทำหน้าที่เหล่านั้นหรือไม่ ในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษาเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นศรัทธาต่อประชาชน ผู้พิพากษาจะต้องยึดมั่นในความเป็นอิสระแห่งตนและเทิดทูนไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ความเป็นอิสระ ความเป็นกลาง และเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษาเป็นจริยธรรมที่สำคัญที่ถือปฏิบัติกันเป็นสากล นอกจากนี้ ผู้พิพากษายังมีจริยธรรมที่ถือปฏิบัติร่วมกันอีกหลายข้อเป็นการวางกรอบควบคุมความประพฤติของผู้พิพากษาที่เรียกว่าประมวลความประพฤติหรือประมวลจริยธรรมของผู้พิพากษา (Code of Conduct หรือ Code of Ethics) สำหรับของสหรัฐอเมริกามีประมวลความประพฤติ ที่ผู้พิพากษาทุกคนจะต้องปฏิบัติตาม มีหลักสำคัญ 7 ประการคือ 1.ผู้พิพากษาพึงยึดความซื่อสัตย์สุจริตและความเป็นอิสระในการพิจารณาคดี 2.ผู้พิพากษาพึงหลีกเลี่ยงการกระทำที่ไม่ถูกต้องหรือแม้แต่การแสดงออกซึ่งการกระทำที่ไม่ถูกต้องทั้งหลาย 3.ผู้พิพากษาพึงปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและอย่างเต็มความสามารถ 4.ผู้พิพากษาอาจเข้าร่วมทำกิจกรรมนอกเหนือหน้าที่ปกติของผู้พิพากษาเฉพาะเพื่อการปรับปรุงกฎหมายระบบงานด้านกฎหมายและระบบบริหารงานยุติธรรม 5.ผู้พิพากษาพึงจำกัดการเข้าร่วมกิจกรรม นอกเหนือหน้าที่ปกติของผู้พิพากษาเพื่อลดความเสี่ยงที่จะขัดแย้งกับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษา 6.ผู้พิพากษาพึงรายงานถึงรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการที่เข้าร่วมในกิจกรรมนอกเหนือทำหน้าที่และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย 7.ผู้พิพากษาพึงละเว้นจากกิจกรรมทางการเมือง หลักการบังกาลอร์ว่าด้วยข้อควรประพฤติปฏิบัติของผู้พิพากษาปี 2002 เป็นการร่างประมวลจริยธรรมตุลาการที่ประเทศต่างๆ ทั้งในระบบกฎหมายแบบ คอมมอนลอร์ และซีวิลลอร์ นำไปเป็นแบบอย่างในการร่างประมวลจริยธรรมตุลาการของตนเองก็ได้ระบุหลักการทำนองนี้เช่นกัน สำหรับผู้พิพากษาของไทย ต่างได้ยึดถือประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการซึ่งใช้มาตั้งแต่เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2529 และคณะกรรมการตุลาการได้ประกาศใช้อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2544 ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการของไทยมีอยู่ด้วยกัน 44 ข้อ เป็นการวางกรอบในการปฏิบัติหน้าที่ของ ผู้พิพากษาบทบัญญัติที่สำคัญได้แก่ - หน้าที่สำคัญของผู้พิพากษาคือ การประสาทความยุติธรรมแก่ผู้มีอรรถคดี ซึ่งจะต้องปฏิบัติด้วยความซื่อสัตย์สุจริตเที่ยงธรรม ถูกต้องตามกฎหมาย และนิติประเพณี ทั้งจักต้องแสดงให้เป็นที่ประจักษ์แก่สาธารณชนด้วยว่าตนปฏิบัติเช่นนี้อย่างเคร่งครัดครบถ้วน เพื่อการนี้ผู้พิพากษาจักต้องยึดมั่นในความเป็นอิสระของตนและเทิดทูนไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์แห่งสถาบันตุลาการ - เพื่อให้งานธุรการของศาลมีประสิทธิภาพ ผู้พิพากษาจักต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและอย่างเต็มความสามารถ ทั้งจักต้องควบคุมให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และอย่างเต็มความสามารถเช่นเดียวกัน - ผู้พิพากษาจะต้องไม่เป็นกรรมการ ผู้จัดการ ที่ปรึกษา หรือดำรงตำแหน่งอื่นใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท ห้างร้าน หรือธุรกิจของเอกชน เว้นแต่จะเป็นกิจการที่ไม่ได้แสวงหากำไร - ผู้พิพากษาจักต้องไม่ประกอบอาชีพ หรือวิชาชีพ หรือกระทำกิจการใด อันกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา - ผู้พิพากษาไม่พึงแสดงปาฐกถา บรรยาย สอน หรือเข้าร่วมสัมมนา อภิปรายหรือแสดงความเห็นใดๆ ต่อสาธารณชน ซึ่งอาจกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา - ผู้พิพากษาไม่พึงเป็นกรรมการ สมาชิก หรือเจ้าหน้าที่ของสมาคม สโมสร ชมรม หรือองค์การใดๆ หรือเข้าร่วมในกิจการใดๆ อันกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา - ผู้พิพากษาจักต้องสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขแห่งรัฐ - ผู้พิพากษาจักต้องไม่เป็นกรรมการ สมาชิก หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมืองหรือกลุ่มการเมืองและจักต้องไม่เข้าเป็นตัวกระทำการ ร่วมกระทำการ สนับสนุนในการโฆษณาหรือชักชวนใดๆ ในการเลือกตั้ง สมาชิกรัฐสภาหรือผู้แทนทางการเมืองอื่นใด ทั้งไม่พึงกระทำการใดๆ อันเป็นการฝักฝ่ายพรรคการเมืองหรือกลุ่มการเมืองใดนอกจากการใช้สิทธิเลือกตั้ง ในสหรัฐอเมริกา สำนักงานที่ปรึกษา ฝ่ายบริหารองค์กรศาลของสหรัฐ จะทำหน้าที่ดูแลการปฏิบัติกรอบความประพฤติของผู้พิพากษาและทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาในกิจการต่างๆ ว่าเรื่องใดที่ผู้พิพากษาทำได้หรือไม่ได้โดยเฉพาะกิจกรรมนอกเหนือหน้าที่ปกติของผู้พิพากษา การที่ผู้พิพากษาจะเข้าร่วมกิจกรรมนอกเหนือหน้าที่ปกติของผู้พิพากษา เช่น การเข้าร่วมเป็นกรรมาธิการที่รัฐบาลแต่งตั้งจะทำได้ก็ต่อเมื่อรัฐสภาได้ออกกฎหมายให้อำนาจและจะทำได้เฉพาะที่เป็นการแสดงความเห็นเกี่ยวกับการพัฒนากฎหมาย ระบบกฎหมายหรือระบบงานยุติธรรม ทั้งนี้ เพราะงานเหล่านั้นอาจเกี่ยวข้องกับส่วนได้เสียของผู้พิพากษา ตามปกติการยอมเข้าร่วมปฏิบัติหน้าในองค์การฝ่ายบริหารซึ่งเป็นการปฏิบัติหน้าที่นอกเหนือหน้าที่ผู้พิพากษา โดยเฉพาะกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติให้เข้าทำหน้าที่มักจะไม่เกิดปัญหากับผู้พิพากษาเพราะตามปกติตำแหน่งที่ว่านี้จะไม่ใช้เวลามากเกินไปและมักจะไม่ก่อผลกระทบต่อความเป็นอิสระของผู้พิพากษา แต่ผู้พิพากษาจะต้องปฏิเสธไม่ร่วมเป็นกรรมาธิการที่รัฐบาลแต่งตั้ง หากการทำหน้าที่เช่นนั้นจะปั่นทอนความเชื่อมั่นของประชาชนที่มีต่อความเป็นอิสระและเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ในส่วนของกิจกรรมทางการเมืองนั้น ผู้พิพากษาของสหรัฐทุกคนทั้งที่มาจากการได้รับแต่งตั้งจากประธานาธิบดี การสอบแข่งขัน ตลอดจนผู้พิพากษาจากบางรัฐที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการเมืองแท้ๆ จะต้องปฏิบัติเหมือนกันคือ ผู้พิพากษาจะต้องละเว้นจากกิจกรรมทางการเมือง เช่น ไม่เป็นกรรมการหรือสมาชิกพรรคการเมือง ไม่ร่วมแสดงความเห็นต่อสาธารณะไม่ว่าสนับสนุนหรือคัดค้านผู้สมัครชิงตำแหน่งทางการเมือง ไม่ร่วมชุมนุมทางการเมือง ผู้พิพากษาคงทำกิจกรรมทางการเมืองได้เพียง การหย่อนบัตรเลือกตั้งหรือการแสดงความเห็นทางการเมือง เป็นการส่วนตัวเท่านั้น มีข้อพึงสังเกตด้วยว่าประมวลความประพฤติของผู้พิพากษาสหรัฐได้วางระเบียบเรื่องการรับค่าตอบแทนในการที่ผู้พิพากษาเข้าร่วมทำกิจกรรมนอกเหนือหน้าที่ปกติของผู้พิพากษา เช่น ผู้พิพากษาไม่พึงรับค่าตอบแทนในการไปกล่าวปาฐกถา การปรากฏตัว การเขียนบทความ ผู้พิพากษาจะไม่เข้าร่วมปฏิบัติหน้าที่ ที่มีค่าตอบแทน หากเป็นงานที่มีค่าตอบแทน ค่าตอบแทนนั้นต้องไม่มากกว่า 15% ของเงินเดือนพื้นฐานของเงินเดือนผู้บริหารระดับ 2 สำหรับกิจกรรมนอกเหนือหน้าที่ปกติของผู้พิพากษาไทย ผู้พิพากษาจะต้องขออนุญาตจากคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม ที่ปฏิบัติอยู่เป็นประจำ ได้แก่ การสอนหนังสือตามมหาวิทยาลัยหรือการร่วมเป็นกรรมาธิการร่างกฎหมาย งานเหล่านี้มิได้กระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา สำหรับปัญหาที่มีผู้พิพากษาได้รับการเสนอชื่อให้เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติและกรรมการในคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ผู้เขียนเห็นว่า เป็นกรณีที่เทียบเคียงได้กับการปฏิบัติหน้าที่นอกเหนือหน้าที่ปกติของผู้พิพากษาเพื่อการพัฒนากฎหมาย ระบบกฎหมายและการบริหารงานยุติธรรม ซึ่งบางกรณีต้องใช้ความรู้ความสามารถของผู้พิพากษาในฐานะเป็นผู้ปฏิบัติ และการออกกฎหมายบางฉบับอาจกระทบส่วนได้เสียของผู้พิพากษา มีข้อสังเกตว่ากิจกรรมเหล่านี้อาจขัดแย้งกับบทบาทหน้าที่หลักของผู้พิพากษา (Conflict of Duty) ในกรณีเช่นนี้ของสหรัฐ จะอนุญาตให้ผู้พิพากษาทำได้เพียงไปให้ข้อเท็จจริงต่อคณะกรรมาธิการ หรือเข้าร่วมเป็นที่ปรึกษาของฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนากฎหมาย ระบบกฎหมาย และการบริหารงานยุติธรรมเท่านั้น เพราะการทำหน้าที่ดังกล่าวจะไม่ใช้เวลามากเกินกว่าที่จะกระทบงานหลักของผู้พิพากษา ทั้งนี้ เพราะผู้พิพากษานอกจากต้องปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ยังต้องเป็นกลางและปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความสามารถอีกด้วย สำหรับปัญหาตามประกาศคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์ฯ ว่าด้วยสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ ฉบับลงวันที่ 19 ตุลาคม 2549 ที่กำหนดให้หัวหน้าศาลจังหวัดหรือผู้แทนร่วมเป็นคณะกรรมการการดำเนินการสรรหาสมาชิกสมัชชาแห่งชาติประจำจังหวัดร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัด อัยการจังหวัดหรือผู้แทน....ฯลฯ เพื่อดำเนินการให้ผู้แทนภาคเศรษฐกิจและสังคม รวม 4 ประเภท และผู้แทนทางภาครัฐในส่วนของกำนันผู้ใหญ่บ้าน ดำเนินการคัดเลือกกันเอง โดยคณะกรรมการชุดนี้ทำหน้าที่ร่วมกันจัดให้องค์กรที่ว่ามานี้มาคัดเลือกกันเองซึ่งกรณีนี้คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมมีมติ เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2549 พิจารณาแล้วเห็นสมควรให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดมอบหมายให้ผู้พิพากษาที่มีอาวุโสสูงสุดในศาลจังหวัดเป็นผู้แทน ผู้เขียนเห็นว่าเป็นเรื่องการดำเนินการเกี่ยวกับการเลือกตั้ง ถือเป็นกิจการทางการเมืองโดยตรง อาจจะไม่เหมาะสมที่ผู้พิพากษาไม่ว่าจะเป็นผู้พิพากษาหัวหน้าศาลหรือผู้พิพากษาที่มีอาวุโสรองจากหัวหน้าศาลจะเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ เพราะอาจกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษาได้ ดังเห็นได้จากในกรณีที่มีสมาชิกทำการคัดค้านก่อนการเลือกสมาชิกตามประกาศดังกล่าว กำหนดให้คณะกรรมการทำหน้าที่เป็นผู้วินิจฉัย แม้จะให้ถือว่าคำวินิจฉัยเป็นที่สุดก็ตาม ผู้คัดค้านก็อาจนำคดีมาสู่ศาลได้ ในกรณีที่เห็นว่าคณะกรรมการวินิจฉัยไม่ถูกต้องซึ่งอาจกระทบกระเทือนต่อความเป็นกลางของผู้พิพากษา นอกจากนี้ ในการประชุมร่วมกันของคณะกรรมการเพื่อจัดให้มีการคัดเลือกกันเองดังกล่าวระหว่างผู้ว่าราชการจังหวัดกับหัวหน้าศาลจังหวัดหรือแม้แต่ผู้พิพากษาที่มีอาวุโสรองจากหัวหน้าศาลที่เป็นผู้แทน ใครจะทำหน้าที่เป็นประธาน ก็จะเกิดปัญหาในเรื่องเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษาอีก หากเกรงว่าการไม่เข้าร่วมทำหน้าที่ จะเป็นการขัดคำสั่งของประธานคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ ฉบับที่ 8/2549 ลงวันที่ 19 ตุลาคม 2549 ที่ให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐให้การสนับสนุน ก็อาจจะมอบหมายให้ ผู้อำนวยการศาลเป็นผู้แทนน่าจะเป็นทางออกที่เหมาะสมเหมือนดังบทบัญญัติใน พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 มาตรา 17 องค์ประกอบของคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดก็กำหนดให้มีผู้แทนศาลร่วมเป็นกรรมการอยู่ด้วยในเรื่องดังกล่าว คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมเคยมีมติไม่อนุญาตให้ผู้พิพากษาไปทำหน้าที่ในคณะกรรมการดังกล่าว เพราะเกรงจะกระทบเกียรติศักดิ์และความเป็นกลางของผู้พิพากษาจึงได้มอบหมายให้ผู้อำนวยการศาลเป็นผู้แทน นอกจากนี้ ในการประชุมคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม ครั้งที่ 12/2549 เคยมีมติไม่อนุญาตให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอุบลราชธานีเป็นกรรมการฝ่ายอำนวยการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานี และไม่อนุญาตให้ผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอุบลราชธานี เป็นคณะทำงานจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานี ผู้พิพากษาพึงยึดมั่นในประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ถึงเวลาแล้วที่ผู้พิพากษาจะต้องกลับมาอยู่ในที่ของตนเพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะของผู้พิพากษา ทั้งนี้ เพราะความเชื่อมั่นที่ประชาชนมีต่อสถาบันตุลาการย่อมขึ้นอยู่กับความเป็นอิสระ ความเป็นกลาง และเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 06:28 เรียน คุณ ฟักแม้ว
ผมเองก็ไม่ได้เรียนมาทางด้านนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์โดยตรงหรอกครับ ผมเรียนมาทางด้านวิทยาศาสตร์ ดังนั้น การที่จะทำให้ประชาชนคนทั่วไปที่เขียนหนังสือได้ อ่านหนังสือออก มาอ่านรัฐธรรมนูญ สมควรที่รัฐธรรมนูญจะต้องมีความชัดเจนพอสมควร ไม่ต้องอาศัยการตีความ ให้เกิดความกำกวม และวุ่นวาย ผมเรียนมัธยมปลาย สายวิทย์-คณิต ผมไม่ได้เรียนมัธยมปลาย สายศิลป์คำนวณ ดังนั้น การที่ผมจะได้เกลาภาษาของผมให้ไพเราะเพราะพริ้ง ค่อนข้างเป็นไปได้ยากครับ หลักการตรรกะทางคณิตศาสตร์ ผมทราบมาว่า จริง ก็ต่อเมื่อ จริง เป็น จริง ครับ แต่หากว่า จริง ก็ต่อเมื่อ เท็จ เป็น เท็จ ครับ the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: Solidus ที่ 17-09-2008, 06:45 เรียน คุณ ฟักแม้ว รัฐธรรมนูญนะครับไม่ใช่ตำราเรียนที่ต้องมาขยายความทีละมาตรา ถ้าเอาหนังสือทางวิทยาศาสตร์เฉพาะทางอย่างกลศาสตร์ควอนตัมมาให้ประชาชนคนทั่วไปที่เขียนหนังสือได้ อ่านหนังสือออกจะต้องมีความชัดเจนขนาดไหนครับ ผมเองก็ไม่ได้เรียนมาทางด้านนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์โดยตรงหรอกครับ ผมเรียนมาทางด้านวิทยาศาสตร์ ดังนั้น การที่จะทำให้ประชาชนคนทั่วไปที่เขียนหนังสือได้ อ่านหนังสือออก มาอ่านรัฐธรรมนูญ สมควรที่รัฐธรรมนูญจะต้องมีความชัดเจนพอสมควร ไม่ต้องอาศัยการตีความ ให้เกิดความกำกวม และวุ่นวาย ผมเรียนมัธยมปลาย สายวิทย์-คณิต ผมไม่ได้เรียนมัธยมปลาย สายศิลป์คำนวณ ดังนั้น การที่ผมจะได้เกลาภาษาของผมให้ไพเราะเพราะพริ้ง ค่อนข้างเป็นไปได้ยากครับ หลักการตรรกะทางคณิตศาสตร์ ผมทราบมาว่า จริง ก็ต่อเมื่อ จริง เป็น จริง ครับi แต่หากว่า จริง ก็ต่อเมื่อ เท็จ เป็น เท็จ ครับ the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 06:55 คนละเรื่องกันไปใหญ่ละครับ คุณฟักแม้ว
the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: moon ที่ 17-09-2008, 07:39 the OCEANER : ว่ากันไปตามขั้นตอนครับ ผมไม่มีสิทธิ์ที่จะไปฟ้องศาลใดๆได้
ผมมีแค่2วิธี คือ ทำเรื่องแจ้งไปยัง ส.ส. เพื่อให้ ส.ส.จำนวนไม่น้อยกว่า120คนเข้าชื่อ หรือ ล่า 20,000 รายชื่อ ของประชาชนผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้ง แล้วเสนอชื่อต่อประธาน ส.ว. เพื่อดำเนินการ ถอดถอน คุณจรัญ ภักดีธนากุล ออกจากการดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ the OCEANER มัวแต่ตอบคำถาม ทำสิ่งที่ต้องทำดีกว่ามั้ย มันจะช่วยยืนยันว่าคุณคิดถูกมากกว่านะ ทำเถอะ เอาใจช่วย :slime_fighto: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: Solidus ที่ 17-09-2008, 08:00 คนละเรื่องกันไปใหญ่ละครับ คุณฟักแม้ว ก็ยกตัวอย่างให้เห็นชัดไงครับ แค่เรื่องชัดเจนพอสมควร ถ้าคนมีความรู้ต่างกันระดับความชัดเจนก็ต่างกัน the OCEANER และเรื่องตีความนั้นต้องดูประเภทของกฎหมายด้วย กฎหมายแพ่งตีความตามตัวอักษรประกอบกับเจตนารมณ์ของกฎหมาย กฎหมายอาญาตีความตามตัวอักษรอย่างเคร่งครัด ขณะที่กฎหมายรัฐธรรมนูญตีความโดยพิเคราะห์ตามเหตุผลหรือเจตนารมณ์พิเศษ และเรื่องการตีความขนาดกฎหมายอาญาที่ไม่ต้องใช้เจตนารมณ์ของกฎหมายยังต้องตีความเลยนับประสาอะไรกับรัฐธรรมนูญที่ใช้เจตนารมณ์ของกฎหมาย บางประเทศนะรัฐธรรมนูญมีแค่ไม่กี่มาตราเองก็ไม่เห็นจะเกิดปัญหาอะไร หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: exzcute ที่ 17-09-2008, 09:10 มาตรา ๒๐๓ บุคคลจะดำรงตำแหน่ง กรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม กรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง หรือ กรรมการในคณะกรรมการตุลาการของศาลอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ในเวลาเดียวกันมิได้ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็น กรรมการโดยตำแหน่ง หรือ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ the OCEANER : ขนาดจะดำรงตำแหน่งอื่นๆ ใน ศาลใด ในเวลาเดียวกัน ยังไม่สามารถทำได้เลยครับ นับประสาอะไรกับการจะไปเป็นอาจารย์พิเศษ the OCEANER แล้วมันไปเกี่ยวอะไรกับองค์กรอื่นที่ไม่ใช่กรรมการในคณะกรรมการตุลาการครับ ถ้าเขาจะไม่ให้ดำรงตำแหน่งใดๆ ในองค์กรอื่นๆ รวมทั้งที่เกี่ยวกับศาลเลยคงไม่เขียนไว้แบบนี้ แต่นี่ระบุไว้แค่องกรค์เกี่ยวกับศาลนี่ครับ คุณบอกว่าใช้ตรรกะคณิตศาสตร์ แต่ที่คุณพูดนี่มันตรรกะศิลป์นะครับ สับสนตัวเองเพราะขาขวาเจ็บเหรอครับ หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 11:31 แฟนพันธุ์แถ
เยอะจัง the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 17-09-2008, 11:43 คุณ Oceaner ครับ...กรุณาเบาๆกะน้องๆในเว๊บนี้หน่อยครับ ผมเห็นว่ามวยรุ่นheavyweightแบบคุณไม่สมควรขยี้มวยระดับstraw(berry)weight อ่ะครับเพราะมันผิดจริยธรรมอย่างยิ่ง คริ คริ :slime_smile2:
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: อยู่บำรุ๊ง .. บำรุง ที่ 17-09-2008, 11:58 เกินเยียวยา
ยังไม่รู้ตัว ชงรับๆ กันไป 2 คนเถอะ :slime_worship: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: 55555 ที่ 17-09-2008, 12:17 แนะนำคุณ oceaner
ไปยื่นตีความเลยครับ...อย่าขึ้เกียจ ..ไปยื่นตีความได้ผลกว่าเยอะ...เหนื่อยกว่าตัดแปะนิดหน่อย...แต่ ถ้าตัดแปะอีกหน่อย ก็จะเหนื่อยพอกันแล้ว :slime_smile: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 12:27 โดยส่วนตัวแล้ว ผมนับถือ คุณ เฉลิม อยู่บำรุง มาก
เพราะเป็นคุณพูดจาตรงๆ ท่านเคยรับผิดชอบเกี่ยวกับปัญหาพื้นที่ประสบภัยจากภัยธรรมชาติ ในขณะครั้งยังดำรงตำแหน่ง มท.1 พูดคุยเป็นกันเอง และอย่างตรงไปตรงมา ไม่อ้อมค้อม นั่นคือ ลักษณะนิสัยส่วนตัว ของ คุณ เฉลิม อยู่บำรุง ที่ผมได้เคยประสบมา อีกทั้งเป็นคนที่รักครอบครัว และบุคลใกล้ชิด ปล.ผมไม่เคยตัดสินใคร จากกระแสสังคม และ จากการที่ไม่ได้ผ่านประสบกับตัวของผมเอง ผมจะพูดก็ต่อเมื่อ ผมได้เห็นด้วยตา และได้ยินมากับหู ของตัวผมเองเท่านั้น the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: ploysai ที่ 17-09-2008, 13:05 ไม่ได้เข้ามาตอบ ไม่ได้เข้ามาต่อความยาวสาวความยืด
แต่จะมาบอกว่า "วันนี้เราจะทำตัวเป็นใบตองแห้ง" หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 17-09-2008, 13:16 โดยส่วนตัวแล้ว ผมนับถือ คุณ เฉลิม อยู่บำรุง มาก เพราะเป็นคุณพูดจาตรงๆ ท่านเคยรับผิดชอบเกี่ยวกับปัญหาพื้นที่ประสบภัยจากภัยธรรมชาติ ในขณะครั้งยังดำรงตำแหน่ง มท.1 พูดคุยเป็นกันเอง และอย่างตรงไปตรงมา ไม่อ้อมค้อม นั่นคือ ลักษณะนิสัยส่วนตัว ของ คุณ เฉลิม อยู่บำรุง ที่ผมได้เคยประสบมา อีกทั้งเป็นคนที่รักครอบครัว และบุคลใกล้ชิด ปล.ผมไม่เคยตัดสินใคร จากกระแสสังคม และ จากการที่ไม่ได้ผ่านประสบกับตัวของผมเอง ผมจะพูดก็ต่อเมื่อ ผมได้เห็นด้วยตา และได้ยินมากับหู ของตัวผมเองเท่านั้น the OCEANER นี่คือหลักคิดทางวิทยาศาสตร์และเป็นที่สรรเสริญในทางศาสนาพุทธเป็นอย่างยิ่ง...สาวกแป๊ะลิ้มน่าจะจำไว้เพื่อพัฒนาสุขภาพจิตและขมองกันบ้างก็น่าจะเกิดประโยชน์ต่อสังคมเป็นอย่างยิ่ง!! :slime_whistle: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: อยู่บำรุ๊ง .. บำรุง ที่ 17-09-2008, 13:21 นี่คือหลักคิดทางวิทยาศาสตร์และเป็นที่สรรเสริญในทางศาสนาพุทธเป็นอย่างยิ่ง...สาวกแป๊ะลิ้มน่าจะจำไว้เพื่อพัฒนาสุขภาพจิตและขมองกันบ้างก็น่าจะเกิดประโยชน์ต่อสังคมเป็นอย่างยิ่ง!! :slime_whistle: :slime_hmm: :slime_hmm: เพ้อเจ้อ ! หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 17-09-2008, 13:30 ผมถามหน่อยแล้วมันเกี่ยวอะไรกับ คุณจรัญ :slime_hmm: :slime_hmm: เพ้อเจ้อ ! [/color]เกี่ยวแน่นอนตรงที่คนเราต้องรู้จักใช้สมองและสามัญสำนึกในการเชื่อหรือไม่เชื่อในสิ่งที่เห็น-ฟัง เฉกเช่นกรณีความเป็นขี้ข้า เอ๊ย..ลูกจ้างของนายจรัลที่รธน.ปี2550 ม. 207 ระบุชัดเจนว่าห้ามไปประกอบอาชีพอิสระอื่นๆในระหว่างดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรธน. และปรากฏชัดเจนว่าแกไปเป็นอาจารย์พิเศษสอนกฏหมายให้ม.เอกชนและม.ของรัฐ ซึ่งถ้าตีความคามรธน.ก็ชัดเจนว่าผิด คนที่ร่างรธน.และชอบกล่าวถึงจริยธรรม มโนธรรม คุณธรรม แต่กลับมีพฤติกรรมขัดต่อสิ่งที่ตัวเองโม้มาตลอดนี่มันไม่ต่างอะไรกับพวกแมงกระจั๊วที่ขายร่างกายและจิตวิญญาณไปวันๆมิใช่หรือ!?! :slime_doubt: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 15:23 ผมถามหน่อยแล้วมันเกี่ยวอะไรกับ คุณจรัญ :slime_hmm: :slime_hmm: เพ้อเจ้อ ! ผมเห็นรูปที่คุณ อยู่บำรุ๊ง .. บำรุง โพสไว้ตอนท้ายของข้อความของคุณเองหน่ะครับ ผมเลยกล่าวถึง คุณ เฉลิม อยู่บำรุง ให้ฟัง ว่า คุณ เฉลิม อยู่บำรุง ในสายตาของผม ท่านเป็นคนอย่างไร ผมสามารถ ยกมือไว้คุณ เฉลิม อยู่บำรุง ได้โดยไม่ตะขิตะขวงใจเลยครับ ไม่ใช่เพราะ ผมยกมือที่เห็นว่า คือ คุณ เฉลิม อยู่บำรุง แต่ผมยกมือไหว้ คุณ เฉลิม อยู่บำรุง ที่คุณความดี ที่ท่านทำไว้ บารมี เกิดขึ้นได้ ด้วยการทำความดี ครับ คนเรา มีทั้ง ความดี และ ความชั่ว อยู่ภายในใจตนเองครับ ถ้า เราสามารถบังคับใจ ให้ ความดี ข่ม ความชั่ว ภายในจิตใจไว้ได้ เราก็จะสามารถ คิดดี พูดดี และ ทำดี ได้เสมอๆตลอดเวลาครับ การที่จะเห็นว่า การเป็นคนดี หรือ การเป็นคนชั่ว ตัวเราเองไม่สามารถกำหนดได้ครับ การที่เรา ถูกเรียกว่า เป็น คนดี ก็เพราะ ถูกผู้อื่นกำหนดให้เป็น คนดี การที่เรา ถูกเรียกว่า เป็น คนชั่ว ก็เพราะ ถูกผู้กำหนดกำหนดให้เป็น คนชั่ว ดังนั้น เราไม่สามารถไปฝืนบังคับให้ผู้อื่น ให้เห็นอย่างที่เราเห็น ให้เป็นอย่างที่เราเป็น ได้ นอกเสียจากได้ ประพฤติตนให้ถูกทำนองคลองธรรม หากทุกคนในสังคมนี้ รู้จักสิทธิและหน้าที่ของตนเอง ไม่พึงไปกระทำการใดๆ ให้ผู้อื่นได้รับความเดือดร้อนแล้วนั้น ผมเห็นว่า เราไม่จำเป็นต้องบัญญัติกฏระเบียบการอยู่ร่วมกันในสังคม ให้มันวุ่นวายเสียอย่างนี้หรอกครับ เราก็สามารถอยู่ภายใต้สังคมเดียวกันได้อย่างสงบสุข พึงศึกษาสิ่งที่เล็กจนตามองไม่เห็น จากสิ่งที่ใหญ่เท่าตาเราเห็นได้ พึงศึกษาสิ่งที่ไกลจนเกินตาเห็น จากสิ่งที่ใกล้ตาเราเห็นได้ พึงศึกษาสิ่งที่ตามองไม่เห็น จากสิ่งที่ตาเรามองเห็น the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: อยู่บำรุ๊ง .. บำรุง ที่ 17-09-2008, 15:54 เกี่ยวแน่นอนตรงที่คนเราต้องรู้จักใช้สมองและสามัญสำนึกในการเชื่อหรือไม่เชื่อในสิ่งที่เห็น-ฟัง เฉกเช่นกรณีความเป็นขี้ข้า เอ๊ย..ลูกจ้างของนายจรัลที่รธน.ปี2550 ม. 207 ระบุชัดเจนว่าห้ามไปประกอบอาชีพอิสระอื่นๆในระหว่างดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรธน. และปรากฏชัดเจนว่าแกไปเป็นอาจารย์พิเศษสอนกฏหมายให้ม.เอกชนและม.ของรัฐ ซึ่งถ้าตีความคามรธน.ก็ชัดเจนว่าผิด คนที่ร่างรธน.และชอบกล่าวถึงจริยธรรม มโนธรรม คุณธรรม แต่กลับมีพฤติกรรมขัดต่อสิ่งที่ตัวเองโม้มาตลอดนี่มันไม่ต่างอะไรกับพวกแมงกระจั๊วที่ขายร่างกายและจิตวิญญาณไปวันๆมิใช่หรือ!?! :slime_doubt: หัดดูมั้งครับ :slime_hmm: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 17-09-2008, 15:56 ไม่ได้เข้ามาตอบ ไม่ได้เข้ามาต่อความยาวสาวความยืด แต่จะมาบอกว่า "วันนี้เราจะทำตัวเป็นใบตองแห้ง" เรียน คุณ ploysai ผมต้องขอแสดงความเห็นในความคิดที่ดีของคุณ ploysai มากเป็นทีเดียวครับ ว่า คุณ ploysai ได้เข้าใจและรับรู้ ว่าตัวเองเปรียบเหมือนกับสิ่งใด การยกตนข่มท่าน นั้น ผมไม่ถือหรอกครับ ว่า มันจะเข้ากับ คำพังเพย [คำพังเพย ต่างจาก สุภาษิต นะครับ] เรื่องของที่มาที่ไป เกี่ยวกับ คำพังเพย "หมาเห่าใบตองแห้งนั้น" ว่ากันว่า ใบตองแห้งนี้มันกรอบ เวลามีลมไปพัด ทำให้มันกระทบกันเกิดเสียงดัง เมื่อเกิดเสียงดังมันก็จะทำให้ สุนัขได้ยินเข้าก็พากันเห่า ดังนั้น ใบตองที่แห้งคาต้นกล้วยนั้น หมดหน้าที่ในการลำเลียงน้ำ แร่ธาตุและสารอาหาร จากราก ผ่านลำต้น ผ่านก้าน ผ่านใบ พอหมดหน้าที่ก็แห้งคาลำต้นอยู่อย่างนั้น แม้ลมพัดแค่เพียงเบาๆ ก็ทำให้สุนัขมันเห่า เสียสุนัขเห่านั้น สร้างความเดือนร้อนรำคาญของผู้คนที่อยู่ใกล้ๆ แต่ก็ไม่เสียเปล่าหรอกครับ ชาวบ้านชาวช่องเค้าจะได้รู้ว่า แถวๆนั้นมีใบตองแห้งไร้ประโยชน์ เหี่ยวพันรอบลำต้นอยู่ ให้รีบๆเอาไปใช้ให้เกิดประโยชน์เสียที เพราะปล่อยให้แห้งกรอบคาลำต้นอยู่อย่างนี้ ลมพัดมาที สุนัขก็เห่าที เป็นสาเหตุที่แท้จริง ของ ปัญหารำคาญใจ จะเอาไปเผา ทำเป็นเชื้อฟืนเชื้อไฟ ก็สุดแล้วแต่จะหาประดยชน์เอาเถิด เพราะใบตองแห้งมันก็คือใบตองแห้งเอาไปห่ออะไรก็ไม่ได้ the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: The Last Emperor ที่ 17-09-2008, 16:04 คุณจ๊ะครับ เค้าตอบอีกแบบนะครับมาถึงก็ด่าเลยนะครับ หัดดูมั้งครับ :slime_hmm: เอาน่าครับ...ถือว่าแลกเปลี่ยนคคห.ก็แล้วกัน ทุกอย่างกำลังเดินไปด้วยดีแล้วครับ หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: Cylonn ที่ 17-09-2008, 16:54 เกินเยียวยา ยังไม่รู้ตัว ชงรับๆ กันไป 2 คนเถอะ :slime_worship: 5555....ไปรู้ทันเขาอีก หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: THEHERO ที่ 17-09-2008, 22:16 หมาไม่กลัวน้ำร้อน ถ้าเจอสาด คงร้องเอ๋งๆ... :slime_bigsmile:
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 18-09-2008, 16:07 จิตใจทำด้วยอะไรกัน เอาน้ำร้อนไปสาดหมา
the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: exzcute ที่ 18-09-2008, 16:18 จิตใจทำด้วยอะไรกัน เอาน้ำร้อนไปสาดหมา the OCEANER อย่ามาตอแหลแสร้งทำเป็นคนดี เห็นคุยว่าไปเตะหมาจนขวาตัวเองเจ็บ ยังหน้าด้านว่าคนอื่นเนี่ยนะ หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 18-09-2008, 16:27 ไม่เคยเตะหมาครับ
แต่ผมเคยเห็น คนที่ เก๋ากับหมา ด่ากับเด็ก และก็เตะแม่เจ๊กครับ the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 18-09-2008, 16:41 ผมทำงานอยู่ในทะเลครับ
ไม่ได้อยู่ในทำเนียบในตอนนี้ the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: NoomZ ที่ 18-09-2008, 16:55 ได้เห็นดับเบิ้ลแสตนดาร์ดชัดเจน
ของจรัล ผิด ชัดเจน เขาห้ามไปประกอบอาชีพอื่นๆชัดเจน ไปสอนก็ได้เงิน ม.เอกชนก็แสวงหากำไร มีมเอกชนไหนบ้างไม่หากำไร สอนฟรี สอนเท่าทุนหรือไง หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: TheBluECaT ที่ 18-09-2008, 17:01 ได้เห็นดับเบิ้ลแสตนดาร์ดชัดเจน ของจรัล ผิด ชัดเจน เขาห้ามไปประกอบอาชีพอื่นๆชัดเจน ไปสอนก็ได้เงิน ม.เอกชนก็แสวงหากำไร มีมเอกชนไหนบ้างไม่หากำไร สอนฟรี สอนเท่าทุนหรือไง แล้ว ม.รัฐบาล เค้าสอนฟรี เหรอครับ :slime_doubt: หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: exzcute ที่ 18-09-2008, 17:03 ไม่เคยเตะหมาครับ แต่ผมเคยเห็น คนที่ เก๋ากับหมา ด่ากับเด็ก และก็เตะแม่เจ๊กครับ the OCEANER แถมให้อีกอย่างนะหน้าตัวเมี..... หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 18-09-2008, 17:36 เรียน คุณ exzcute
คุณช่างเป็นคนสรรหา และ ช่างเลือกสรร จริงๆครับ the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: Arch_FreeMan ที่ 18-09-2008, 18:13 ภรรยาคุณจรัลฟ้องหมิ่นแล้วครับ
ศาลไม่ต้องรอลงอาญาแล้วครับ จับเข้าคุกไปเลย หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: gabiNo ที่ 18-09-2008, 18:21 ก๊ากก...จี้สุดๆ มีบางคนคิดว่าคุณเหลิมควรค่าแก่การเชื่อถือน่ายกย่องยิ่งกว่าคุณจรัญ นี่พูดจริงๆ หรือประชดอ่ะ โปรดพูดอีกครั้ง.... :slime_bigsmile: :slime_bigsmile: :slime_bigsmile:
หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: the OCEANER ที่ 18-09-2008, 18:39 1.กรณีคุณ จรัญ ภักดีธนากุล
2.กรณีของ ภริยาของคุณ จรัญ ภักดีธนากุล ชื่อ นางทีปสุรางค์ ภักดีธนากุล กรณีแรกนั้น เรากำลังพูดคุยกันอยู่ว่า คุณ จรัญ ภักดีธนากุล กระทำการขัดต่อ รัฐธรรมนูญหรือไม่ เนื้อหาลองหาอ่านได้ที่ http://forum.serithai.net/index.php?topic=34875.0 http://forum.serithai.net/index.php?topic=34867.0 ลองไล่ๆอ่านมาเรื่อยๆครับ ส่วนกรณีของ ภริยาของคุณ จรัญ ภักดีธนากุล นั้น เป็น เรื่องที่เป็นคดีแพ่งครับ เกิดขึ้นที่ศาลจ.สงขลา เป็นเรื่องธุรกิจเกี่ยวกับที่ดินครับผม คุณ ทีปสุรางค์ ภักดีธนากุล นั้น เป็นโจทก์ ยื่นฟ้อง นายวีระ มุสิกพงศ์ นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ นายจตุพร พรหมพันธุ์ ผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ นายเอนก เรืองเชื้อเหมือน บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา หนังสือพิมพ์ประชาทรรศน์ นายสุริยงค์ หุณฑสาร รักษาการผู้อำนวยการสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประไทย และ นายเผชิญ ขำโพธิ์ อธิบดีกรมประชาชนสัมพันธ์ เป็นจำเลยที่ 1-6 ฐานหมิ่นประมาท ที่นำคำพิพากษาศาลชั้นต้นมากล่าวหายักยอกที่ดิน ทั้งที่ศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้อง the OCEANER หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: อยู่บำรุ๊ง .. บำรุง ที่ 18-09-2008, 21:30 ผมยอมรับคุณ เฉลิมเรื่องเดียวคือรักลูกมากจนเกินไป
จนมันกลายเป็นเทพจุติ ทำอะไรไม่ผิด กฏหมายทำอะไรไม่ได้ :slime_hmm: เอาน่าครับ...ถือว่าแลกเปลี่ยนคคห.ก็แล้วกัน ทุกอย่างกำลังเดินไปด้วยดีแล้วครับ กรุณาใช้เหตุผลตอบอย่าใช้อารมเดี๊ยวมันจะบานปลาย นี้ไม่ใช่ครั้งแรกนะครับที่ผมโดน :slime_hmm: สนับสนุนอะได้แต่หากจะตอบแทนคนอื่นอย่าใช้อารม เพราะมันไม่ใช่เรื่องของคุณ .. หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: ปุถุชน ที่ 19-09-2008, 01:11 ภริยา "จรัญ" ฟ้องหมิ่น 3 พิธีกรความจริงวันนี้ เนชั่น 17:25 น. นางทีปสุรางค์ ภักดีธนากุล ภริยานายจรัญ ภักดีธนากุล ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ มอบอำนาจ ให้นายสมผล ตระกูลรุ่ง ทนายความเป็นโจทก์ ยื่นศาลอาญากรุงเทพใต้ฟ้อง นายวีระ มุสิกพงศ์ , นายณัฐวุฒิ ไสยเกื้อ และนายจตุพร พรหมพันธุ์ ผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ ซึ่งออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย NBT , นายเอนก เรืองเชื้อเหมือน บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา หนังสือพิมพ์ ประชาทรรศน์ , นายสุริยงค์ หุณฑสาร รักษาการผู้อำนวยการสถานี NBT และนายเผชิญ ขำโพธิ์ อธิบดีกรมประชาชนสัมพันธ์ เป็นจำเลยที่ 1-6 ในความผิดฐานร่วมกันหมิ่นประมาทผู้อื่นโดยการโฆษณา ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 326 และ 328 ตามฟ้องโจทก์สรุปว่า เมื่อวันที่ 4 ส.ค.51 เวลา 22.00 -23.00 น.จำเลยที่ 1-3 ร่วมดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ ร่วมกันนำข้อความหมิ่นประมาทโจทก์มาอ่านออกอากาศ โดยนำคำพิพากษาของศาลจังหวัดสงขลา เรื่องซื้อขายดินมาอ่านผ่านรายการ ทั้งที่ศาลอุทธรณ์พิพากษากลับให้ยกฟ้องโจทก์ซึ่งตกเป็นจำเลยคดีดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 1 มี.ค.48 ว่า ไม่ได้กระทำการยักยอกที่ดินของบุคคลอื่น โดยจำเลยทั้งสามได้แสดงความเห็นเพิ่มเติมโดยเจตนาบิดเบือนข้อเท็จจริงอ้างว่าเป็นประเด็นเปรียบเทียบกับเรื่องการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ทั้งที่ความจริงแล้วคดีของโจทก์ไม่เกี่ยวกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญแต่อย่างใด ซึ่งการกระทำของจำเลยที่ 1-3 ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหาย ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง จากผู้ที่ชมรายการดังกล่าวและเป็นการกระทำผิดมาก่อนหลายครั้งหลายหนแล้ว ซึ่งโจทก์ได้ใช้ความอดทนไม่ดำเนินคดี แต่จำเลยทั้งสาม ยังไม่ยอมหยุดการกระทำดังกล่าว ขณะเดียวกัน จำเลยที่ 5 - 6 ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมการออกอากาศสถานี NBT กลับละเลยไม่ควบคุมหรือห้ามปราม จำเลยที่ 1-3 ให้หยุดกระทำการอันเป็นการหมิ่นประมาทโจทก์ จึงถือได้ว่าเป็นผู้สนับสนุนการกระทำดังกล่าวด้วย ต่อมาเมื่อวันที่ 6 ส.ค.51 จำเลยที่ 4 บก.นสพ.ประชาทรรศน์ ได้นำข้อความที่จำเลย ที่1-3 ร่วมกันกล่าวในรายการมาตีพิมพ์ นสพ.ฉบับวันที่ 6 ส.ค.51โดยรู้อยู่ว่าเป็นข้อความหมิ่นประมาทและมีเจตนาให้ผู้อ่านเข้าใจว่าโจทก์เป็นคนไม่ดี โกงที่ดินของบุคคลอื่น ซึ่งไม่เป็นความจริง เพราะโจทก์ไม่เคยโกงทรัพย์สินของผู้ใด ทั้งนี้ศาลรับคำฟ้องไว้เป็นคดีดำหมายเลข 2635/2551 เพื่อไต่สวนมูลฟ้องโจทก์ วันที่ 8 ธ.ค.นี้ เวลา 10.00 น. หัวข้อ: Re: เอ่อ..ว่าแต่ใครรู้บ้างว่าทำไมคุณจรัญไม่ออกมาโต้ข้อกล่าวหาของไอ้ 3 ตัวนั่น เริ่มหัวข้อโดย: mar ที่ 19-09-2008, 18:03 ไม่ใช่นักฏหมาย เลยไม่รู้เรื่องนี้จะจบอย่างไร แต่ถ้าออกมาว่าศาลสอนหนังสือไม่ได้
ไม่น่าจะเป็นผลดีกับประเทศชาติ บุคลากรด้านนี้ไม่พอจนต้องต่ออายุราชการกัน ถ้าไม่ให้เขาถ่ายทอดหรือสร้างคนรุ่นใหม่แล้วต่อไปใครจะทำแทน |